The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พัชรี ราศรี, 2020-05-17 11:52:35

ภาวะโลกร้อน

ภาวะโลกร้อน

1

ภำวะโลกรอ้ น

ภัยมหันต์ของมนษุ ย์

กศน.อำเภอนิคมพฒั นำ



คำนำ

ในปัจจุบันโลกของเรามีการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมต่างๆนานา แต่สิ่งท่ีเรา
กาลังจะเผชิญต่อจากนี้คือ การเกิดปรากฏการณ์ภาวะโลกร้อน น้ันคือ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศที่เกิดจาก
การกระทาของมนุษย์ ที่ทาให้อุณหภูมิเฉล่ียของโลกเพิ่มสูงข้ึน เราจึงเรียกว่า ภาวะโลกร้อน ( Global
Warming) กิจกรรมของมนุษย์ท่ีทาให้เกิดภาวะโลกร้อน คือ กิจกรรมท่ีทาให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจกใน
บรรยากาศเพ่ิมมากขึ้น ได้แก่ การเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกโดยตรง เช่น การเผาไหม้เชื้อเพลิง และ การ
เพม่ิ ปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจกโดยทางออ้ ม คอื การตดั ไม้ทาลายป่าปรากฏการณเ์ รอื นกระจก หมายถึง การที่ชั้น
บรรยากาศของโลก กระทาตัวเสมอื นกระจกท่ียอมใหร้ งั สีคล่ืนสนั้ จากดวงอาทิตย์ผ่านทะลุลงมายังผิวพื้นโลกได้
แต่จะดูดกลนื รังสคี ลนื่ ยาวทโ่ี ลกคายออกไปไม่ให้หลุดออกนอกบรรยากาศ ทาให้โลกไม่เย็นจัดในเวลากลางคืน
บรรยากาศเปรยี บเสมือนผา้ ห่มผืนใหญ่ทคี่ ลมุ โลกไว้ กา๊ ซทยี่ อมให้รังสคี ลื่นส้ันจากดวงอาทติ ย์ผ่าน ทะลุลงมาได้
แต่ไมย่ อมใหร้ ังสีคลนื่ ยาวท่ีโลกคายออกไปหลดุ ออกนอกบรรยากาศเรยี กวา่ ก๊าซเรือนกระจก

ทางผู้จัดทาได้เล็งเห็นถึงผลกระทบท่ีมีต่อโลกและได้ศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาสภาวะโลกร้อน
ซึ้งเราทุกคนต้องช่วยกัน เปล่ียนพฤติกรรมการกิน การอยู่ เพ่ือลดการใช้พลังงาน ลดการปล่อยมลพิษ ซ้ึงจะ
นาไปสู่การลดปัญหาภาวะโลกร้อนได้ เพียงแค่เราทุกคนช่วยกันภาวะโลกร้อนก็จะลดลงตามลาดับทาให้โลก
ของเราน่าอยู่ข้ึนอีกคร้ัง เป็นโลกใหม่ โลกท่ีเราทุกคนไผ่ฝัน เป็นโลกท่ีเราสัมผัสได้และเป็นโลกท่ีแท้จริง โลกที่
เสรี และอยู่คู่ลกู คหู่ ลานเราตลอดไป

การจัดทารายงานฉบับนี้สาเร็จตามวัตถปุ ระสงคไ์ ปด้วยดี การทารายงาน การเรียบเรียงเน้ือหา การ
เขียนบรรณานุกรมได้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ข้าพเจ้าหวังว่า เน้ือหาในรายงานฉบับนี้ที่ได้เรียบเรียงมาจะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้สนใจเป็น อย่างดี หากมีส่ิงใดในรายงานฉบับนี้จะต้องปรับปรุง ข้าพเจ้าขอน้อมรับในข้อชี้แนะ
และจะนาไปแกไ้ ขหรือพฒั นาใหถ้ ูกต้องสมบูรณ์ต่อไป



