The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ภาสินี ศรีสงเปลือย, 2022-05-07 04:00:05

สรุปแนวทางการนำไปประยุกต์ใช้ในสถานศึกษา 3 สมรรถนะหลัก การศึกษาดูงานสถานประกอบการ

การศึกษาดูงานสถานประกอบการ

แบบบนั ทึกการศกึ ษาดงู าน
ชอื่ สถานประกอบการ ......บริษทั โตโยต้า บริษัทฮโี น่มุกดาหาร,ด่านศลุ กากร/ด่านตรวจคนเข้าเมอื ง/ด่านตรวจพืช /
การบรหิ ารจดั การโลจิสติกส์ จงั หวดั มุกดาหาร
ชอื่ -นามสกุล ผ้เู ข้ารับการพัฒนา....นางสาวเยาวเรศ กรกัน กล่มุ ท.่ี .....๑๒.......เลขท.่ี .........๑๒/๓...............

ประเด็นการศึกษาดงู าน
๑.ด้านการสรา้ งภาพลักษณอ์ งค์กร

ด้วยวิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชินีมุกดาหารร่วมกับสถานประกอบการเพ่ือ๑. ผลิตและพัฒนากาลัง
อาชีวศึกษา CVM : Center of Vocational Manpower Net – working Managerment) พัฒนาสมรรถนะอาชีพใน
ทักษะอนาคต โครงการ up skill Re- skill และ New skill และการเป็นผู้ประกอบการ ภายใต้ศูนย์พัฒนาอาชีพและ
การเป็นผู้ประกอบการ รวมทั้งการสร้างความเข้มแข็งระบบความมือกับภาคเกชนและสถานประกอบการในการพัฒนา
คุณภาพการจัดการอาชวี ศึกษาอย่างเข้มข้นและมีคุณภาพ การจดั การเรียนการสอน ให้มบี ทบาทในการปฏิรูปการเรียน
การสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ การดาเนินการดา้ นบทบาทการสร้างภาพลักษณ์องค์กร ดงั กล่าวมคี วามเช่ยี วชาญด้าน
องค์ความรู้ นวัตกรรม การบริการ การสื่อสารท้ังภายในและภายนอกองค์กรนั้นน่าเช่ือถือและสร้างความประทับใจให้
เกิดข้ึนในใจของผู้ใช้บริการได้เป็นอย่างดี จากการที่ข้าพเจ้าได้ไปศึกษาดูงานสถานประกอบการ พบว่าทุกคนในองค์กร
ตอ้ งรว่ มมือร่วมใจกันสรา้ งภาพลักษณ์ขององค์กรข้นึ เพราะภาพลักษณ์ที่ได้มานน้ั เป็นภาพสะทอ้ นมาจากความรู้สึกของ
พนักงานที่มีต่อองค์กรอย่างแท้จริง และที่ยากกว่านั้นก็คือว่าเราไม่สามารถบังคับให้พนักงานทุกคนในองค์กร คิด และ
รู้สึก กับองค์กรได้เหมือนกัน เพราะองค์ประกอบสาคัญที่ได้จากการศึกษาดูงานสถานประกอบการในการสร้าง
ภาพลักษณอ์ งคก์ รข้นึ มาได้มดี ังน้ี

1. ผบู้ ริหารทม่ี ่งุ มั่นทาตามคามัน่ สญั ญา และบริหารงานอยา่ งเป็นระบบ รวดเรว็
2. นโยบายองคก์ รทีช่ ัดเจนเหมาะสมกบั ขนาดขององคก์ ร
3. ทัศนคติส่วนตัวพนักงานในการให้บริการ เช่น บุคลิกภาพ กิริยาท่าทาง คาพูด และวิธีการส่ือสารท่ีเป็น
อัตโนมตั ิจนกลายเปน็ “พฤตกิ รรมการบรกิ าร”
4. สงิ่ แวดล้อมท่ีชว่ ยกนั จัดข้ึน เชน่ ความสะอาด ความสวยงาม
5. ประสบการณร์ ่วมกันในการทางาน และกจิ กรรมที่มีความรว่ มมอื กนั
6. คาขวัญทบี่ ง่ บอกคุณคา่ ขององค์กร ทจ่ี ะช่วยหล่อหลอมความเป็นหน่ึงเดียวกันในด้านจิตใจของพนักงงานใน
องคก์ ร
7. ภาพลักษณ์ขององค์กรในด้านสังคม การท่ีองค์กรสร้างประโยชน์ต่อชุมชนรอบข้าง และสังคมอย่าง
สม่าเสมอ สามารถสร้างความภูมิใจให้กับพนักงานในองค์กรได้อย่างมากมายพนักงานอยู่ในสิง่ แวดล้อมท่ีมภี าพแห่งการ
บริการด้วยใจ
เมื่อพนักงานยอมรับในภาพลักษณ์ขององค์กรแล้ว พนักงานท่ีเป็นเจ้าหน้าที่ในการให้บริการทุกส่วน จะยึดม่ัน
สง่ิ แวดล้อมนน้ั เป็นต้นแบบในการทางาน ก็จะไดภ้ าพลักษณ์พนักงานทสี่ ามารถสรา้ งความโดดเด่นในงานบริการท่ีเหนือ
การแขง่ ขันในธุรกจิ เดียวกนั อย่างมหศั จรรย์ด้วยหวั ใจสาคัญของการสร้างภาพลักษณ์ขององคก์ ร
๒. ด้านการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์
การสร้างทมี งานที่มีประสทิ ธิภาพ
แนวคิดและทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้องกบั การทางานเป็นทีม
ร็อบบินส์ กล่าวถึงทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับการทางานเป็นทีม ได้แก่ ทฤษฎีการระบุเหตุของพฤติกรรม ทฤษฎี
แรงจงู ใจ ทฤษฎเี กี่ยวกับภาวะผู้นา ทฤษฎกี ารรบั รคู้ วามสามารถของตน ในการนาเสนอทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการทางาน
เป็นทีม ผู้วิจัยได้รวบรวมนาเสนอทฤษฎีตามแนวคิดของร็อบบินส์และแนวคิดทฤษฎีอื่นเพ่ิมเติม ได้แก่ แนวคิดทฤษฎี
เกยี่ วกบั ความตอ้ งการ 2 ปัจจยั มรี ายละเอยี ดดังนี้

1. ทฤษฎีการระบุเหตขุ องพฤตกิ รรม
ไฮเดอร์ อธิบายว่าการรับรู้พฤติกรรมนั้นจะต้องอาศัยสาเหตุ 2 อย่าง คือ สาเหตุที่มาจากส่วนบุคคล และ
สาเหตุทมี่ าจากเงื่อนไขของส่ิงแวดล้อม โดยสาเหตทุ ง้ั สองน้จี ะอยใู่ นลักษณะความสัมพนั ธ์แบบเพ่ิมหรือลด บวกหรือลบ
กลา่ วคอื ถ้ากระทาสงิ่ ใดด้วยความตอ้ งการของตน บคุ คลจะทาได้งา่ ยขน้ึ เมื่อเงือ่ นไขส่ิงแวดล้อมอานวยให้แต่จะยากขึ้น
เม่ือสิ่งแวดล้อมเป็นตัวขัดขวาง (ดูภาพประกอบ 5) สาหรับสาเหตุท่ีมาจากส่วนบุคคล ถูกแยกออกเป็น 2 สาเหตุย่อย
คือ สาเหตุท่ีเป็นแรงจูงใจให้พยายามทา(Trying)และท่ีเป็นความสามารถ (Ability) สาเหตุย่อยท้ังสองส่วนน้ีจะสัมพันธ์
กันในลักษณะที่ว่าบุคคลจะไม่มีพฤติกรรมใด ๆ ถ้าบุคคลน้ันขาดแรงจูงใจ ได้แก่ ความต้องการจะทาหรือขาด
ความสามารถท่ีจะทาได้
2. ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์
มาสโลว์ ได้เขียนทฤษฎีการจูงใจ หรือที่เรียกว่าทฤษฎีท่ัวไปเก่ียวกับการจูงใจ เป็นทฤษฎีซ่ึงมาสโลว์กล่าวถึง
ส่ิงจูงใจจากความต้องการของมนุษย์ไว้ว่ามนุษย์มีความต้องการอยู่เสมอไม่มีที่สิ้นสุดขณะท่ีความต้องการใดได้รับการ
ตอบสนองแล้วความต้องการอย่างอื่นจะเข้ามาแทนที่ความต้องการท่ีได้รับการตอบสนองแล้วและความต้องการของ
มนษุ ย์มลี าดับข้ันจากต่าไปหาสูง
3. ทฤษฎีเกีย่ วกบั ภาวะผนู้ า
เบียนชาร์ด อธิบายว่ารูปแบบผู้นาแต่ละคนเป็นแบบแผนของพฤติกรรมท่ีแสดงถึงความพยายามที่จะกระตุ้น
การปฏิบัติงานของผูต้ าม โดยแยกพฤตกิ รรมออกเปน็ 2 ดา้ นได้แก่ พฤติกรรมด้านงาน (Task behavior)เป็นพฤติกรรม
ท่ีผู้นาปฏิบัติเพื่อกาหนดบทบาท และมอบหมายงานท่ีผู้ตามแต่ละคนจะต้องปฏิบัติด้วยการกาหนดกิจกรรมว่าจะทา
อะไร ที่ไหน เม่ือไหร่ อย่างไร เพื่อให้งานของกลุ่มสาเร็จตามเป้าหมาย พฤติกรรมด้านสัมพันธภาพ (Relationship
behavior) เปน็ พฤติกรรมท่ีผูน้ าแต่ละคนแสดงออกโดยมจี ุดมุ่งหมายเพื่อสรา้ งความสัมพันธ์อันดรี ะหวา่ งตนกับ ลกู น้อง
และระหว่างลูกน้องด้วยกันซึ่งแสดงออกโดยการเปิดโอกาสให้มีการสื่อสารแบบอิสระ จัดหาและเตรียมการสนับสนุน
ดา้ นสังคม
ส่ิงที่ได้ไปศกึ ษาในสถานประกอบการมกี ารบริหารทรัพยากรมนุษย์ คอื การทางานเปน็ ทีม (Team Work) คือ
กลุม่ บุคคลทมี่ ีการประสานงานกนั รว่ มมอื กัน มีความสามัคคี มเี ปา้ หมายเดียวกันและเช่ือใจกนั โดยมกี ลยุทธ์ในการ
สร้างการทางานเปน็ ทมี
ผนู้ าทมี