สำรบัญ

ปก ................................................................................................................................................... 1
คานา ................................................................................................................................................ข
สารบัญ .............................................................................................................................................ค
ภาวะโลกร้อน
สาเหตุการเกดิ ภาวะโลกร้อน........................................................................................................... 2
แก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ........................................................................................................ 3
การปอ้ นกลับ................................................................................................................................... 4
ความผนั แปรของดวงอาทิตย์........................................................................................................... 5
การเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิ................................................................................................................ 6
ตัวแปรภูมอิ ากาศกอ่ นยุคมนษุ ย์...................................................................................................... 7
แบบจาลองภมู ิอากาศ...................................................................................................................... 7
ผลกระทบที่เกิดข้นึ และคาดวา่ จะเกดิ ............................................................................................. 9
การปรบั ตัวและการบรรเทา ......................................................................................................... 11
การอภปิ รายทางสงั คมและการเมือง............................................................................................ 12
ประเด็นปัญหาภูมิอากาศทเ่ี ก่ียวขอ้ ง............................................................................................ 13
80 วิธีหยุดโลกรอ้ น...................................................................................................................... 14

ภำวะโลกร้อน

ภาวะโลกร้อน (global warming) หมายถึงการเพ่ิมขึ้นของอุณหภูมิเฉล่ียของอากาศใกล้พื้นผิวโลก
และน้าในมหาสมุทรต้ังแต่ช่วงครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะ
เพมิ่ ขนึ้ อย่างต่อเนือ่ ง

ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ. 2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉล่ียมีค่าสูงข้ึน 0.74 ±
0.18 อ ง ศ า เ ซ ล เ ซี ย ส [1] ซ่ึ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ร ะ ห ว่ า ง รั ฐ บ า ล ว่ า ด้ ว ย ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ส ภ า พ
ภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จาก
การสังเกตการณ์การเพ่ิมอุณหภูมิโดยเฉล่ียของโลกท่ีเกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษท่ี 20 (ประมาณต้ังแต่
พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแนช่ ัดว่าเกดิ จากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกท่ีเกิดข้ึนโดยกิจกรรมของมนุษย์
ที่เป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่
รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพ่ิมอุณหภูมิในช่วงก่อนยุค
อุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490 และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้น
มา ข้อสรุปพ้ืนฐานดังกล่าวน้ีได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า
30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สาคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้
นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง แต่เสียงส่วนใหญ่ของ
นักวทิ ยาศาสตรท์ ่ีทางานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมอิ ากาศของโลกโดยตรงเห็นดว้ ยกบั ขอ้ สรุปน้ี

แบบจาลองการคาดคะเนภูมอิ ากาศท่ีสรปุ โดย IPCC บ่งช้วี ่าอณุ หภูมโิ ลกโดยเฉล่ียท่ีผิวโลกจะเพิ่มข้ึน
1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษท่ี 21 (พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจาก
การจาลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจาลองค่าความไว
ภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบท้ังหมดจะมุ่งไปท่ีช่วงเวลาถึงเพียงปี พ.ศ. 2643 แต่
ความร้อนจะยงั คงเพิ่มขึน้ และระดบั นา้ ทะเลกจ็ ะสูงข้นึ ต่อเน่อื งไปอกี หลายสหัสวรรษ แม้ว่าระดับของแก๊สเรือน
กระจกจะเข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การท่ีอุณหภูมิและระดับน้าทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมา
จากความจุความรอ้ นของน้าในมหาสมทุ รซึ่งมีคา่ สูงมาก

การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงข้ึนทาให้ระดับน้าทะเลสูงข้ึน และคาดว่าทาให้เกิดภาวะลมฟ้าอากาศ
สุดโต่ง (extreme weather) ที่รุนแรงมากข้ึน ปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้าฟ้าจะเปลี่ยนแปลงไป
ผลกระทบอื่น ๆ ของภาวะโลกร้อนได้แก่ การเปล่ียนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธาร
นา้ แขง็ การสญู พันธ์ุพชื -สตั วต์ า่ ง ๆ รวมท้ังการกลายพันธแุ์ ละแพรข่ ยายโรคต่าง ๆ เพม่ิ มากขน้ึ
แต่ยังคงมีความไม่แน่นอนทางวิทยาศาสตร์อยู่บ้าง ได้แก่ปริมาณของความร้อนท่ีคาดว่าจะเพ่ิมในอนาคต ผล
ของความรอ้ นทเี่ พ่ิมข้นึ และผลกระทบอ่ืน ๆ ท่ีจะเกิดกับแต่ละภูมิภาคบนโลกว่าจะแตกต่างกันอย่างไร รัฐบาล
ของประเทศต่าง ๆ แทบทุกประเทศได้ลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต ซึ่งมุ่งประเด็นไปที่การลดการ
ปล่อยแก๊สเรือนกระจก แต่ยังคงมีการโต้เถียงกันทางการเมืองและการโต้วาทีสาธารณะไปทั่วท้ังโลกเก่ียวกับ

2

มาตรการว่าควรเป็นอย่างไร จึงจะลดหรือย้อนกลับความร้อนที่เพ่ิมข้ึนของโลกในอนาคต หรือจะปรับตัวกัน
อยา่ งไรต่อผลกระทบของภาวะโลกรอ้ นที่คาดวา่ จะต้องเกดิ ขึ้น

คาว่า “ภาวะโลกร้อน” เป็นคาจาเพาะคาหนึ่งของอุบัติการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
โดยที่ "การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ" มีความหมายถึงการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิในทุกช่วงเวลาของโลก รวมท้ัง
เหตุการณป์ รากฏการณ์โลกเยน็ ดว้ ย โดยทวั่ ไป คาวา่ "ภาวะโลกร้อน" จะใช้ในการอ้างถึงสภาวะที่อุณหภูมิของ
โลกร้อนขึน้ ในช่วงไมก่ ่ที ศวรรษที่ผา่ นมา และมีความเก่ียวข้องกระทบต่อมนุษย์[7] ในอนุสัญญาสหประชาชาติ
ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate
Change: UNFCCC) ใช้คาว่า “การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” (Climate Change) สาหรับการเปล่ียนแปลงท่ี
เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และใช้คาว่า "การผันแปรของภูมิอากาศ" (Climate Variability) สาหรับการ
เปล่ียนแปลงท่ีเกิดจากเหตุอ่ืน[8] ส่วนคาว่า “ภาวะโลกร้อนจากกิจกรรมมนุษย์” (anthropogenic global
warming) มีท่ใี ชใ้ นบางคราวเพื่อเน้นถงึ การเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ จากเหตุอนั เน่อื งมาจากมนษุ ย์

สำเหตุกำรเกดิ ภำวะโลกรอ้ น

องค์ประกอบของแรงปล่อยรังสี (radiative forcing) ณ ขณะปัจจุบันที่ประเมินค่าโดยรายงานการ
ประเมนิ ค่าฉบบั ที่ 4 ของ IPCC

คาร์บอนไดออกไซด์ในช่วงเม่ือ 400,000 ปีก่อน เพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็วนับต้ังแต่ยุคการปฏิวัติ
อตุ สาหกรรมเปน็ ตน้ มาไดเ้ ปลี่ยนวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ที่เรียกว่า “วัฏจักรมิลานโควิทช์” นั้น เชื่อกัน
ว่าเปน็ ตวั กาหนดวงรอบ 100,000 ปขี องวัฏจักรยุคนา้ แข็ง

การเพิ่มข้ึนของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศเม่ือเร็ว ๆ นี้ การวัดคาร์บอนไดออกไซด์รายเดือน
แสดงใหเ้ ห็นความผันผวนเล็กนอ้ ยตามฤดกู าลระหวา่ งปีท่มี ีแนวโน้มสูงข้ึน จานวนการเพ่ิมขึ้นสูงสุดของแต่ละปี
เกิดขึ้นในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิของซีกโลกเหนือและลดลงในช่วงการเพาะปลูกซ่ึงพืชที่เพาะปลูกดึง
คาร์บอนไดออกไซด์บางสว่ นออกจากบรรยากาศ

สภาพภูมิอากาศของโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปตามแรงกระทาจากภายนอก ซ่ึงรวมถึงการผันแปร
ของวงโคจรรอบดวงอาทิตย์ (แรงกระทาจากวงโคจร) การระเบิดของภูเขาไฟ [12] และการสะสมของแก๊ส
เรือนกระจกในบรรยากาศ รายละเอียดเก่ียวกับสาเหตุของความร้อนท่ีเพิ่มข้ึนของโลกยังคงเป็นประเด็นการ
วิจัยที่มีความเคลื่อนไหวอยู่เสมอ อย่างไรก็ดี มีความเห็นร่วมทางวิทยาศาสตร์ (scientific consensus)
[13][14]บ่งชี้ว่า ระดับการเพ่ิมของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์เป็นส่วนท่ีมีอิทธิพลสาคัญ
ที่สุดนับแต่เร่ิมต้นยุคอุตสาหกรรมเป็นต้นมา สาเหตุข้อน้ีมีความชัดเจนมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมาเน่ืองจากมี
ข้อมูลมากพอสาหรับการพิเคราะห์ นอกจากนี้ยังมีสมมุติฐานอื่นในมุมมองที่ไม่ตรงกันกับความเห็นร่วมทาง
วิทยาศาสตร์ข้างต้น ซงึ่ นาไปใช้เพ่ืออธิบายเหตุการณ์ที่อุณหภูมิมีค่าสูงขึ้น สมมุติฐานหน่ึงในน้ันเสนอว่า ความ
ร้อนท่ีเพิม่ ขนึ้ อาจเป็นผลจากการผนั แปรภายในของดวงอาทิตย์

3

ผลกระทบจากแรงดังกล่าวมิได้เกิดขึ้นในฉับพลันทันใด เน่ืองจาก “แรงเฉ่ือยของความร้อน”
(thermal inertia) ของมหาสมทุ รและการตอบสนองอันเช่ืองช้าต่อผลกระทบทางอ้อมทาให้สภาวะภูมิอากาศ
ของโลก ณ ปัจจุบันยังไม่อยู่ในสภาวะสมดุลจากแรงท่ีกระทา การศึกษาเพ่ือหา “ข้อผูกมัดของภูมิอากาศ”
(Climate commitment) บง่ ช้วี า่ แม้แก๊สเรือนกระจกจะอยู่ในสภาวะเสถียรในปี พ.ศ. 2543 ก็ยังคงมีความ
รอ้ นเพิม่ ข้นึ อกี ประมาณ 0.5 องศาเซลเซียสอยู่ดี

แก๊สเรือนกระจกในบรรยำกำศ

ปรากฏการณ์เรือนกระจก ค้นพบโดยโจเซฟ ฟูเรียร์ เมื่อ พ.ศ. 2367 และได้รับการตรวจสอบเชิง
ปริมาณโดยสวานเต อาร์รีเนียส ในปี พ.ศ. 2439 กระบวนการเกิดข้ึนโดยการดูดซับและการปลดปล่อยรังสี
อินฟราเรดโดยแก๊สเรอื นกระจกเป็นตัวทาใหบ้ รรยากาศและผวิ โลกรอ้ นขึน้
การเกิดผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจกดังกล่าวไม่เป็นที่ถกเถียงกันแต่อย่างใด เพราะโดยธรรมชาติ
แก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นนั้นจะมีค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิอยู่ท่ี 33 องศาเซลเซียส อยู่แล้ว ซ่ึงถ้าไม่มี มนุษย์ก็จะ
อย่อู าศยั ไม่ได้ [20] ประเดน็ ปัญหาจึงอยู่ทว่ี า่ ความแรงของปรากฏการณ์เรือนกระจกจะเปล่ียนไปอย่างไร เมื่อ
กจิ กรรมของมนษุ ยไ์ ปเพมิ่ ความเขม้ ของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ

แก๊สเรือนกระจกหลักบนโลกคือ ไอระเหยของน้า ซึ่งเป็นต้นเหตุทาให้เกิดภาวะโลกร้อนมากถึง
ประมาณ 30-60% (ไม่รวมก้อนเมฆ) คาร์บอนไดออกไซดเ์ ป็นตวั การอกี ประมาณ 9–26% แก๊สมีเทน (CH4)
เป็นตัวการ 4–9% และโอโซนอีก 3–7% [21][22] ซ่ึงหากนับโมเลกุลต่อโมเลกุล แก๊สมีเทนมีผลต่อ
ปรากฏการณ์เรือนกระจกมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ แต่ความเข้มข้นน้อยกว่ามาก ดังน้ันแรงการแผ่ความ
รอ้ นจงึ มสี ดั ส่วนประมาณหนง่ึ ในสี่ของคาร์บอนไดออกไซด์ และยังมีแก๊สอ่ืนอีกท่ีเกิดตามธรรมชาติแต่มีปริมาณ
น้อยมาก หน่ึงในนั้นคือ ไนตรัสออกไซด์ (N2O) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการทากิจกรรมของมนุษย์ เช่นเกษตรกรรม
ความเข้มในบรรยากาศของ CO2 และ CH4 เพิม่ ขนึ้ 31% และ 149 % ตามลาดับนับจากการเรม่ิ ต้นของยุค
การปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรมในชว่ งประมาณ พ.ศ. 2290 (ประมาณปลายรัชสมัยพระบรมโกศฯ) เป็นต้นมา ระดับ
อุณหภูมิเหล่าน้ีสูงกว่าอุณหภูมิของโลกท่ีขึ้น ๆ ลง ๆ ในช่วง 650,000 ปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นช่วงที่มีข้อมูลท่ี
เช่ือถือได้ท่ีได้มาจากแกนน้าแข็งท่ีเจาะมาได้ และจากหลักฐานทางธรณีวิทยาด้านอื่นก็ทาให้เชื่อว่าค่าของ
CO2 ที่สูงในระดับใกล้เคียงกันดังกล่าวเป็นมาประมาณ 20 ล้านปีแล้ว [23] การเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึก
ดาบรรพ์หรือเช้ือเพลิงฟอสซิล (Fossil fuel) มีส่วนเพ่ิม CO2 ในบรรยากาศประมาณ 3 ใน 4 ของปริมาณ
CO2 ท้ังหมดจากกิจกรรมมนุษย์ในรอบ 20 ปีท่ีผ่านมา ส่วนที่เหลือเกิดจากการเปล่ียนแปลงการใช้ที่ดิน
โดยเฉพาะการทาลายปา่ เปน็ ส่วนใหญ่

ความเข้มของปริมาณ CO2 ที่เจือปนในบรรยากาศปัจจุบันมีประมาณ 383 ส่วนในล้านส่วนโดย
ปริมาตร (ppm) [25] ประมาณว่าปริมาณ CO2 ในอนาคตจะสูงขึ้นอีกจากการเผาผลาญเช้ือเพลิงฟอสซิล
และการเปล่ยี นแปลงการใชท้ ีด่ ิน อัตราการเพิ่มข้ึนอยู่กับความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี และ
การพัฒนาของตัวธรรมชาติเอง แต่อาจข้ึนอยู่กับการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นหลัก รายงานพิเศษว่าด้วยการ
จาลองการปลดปลอ่ ยคาร์บอนไดออกไซด์ (Special Report on Emissions Scenarios) ของ IPCC ได้จาลอง