- เปน็ คนมวี สิ ยั ทศั น์
- เปน็ คนที่มีความคิดรเิ ริม่ ทด่ี ี
- เป็นผทู้ วี่ างแผนไดด้ ี อุดรูรั่วไดเ้ ก่ง
- เป็นคนทมี่ วี ินยั และความรับผดิ ชอบ
- มีทักษะในการสร้างแรงจูงใจและสร้างความเช่ือม่ันท่ีดี
- เป็นนักสอื่ สารทีย่ อดเยย่ี ม และเปน็ ผู้ฟงั ที่ดี
- เปน็ นกั คดิ วิเคราะหท์ ี่ดี และมีทักษะในการตดั สนิ ใจที่เฉยี บแหลม
สมาชกิ ทีม
- เป็นคนทรี่ ับผิดชอบในการทางาน
- เคารพกฎและกติการ่วมกัน
- ให้ความร่วมมอื กนั อยา่ งเตม็ ที่
- ยอมรบั ความแตกต่าง เปิดใจรบั ความคดิ เหน็ ใหม่ๆ
- คดิ ถึงประโยชนส์ ว่ นรวมมากกวา่ ประโยชน์สว่ นตน
ระบบการทางานและกติกา
- ระบบการทางานตอ้ งแบ่งหน้าท่ชี ัดเจนไมท่ ับซอ้ น

- กติกาต้องยุติธรรมกบั ทกุ ฝา่ ย และเห็นพ้องต้องกัน
- ระบบการทางานต้องปฏิบัติได้งา่ ย ไม่เป็นอปุ สรรคตอ่ การทางาน
- สามารถปรับเปลีย่ นไดต้ ามสถานการณ์ที่เหมาะสม

๓. ดา้ นการประยทุ ธ์ใชเ้ ทคโนโลยใี นการบรหิ าร
เทคโนโลยสี ารสนเทศ

คาว่า "เทคโนโลยี" มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก คือ คาว่า tech หมายถึง art และlogos หมายถึง a study
of เม่ือรวมเป็น technology จึงหมายถึง a study of artพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2525 ได้นิยาม
ความหมายของคาว่า"เทคโนโลยี" ว่าเป็นวิทยาการที่เกี่ยวกับศิลปะในการนาเอาวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ ให้เกิด
ประโยชน์ในทางปฏิบัติและอุตสาหกรรมสรุปได้ว่าเทคโนโลยี หมายถึง การนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์หรือความรู้
ด้านอ่ืน ๆ ที่ได้จัดระเบียบดีแล้วมาประยุกต์ใช้ในด้านใดด้านหน่ึง เพื่อให้งานนั้นมีความสามารถและประสิทธิภาพ
เพิม่ ข้นึ ส่วนสารสนเทศตรงกบั คาวา่ information หมายถงึ ขอ้ มลู ท่ีผา่ นกระบวนการเก็บรวบรวมและเรียบเรียง เพอ่ื ใช้
เป็นแหลง่ ข้อมลู ที่เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้
การเปลยี่ นแปลงเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี

จากอดีตจนถึงปัจจุบัน เศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีได้มีการเปลี่ยนแปลงคร้ังสาคัญต่อการดาเนินชีวิตของ
มนุษย์เรา เปรียบเสมือนคล่ืนได้ 4 ระยะ คลื่นลูกท่ี 1 ยุคเกษตรกรรม คลื่นลูกที่ 2 ยุคอุตสาหกรรม คลื่นลูกท่ี 3 ยุค
สารสนเทศ คลน่ื ลกู ท่ี 4 ยคุ เทคโนโลยีพนั ธวุ ิศวกรรมคลนื่ ลูกที่ 1 ยุคเกษตรกรรม เมอื่ มนุษย์รู้จกั เพาะปลูกพืชและเลี้ยง
สัตวแ์ ทนการเกบ็ ของป่าและลา่ สัตวต์ ามธรรมชาติคลืน่ ลกู ที่ 2 ยุคอุตสาหกรรม มกี ารนาเครือ่ งจกั รมาใช้เพ่ือทุ่นแรงกาย
โดยเฉพาะในโรงงานและเพื่อการขนส่ง ทาให้มนุษย์สามารถผลิตสิ่งใหม่ ๆ ได้มากคลื่นลูกที่ 3 ยุคสารสนเทศ จาก
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิตอลและคอมพิวเตอร์ ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการติดต่อสื่อสาร คานวณและ
แก้ปัญหาต่าง ๆ คลื่นลูกท่ี 4 ยุคเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรม ด้วยความสามารถถอดรหัสพันธุกรรมได้ อันจะส่งผลให้
มนุษย์สามารถเปลยี่ นชิน้ สว่ นของรา่ งกายได้ และการถอดรา่ งกายออกเป็นหลาย ๆ คน (cloning)
เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นศาสตร์สาหรับการจัดการระบบสารสนเทศ เพื่อให้ได้สารสนเทศตามที่ต้องการ
อย่างถูกตอ้ ง รวดเร็ว และมีประสทิ ธิภาพ ไมว่ ่าจะเป็นการคดั เลอื กการจดั หา การวเิ คราะห์เนอื้ หาหรือสืบคน้ สารสนเทศ
โดยแตล่ ะกระบวนการต้องอาศัยเทคโนโลยีคอมพวิ เตอรด์ า้ นฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
นอกจากนเี้ ราควรรู้จักข้อมูลและฐานความรปู้ ระกอบกันไปดว้ ย