4

ว่าปริมาณ CO2 ในอนาคตจะมีค่าอยู่ระหว่าง 541 ถึง 970 ส่วนในล้านส่วน ในราวปี พ.ศ. 2643[26]
ด้วยปริมาณสารองของเชื้อเพลิงฟอสซิลจะยังคงมีเพียงพอในการสร้างสภาวะน้ัน และยังสามารถเพ่ิมปริมาณ
ขึ้นได้อีกเม่ือเลยปี 2643 ไปแล้ว ถ้าเรายังคงใช้ถ่านหิน น้ามันดิน น้ามันดินในทราย หรือมีเทนก้อน
(methane clathratesmethane clathrates เป็นแก๊สมีเทนท่ีฝังตัวในผลึกน้าแข็งในสัดส่วนโมเลกุลมีเทน:
โมเลกุลนา้ = 1 : 5.75 เกดิ ใต้ทอ้ งมหาสมทุ รที่ลกึ มาก) ตอ่ ไป

กำรป้อนกลบั

หน่ึงในผลการป้อนกลับท่ีเด่นชัดหลายแบบดังกล่าวสัมพันธ์กับการระเหยของน้า กรณีความร้อนที่
เพม่ิ ข้นึ เนือ่ งจากการเพ่ิมขึน้ ของแกส๊ เรือนกระจกท่มี อี ายุยนื ยาว เชน่ CO2 ทาใหน้ า้ ระเหยปะปนในบรรยากาศ
มากขึ้น และเม่ือไอน้าเองก็เป็นแก๊สเรือนกระจกชนิดหน่ึงด้วย จึงทาให้บรรยากาศมีความร้อนเพ่ิมข้ึนไปอีกซ่ึง
เปน็ การป้อนกลับไปทาให้น้าระเหยเพิม่ ข้ึนอีก เป็นรอบ ๆ เร่ือยไปดังนี้จนกระทั่งระดับไอน้าบรรลุความเข้มถึง
จุดสมดุลขั้นใหม่ซ่ึงมีผลต่อปรากฏการณ์เรือนกระจกมากกว่าลาพัง CO2 เพียงอย่างเดียว แม้กระบวนการ
ป้อนกลับนี้จะเก่ียวข้องกับการเพ่ิมปริมาณความชื้นสัมบูรณ์ในบรรยากาศ แต่ความช้ืนสัมพัทธ์จะยังคงอยู่ใน
ระดับเกือบคงท่ีและอาจลดลงเล็กน้อยเมื่ออากาศอุ่นข้ึน ผลการป้อนกลับน้ีจะเปลี่ยนกลับคืนได้แต่เพียงช้า ๆ
เนอ่ื งจาก CO2 มีอายุขยั ในบรรยากาศ (atmospheric lifetime) ยาวนานมาก

การป้อนกลบั เนอื่ งจากเมฆกาลงั อยู่ในระยะดาเนินการวิจัย มองจากทางด้านล่างจะเห็นเมฆกระจาย
รังสีอินฟราเรดลงสู่พื้นล่าง ซึ่งมีผลเป็นการเพิ่มอุณหภูมิผิวล่าง ในขณะเดียวกัน หากมองทางด้านบน เมฆจะ
สะท้อนแสงอาทิตย์และกระจายรังสอี นิ ฟราเรดสู่หว้ งอวกาศจงึ มผี ลเปน็ การลดอุณหภูมิ ผลลัพธ์ของผลต่างของ
ปรากฏการณ์นี้จะมากน้อยต่างกันอย่างไรขึ้นอยู่กับรายละเอียด เช่น ประเภทและความสูงของเมฆ
รายละเอียดเหล่าน้ีมีความยากมากในการสร้างแบบจาลองภูมิอากาศเน่ืองจากก้อนเมฆมีขนาดเล็ก กระจัด
กระจายและมชี ่องว่างระหว่างก้อนมาก อย่างไรก็ดี การป้อนกลับของเมฆมีผลน้อยกว่าการป้อนกลับของไอน้า
ในบรรยากาศ และมผี ลชดั เจนในแบบจาลองทกุ แบบทน่ี ามาใชใ้ นรายงานผลการประเมนิ IPCC ครั้งที่ 4 (IPCC
Fourth Assessment Report