1. ข้อมูล (data) คอื ขอ้ เทจ็ จรงิ เก่ยี วกบั เหตกุ ารณ์ ปรากฎการณ์ คน สงิ่ ของ ฯลฯท่ีเราสนใจจะบนั ทึกเกบ็ ไว้
ใช้งาน

2. ฐานความรู้ (knowledge base) คือ สารสนเทศท่ีได้จดั เป็นโครงสรา้ งความรูค้ วามเข้าใจ ประสบการณ์
ความเชย่ี วชาญและต้องมคี ุณค่า เพื่อแก้ไขปัญหาในการดาเนินงานตา่ ง ๆ ได้
ประโยชน์ของเทคโนโลยใี นการบรหิ าร

สารสนเทศท่ีดีย่อมนาไปสู่การตัดสินใจท่ีมีความผิดพลาดน้อยท่ีสุด ช่วยแก้ปัญหาได้ตรงจุดที่สุด และสามารถ
ควบคุมค่าใช้จา่ ยได้ตามงบประมาณทก่ี าหนด ซงึ่ สารสนเทศตอ้ งมีคณุ ลักษณะ ดังตอ่ ไปน้ี

1. มีความถูกต้อง (accurate) ข้อมูลที่จะนาเข้าไปประมวลผลจะต้องไม่มีข้อผิดพลาด เพราะจะทาให้
สารสนเทศผิดพลาด (garbage in-garbage out : GIGO) ไปดว้ ย

2. มีความสมบูรณ์ (complete) สารสนเทศต้องมีขอ้ มูลในสว่ นสาคัญครบถ้วน
3. มีความคมุ้ ทนุ (economical) สารสนเทศควรผ่านกระบวนการทใี่ ช้ต้นทุนต่าเมือ่ เทียบกบั ผลตอบแทน
4. มคี วามยดื หยุน่ (flexible) สารสนเทศต้องสามารถนาไปใช้ได้กับขอ้ มลู ต่างๆ ได้หลายกลมุ่
5. มคี วามนา่ เชือ่ ถอื (reliable) สารสนเทศอาจเกดิ จากขอ้ มูลที่มีการรวบรวมจากแหล่งทค่ี วรเช่อื ถือได้

6. ตรงประเดน็ (relevant) สารสนเทศตอ้ งมคี วามสัมพนั ธก์ ับงานทตี่ อ้ งการ
7. มคี วามงา่ ย (simple) สารสนเทศควรมลี ักษณะทไี่ มซ่ ับซ้อน ง่ายตอ่ การทา
8. มคี วามเหมาะสมกับสถานการณป์ ัจจุบัน (timely) สารสนเทศควรมีความทันสมยั อยตู่ ลอดเวลา
9. สามารถตรวจสอบได้ (verifiable) สารสนเทศตอ้ งสามารถตรวจสอบความถกู ตอ้ งรวมทัง้ แหลง่ ท่ีมาได้
สรปุ
เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นคลืน่ ลกู ที่ 3 ซ่งึ เปน็ การนาเทคโนโลยมี าใช้งานทีเ่ ก่ียวกับการประมวลผลขอ้ มูลเพ่ือให้
ไดส้ ารสนเทศ ทงั้ นสี้ ารสนเทศต้องมคี ุณลักษณะทด่ี ีที่จะนาไปสู่การตัดสินใจที่มีความผดิ พลาดน้อยท่สี ุดและแก้ปัญหาได้
ตรงจุดด้วย หากมองดูรอบ ๆ ตัวเราจะพบว่ามีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการใช้
คอมพิวเตอร์เพ่ือการพิมพ์เอกสาร จัดเก็บข้อมูล มีการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างเพื่อนหรือสมาชิก การศึกษา
หาความรู้ผา่ นเครือข่ายขององค์กร การฝาก-ถอนเงินอัตโนมัตทิ ่ีสามารถทางานตลอดเวลา การจบั จ่ายใช้สอย ซอื้ สินค้า
อุปโภคบริโภคตามรา้ นคา้ ยคุ ใหม่ หรือการเรียนการสอนทีม่ คี วามหลากหลายตัง้ แต่ใน

๔.ดา้ นอาคารสถานทแี่ ละการจัดสภาพแวดล้อม
ส่ิงแวดล้อม คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ท้ังท่ีมีชีวิตและไม่มีชีวิต รวมทั้งท่ีเป็นรูปธรรม (สามารถจับ

ต้องและมองเหน็ ได้) และนามธรรม (ตัวอยา่ งเชน่ วฒั นธรรมแบบแผน ประเพณี ความเชอ่ื ) มอี ิทธพิ ลเกยี่ วโยงถงึ กนั เปน็
ปจั จยั ในการเก้อื หนุนซ่งึ กนั และกนั ผลกระทบจากปัจจยั หน่ึงจะมีส่วนเสรมิ สรา้ งหรอื ทาลายอีกส่วนหนึง่ อยา่ งหลีกเล่ียง
มิได้ สง่ิ แวดล้อมเปน็ วงจรและวัฏจกั รทเี่ กย่ี วข้องกันไปท้ังระบบ
สิ่งแวดล้อม (ชีวฟิสิกส์), ปัจจัยทางฟิสิกส์และชีววิทยา ร่วมกับอันตรกิริยาทางเคมีท่ีกระทบต่อสิ่งมีชีวิต
สิ่งแวดล้อม (ระบบ), สภาพแวดล้อมของระบบเชิงกายภาพท่ีอาจมีอันตรกิริยากับระบบโดยแลกเปล่ียนมวล พลังงาน
หรือคุณสมบตั อิ ย่างอืน่
ส่ิงแวดล้อม

สิ่งแวดล้อม หมายถึง ส่งิ ท่ีเกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติและทมี่ นุษยส์ รา้ งขน้ึ สงิ่ ทเ่ี ปน็ รปู ธรรมและนามธรรม สิ่งที่
เหน็ ไดด้ ้วยตาและไม่สามารถเหน็ ได้ดว้ ยตา สิ่งท่ีเป็นประโยชน์และไม่เป็นประโยชน์ (เกษม, 2540) จากคาจากดั ความ
ดงั กล่าว สามารถสรปุ ได้ว่า ส่ิงแวดลอ้ ม คือ สง่ิ ต่างๆ ท่ีอยู่รอบๆ ตัวเรา แต่ คาว่า “ตวั เรา” ในทน่ี ้ีไม่ไดห้ มายถึงตวั
มนษุ ยเ์ ราเท่าน้ัน โดยความเป็นจริงแล้ว ตวั เรานน้ั เปน็ อะไรก็ได้ที่ตอ้ งการศึกษา/รู้ เช่น ตัวเราอาจจะเป็นดนิ ถา้ กล่าวถึง
สิ่งแวดล้อมดนิ หรืออาจจะเป็นน้า ถา้ กล่าวถงึ สง่ิ แวดล้อมน้า เป็นต้น นอกจากน้อี าจมีข้อสงสยั ว่า ส่ิงที่อยู่รอบตัวเรามี
รศั มจี ากดั มากน้อยเพยี งใด ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าสิง่ ตา่ งที่อยู่รอบๆ ตัวเรา ไม่ไดม้ ีขอบเขตจากัด มนั อาจอยใู่ กลห้ รือ
ไกลตวั เราก็ได้ จะมบี ทบาทหรอื มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ตอ่ ตวั เราอย่างไรน้นั มนั ก็ขน้ึ อยู่กับลกั ษณะ และพฤตกิ รรมของสิง่ นั้นๆ
เชน่ โศกนาฏกรรมตกึ เวิรด์ เทรด ซึ่งตัวมันอยถู่ ึงสหรฐั อเมริกา แต่มผี ลถึงประเทศไทยได้ในเรื่องของเศรษกิจ เปน็ ต้น
ประเภทของสิง่ แวดลอ้ ม

จากความหมายของส่งิ แวดลอ้ มดังกล่าวสามารถแบง่ ส่ิงแวดลอ้ มได้เปน็ 2 ประเภท คือ ส่ิงแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ (Natural environment) และส่ิงแวดลอ้ มท่ีมนุษยส์ รา้ งข้ึน (Man-Mode Environment)

1. สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติ ( Natural Environment)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทย่อย คือ สงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพ (หรือสงิ่ แวดลอ้ มทีไ่ ม่มชี ีวติ ) และสง่ิ แวดล้อมทม่ี ชี ีวติ

1. 1 ส่งิ แวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) หรอื สิ่งแวดลอ้ มที่ไม่มชี วี ติ
(AbioticEnvironment) แบง่ ไดด้ ังน้ี

1.1.1 บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถงึ อากาศท่ีหอ่ หุ้มโลก ประกอบดว้ ย กา๙ชนดิ
ต่างๆ เช่น โอโซน ไนโตรเจน ออกซิเจน อาร์กอน คาร์บอนไดออกไซด์ ฝนุ่ ละออง และไอนา้

1.1.2 อุทกภาค (Hydrosphere) หมายถงึ สว่ นท่ีเปน็ น้าท้ังหมดของพ้นื ผวิ โลก ไดแ้ ก่
มหาสมทุ ร ทะเล แมน่ า้ ฯลฯ

1.1.3 ธรณีภาค หรือ เปลือกโลก(Lithosphere) หมายถงึ สว่ นของโลกทีเ่ ปน็ ของแขง็ ห่อหุ้ม
อยู่รอบนอกสุด ของโลกประกอบดว้ ยหินและดนิ

1.2 สิ่งแวดลอ้ มท่ีมีชีวิต (Biotic Environment) ไดแ้ ก่ พชื สัตว์ และมนุษย์
2 . ส่งิ แวดล้อมที่มนษุ ยส์ ร้างขึ้น(Man-Mode Environment) แบง่ ได้ 2 ประเภทดังน้ี

2.1 สงิ่ แวดลอ้ มท่เี ปน็ รูปธรรม (Concrete Environment) ไดแ้ ก่ บา้ นเรือน ถนน สนามบนิ เขอ่ื น
โรงงาน วดั

2.2 สิ่งแวดลอ้ มที่เปน็ นามธรรม (Abstract Environment)ได้แก่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรม ศาสนา กฎหมายระบบเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง เปน็ ตน้

๕. สรปุ แนวทางการนาไปประยุกตใ์ ช้ในสถานศึกษาครอบคลุม ๓ สมรรถนะ
การไปศึกษาดูงานโครงการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือหลักสูตรผู้กากับลูกเสือ ข้ันความรู้ท่ัวไป (G.I.C.)

รุ่นที่ ๑/๒๕๖๕ และผู้กากับลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรู้เบ้ืองต้น (R.B.T.C.) รุ่นที่ ๑/๒๕๖๕ ระหว่างวันท่ี ๒๓ – ๒๖
เมษายน ๒๕๖๕ ณ ค่ายลูกเสือวิทยาลัยเทคนิคเดชอุดม อาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี โครงการดังกล่าวช่วยใน
การเปลย่ี นเจตคติและสรา้ งกรอบความคดิ แบบเปิดกวา้ ง (Growth Mindset) ในการบริหารเชิงสรา้ งสรรค์สอดคลอ้ งกับ
ชีวิตวิถีอนาคต(Next Normal) มีวิธีการท่ีส่งเสรมิ ต่อพฤติกรรมและทัศนคติในการรับรู้ มองเห็น เข้าใจและตีความสิ่งที่
อยู่รอบตัวเพื่อพัฒนาได้ด้วยความพยายามถึงจะมีความแตกต่างกันในทุกๆด้านของแต่ละบุคคลแต่ทุกคนสามา รถ
เปล่ียนแปลงและเติบโตได้ด้วยความพยายามและประสบการณ์ เพื่อให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถนาเอา
กระบวนการต่างๆ ตามแบบธรรมเนยี มลกู เสอื มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเรยี นการสอนไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพสงู สดุ

การดารงตนของรองผู้อานวยการสถานศึกษาอาชีวศึกษายคุ ชวี ิตวิถีอนาคต (Next Normal)
การดารงตนของรองผอู้ านวยการสถานศึกษาอาชีวศกึ ษายคุ ชวี ติ วถิ อี นาคต (Next Normal) ในมุมมองของ
ข้าพเจ้า ต้องมีคณุ ลกั ษณะ สามารถบริหารตน บรหิ ารจติ ใจ และบริหารงาน ดังนี้
การบริหารตน รองผู้อานวยการต้องวางตัวให้เหมาะสม เริ่มจากการแตง่ กายทส่ี ามารถเป็นแบบอย่างแก่ครู
บุคลากร และทีส่ าคญั เปน็ การประชาสัมพนั ธอ์ งค์กร ทาให้ผู้ปกครองเกิดความเชือ่ มนั่ ไว้วางใจส่งบุตรหลานมา ศึกษา
เลา่ เรยี น
การบรหิ ารจติ ใจ แน่นอนในการเป็นรองผู้อานวยการ ย่อมมีทง้ั บุคคลที่รักเรา และไม่รักเรา เฝา้ จับตามองใน
การดาเนินชีวิต การบริหารต่างๆ ถ้าเรามีความจริงใจ มีความตั้งม่ันในการสร้างและพัฒนาส่ิงที่ดีให้เกิดกับ วิทยาลัย
เกิดกับนักเรียนนักศึกษา บุคลากรย่อมเกิดความเช่ือมั่น พร้อมท่ีจะมีส่วนร่วม ให้ความร่วมมือในการ พัฒนางานใน
วิทยาลยั ใหบ้ รรลคุ วามสาเร็จได้ ทีส่ าคญั ต้องใชส้ ติ สมาธิไตรต่ รองใหม้ ากๆ
การบริหารงาน ให้ยึดถือระเบียบวินยั และส่ิงทถี่ ูกต้อง ใช้หลกั คณุ ธรรม มีเมตตาเปน็ เบื้องตน้ หลกั นิตธิ รรม
เปน็ เบือ้ งปลาย ถ้าเราปรารถนาดีตอ่ ใคร สงิ่ ดีๆ ยอ่ มจะเป็นปฏิการะกลบั มาหาตัวเรา
ภาวะผูน้ าทางวิชาการและวชิ าชีพอาชวี ศกึ ษา
การท่ีรองผู้อานวยการสถานศึกษา จะเข้าไปน่ังอยู่ในใจของบุคลากรได้ ต้องอาศัยทั้งบุคลิกลักษณะ ท่ี
สอดคล้องกับการบริหารด้านการเปล่ียนแปลงและการจัดการอาชีวศึกษาในสภาวะปกติใหม่ (New Normal) สู่ยุคชีวติ
วิถีอนาคต (Next Normal) ในมมุ มองของข้าพเจา้ สามารถสรุปได้ ดงั นี้
๑. เป็นนักคิด เข้าใจวิธีการเรียนรู้ กระบวนการคิด การทางานท่ีเหมาะสมกับตนเอง พยายามแก้ปัญหา
พยายามเชื่อมโยงเร่อื งราวอย่างเป็นเหตเุ ป็นผล นาความรทู้ ่ตี กผลึกกลบั มาใชใ้ นสถานการณ์อื่นๆได้
๒. นักประสานงาน ผู้ทที่ าหนา้ ที่ติดต่อประสานงานระหวา่ งบุคคลหรือกลุ่มบุคคล หน่วยงานหรือองค์กร ใน
การประชมุ สมั มนา การจัดกิจกรรม จาเปน็ ต้องมีคณุ สมบตั ิที่ดี เช่น ดา้ นจิตบรกิ าร ควรประกอบไปด้วย การเปน็ ผู้มีจิต
อาสา มีความเอาใจใส่และรับผดิ ชอบ พูดจาให้ไพเราะและรจู้ กั กาละเทศะ มีการสอ่ื สารทด่ี ที ่ชี ดั เจน
๓. นักพัฒนา ที่ทันโลกเทคโนโลยีมรกลยุทธ์และเทคนิควิธีการในการสร้างกระบวนการบริหารการ
เปลี่ยนแปลงและสามารถขับเคลื่อนภารกจิ ใหเ้ ปน็ องคก์ รการเปลย่ี นแปลงที่มีคุณภาพ

๔. มีความรู้ในงาน เบื้องต้น มีคุณวุฒิ จากสถาบันท่ีน่าเชื่อถือ มีวัยวุฒิ คือ มีความรู้ ความเข้าในใน งานท่ี
ปฏิบัติ รวมทั้งข้ันตอน วิธีการทางานอย่างถ่องแท้ มีความชานาญ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ และ ทักษะต่างๆใน
การปฏิบตั งิ านให้เกิดผลสาเรจ็ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

๕. มีมนุษยสัมพันธ์ เป็นบ่อเกิดของความสาเร็จในงานทุกงานจะเกิดขึ้นจากการมีมนุษย์สัมพันธ์การมี
เครือข่าย ฉะน้ันจึงจานอย่างยิ่งท่ีผบู้ ริหารจะต้องมีมนุษยสัมพันธ์ ด้วยการเข้าใจตัวเอง เข้าใจคนอ่ืน และ ยอมรับความ
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล

๖. มีความสามารถในการสั่งงาน การส่ังการ เป็นการกระตุ้นให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานตามหน้าที่ความ
รับผิดชอบของตนเอง ให้ทางานจนบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะจะทาให้ทราบได้ว่า ใครทาอะไร ท่ีไหน
อยา่ งไร และทาเม่อื ใด

๗. มคี วามกลา้ ตัดสินใจ เป็นส่งิ สาคัญและเกย่ี วขอ้ งกับหน้าที่ หรือการจดั การเกือบทุกขน้ั ตอน เริ่ม ตั้งแต่ การ
วางแผน การจัดการ การจัดคนเข้า การเลือกวิธีการ ฯลฯ ผู้บริหารจะต้องพร้อมที่จะตัดสินใจอย่าง ฉับพลันด้วยความ
เช่ือมนั ในตนเอง อย่างไมล่ ังเล

๘. มีความรับผิดชอบ เม่ือเสร็จสิ้นภารกิจ หรืองานเสร็จ อาจมีสิ่งที่บรรลุความสาเร็จ และส่ิงท่ีเป็น ปัญหา
และอุปสรรคเกิดขึ้นเสมอ ผู้บริหารจะต้องกล้ารับผิดชอบทั้งในสิ่งที่ดีและส่ิงที่ไม่ดี เพ่ือรักษาและแก้ไข ปรับปรุงให้
ถูกต้องเหมาะสมในการดาเนินงานคร้ังต่อไป

การบริหารและการจัดการในสถานศกึ ษา
การบริหารและการจัดการในสถานศึกษา เป็นกระบวนการในการทางานโดยมีผู้บริหารสถานศึกษา ปฏิบัติ
ภารกิจอย่างเป็นระบบ เป็นกระบวนการ เพื่อให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ซ่ึงผู้บริหารจะมี คู่มือผู้บริหาร
โครงการ วิทยากรพเี่ ลี้ยงและวิทยากร การพฒั นากอ่ นแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา สอศ. บคุ คล
สาคัญท่ีมีบทบาทและมีอานาจหน้าท่ีในการบริหารจัดการให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายที่องค์กรได้กาหนดไว้ ๔
ด้าน ได้แก่
๑. ด้านวิชาการ เป็นภารกิจหลักในการพัฒนาประเทศด้านการศึกษา ต้องบริหารอย่างอิสระ คล่องตัว
รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน ท้องถ่ินและการมีส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
ทกุ ฝา่ ย ไมว่ า่ จะเป็นการพัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรียนร้ตู ลอดจนการวดั ผลประเมนิ ผล
๒. ด้านงบประมาณ มุ่งเน้นความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ยึดหลักการบริหารแบบมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์และมุ่งเนน้
ผลงาน เพอ่ื สง่ ผลให้เกิดคุณภาพทด่ี ขี ึ้นต่อนกั เรยี น นักศึกษา
๓. ด้านบุคคล การบริหารที่ต้องอาศัยทักษะหลักการมีมนุษยสัมพันธ์อยู่บนพ้ืนฐานหลักธรรมาภิบาล ให้มี
ความรคู้ วามสามารถ มีขวัญกาลังใจ ไดร้ ับการยกยอ่ ง เชดิ ชเู กยี รติ มีความมัน่ คงและกา้ วหน้าในวชิ าชพี โดยยึดหลกั การ
กฎระเบยี บ ข้อบังคับต่างๆใหช้ ัดเจน
๔. ด้านการบริหารงานทั่วไป การบริหารที่ต้องอาศัยหลักการประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และ อานวยการ
ความสะดวกต่างๆ ในทุกรูปแบบ โดยเน้นความโปร่งใส่ ความรับผิดชอบ ตรวจสอบได้ และท่ีมี ส่วนร่วมของบุคคล
ชุมชน และองค์กรท่เี กีย่ วข้อง

ภาคผนวก

เขา้ พบศึกษาธิการจงั หวดั มุกดาหาร นายธนะศักด์ิ พนั ธ์มา ท่านได้พูดถึงรูปแบบกาจดั การเรยี นการสอนท้ัง
ในระบบพน้ื ฐานและสายอาชีพเน้นในเรื่องการจดั การศึกษาระบบทวิภาคี โดยใหต้ ระหนักถึงหลักการครอง
คน ครองตน และครองงานกับการบริหารงานใช้หลักนิติธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การบริหารงานบคุ คล

ธรรมภิบาล

พาเขา้ พบ นางสุพร สามัตถิยะ ผอ.สพม.มุกดาหาร เพ่ือปรึกษาและรับฟังแนวคดิ เก่ยี วกับการจดั
การศกึ ษาเพอ่ื เตรยี มความพร้อมและพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ก่อนแต่งตง้ั ให้
ดารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการ
สถานศกึ ษา ณ สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยม ศึกษามุกดาหาร

เข้าพบนาย นายวรรณสทิ ธิ์ คาเพราะ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษา
มกุ ดาหาร ท่านให้ข้อคดิ ในการทางานโดยมุ่งมนั่ ตั้งใจทางาน มงุ่ สรา้ งงานในหน้าที่ รจู้ ักแยกแยะคดิ
วเิ คราะห์ หาวธิ ที างานรว่ มกนั โดยใช้ Avtive Leaning ทฤษฏีการบรหิ ารจดั การองค์กร (Posd corb)

การฝึกประสบการณร์ องผู้อานวยการในสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาจังหวดั มุกดาหารดร้ ับความ
อนุเคราะห์การศกึ ษาดูงานจากหนว่ ยงานและเครือข่ายการศึกษาวชิ าชพี ท่ีสาคญั คือ

1. ด่านศลุ กากรมุกดาหาร
2. ด่านตรวจคนเข้าเมืองมกุ ดาหาร
3. บรษิ ทั Toyota มกุ ดาหารสานักงานใหญ่
4. บริษทั รวมทวมี อเตอรเ์ ซลส์ จากดั (ศูนย์บรกิ ารรถบรรทกุ HINO)
ขอขอบพระคณุ หนว่ ยงานท้ัง 4 แห่ง ทใี่ ห้การต้อนรับเปน็ อยา่ งดี พรอ้ มทง้ั ถา่ ยทอดความรู้
ประสบการณ์การทางานเปน็ วิทยาทานท่ีเป็นประโยชน์อยา่ งยิง่


Click to View FlipBook Version