แนวโนม้ ของนา้ แข็งของซกี โลกเหนอื
แนวโน้มของนา้ แข็งของซกี โลกใต้
ความผันแปรของดวงอาทติ ย์ ในรอบ 30 ปีท่ผี า่ นมา
กระบวนการป้อนกลับที่สาคัญอีกแบบหนึ่งคือการป้อนกลับของอัตราส่วนรังสีสะท้อนจากน้าแข็ง
เม่ืออณุ หภูมิของโลกเพิม่ นา้ แขง็ แถบข้ัวโลกจะมีอัตราการละลายเพ่ิม ในขณะที่น้าแข็งละลายผิวดินและผิวน้า
จะถูกเปิดให้เห็น ทั้งผิวดินและผิวน้ามีอัตราส่วนการสะท้อนรังสีน้อยกว่าน้าแข็งจึงดูดซับรังสีดวงอาทิตย์ไว้ได้
มากกวา่ จงึ ทาให้อณุ หภูมิสูงขนึ้ ป้อนกลบั ใหน้ ้าแขง็ ละลายมากขึ้นและวงจรน้ีเกดิ ต่อเนอ่ื งไปอกี เรื่อย ๆ
การป้อนกลับท่ีชัดเจนอีกชนิดหนึ่งได้แก่การปลดปล่อย CO2 และ CH4 จากการละลายของชั้นดินเยือกแข็ง
คงตัว (permafrost) เช่นพรุพีท เยือกแข็ง (frozen peat bogs) ในไซบีเรียที่เป็นกลไกท่ีเพ่ิมการอุ่นขึ้นของ

5

บรรยากาศ การปลดปล่อยอย่างมหาศาลของแก๊สมเี ทนจาก “มเี ทนกอ้ น” สามารถทาให้อัตราการอุ่นเป็นไปได้
รวดเรว็ ข้นึ ซง่ึ เปน็ ไปตาม “สมมตุ ฐิ านปนื คลาทเรท” (clathrate gun hypothesis)

ขีดความสามารถในการเก็บกักคาร์บอนลดต่าลงเม่ืออุณหภูมิสูงข้ึน ท้ังนี้เน่ืองมาจากการลดลงของ
ธาตุอาหารในชั้นเมโสเพลาจิก (mesopelagic zone) ประมาณความลึกที่ 100 ถึง 200 เมตร ที่ทาให้การ
เจริญเติบโตของไดอะตอมลดลงเน่ืองจากการเข้าแทนที่ของไฟโตแพลงตอนที่เล็กกว่าและเก็บกักคาร์บอนใน
เชิงชวี วทิ ยาไดน้ อ้ ยกวา่

ควำมผนั แปรของดวงอำทติ ย์

มีรายงานวิจัยหลายช้ินแนะว่าอาจมีการให้ความสาคัญกับดวงอาทิตย์ที่มีผลต่อภ าวะโลกร้อนต่าไป
นักวิจัย 2 คนจากมหาวิทยาลัยดุ๊ก คือ บรูซ เวสต์ และ นิโคลา สกาเฟทตา ได้ประมาณว่าดวงอาทิตย์อาจ
ส่งผลต่อการเพ่ิมอุณหภูมิเฉล่ียของผิวโลกมากถึง 45–50% ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2443–2543 และ
ประมาณ 25–35% ระหว่าง พ.ศ. 2523–2543 รายงานวิจัยของปีเตอร์ สกอต และนักวิจัยอื่นแนะว่า
แบบจาลองภูมิอากาศประมาณการเกินจริงเกี่ยวกับผลสัมพัทธ์ของแก๊สเรือนกระจกเมื่อเปรียบเทียบกับแรง
จากดวงอาทิตย์ และยังแนะเพิ่มว่าผลกระทบความเย็นของฝุ่นละอองภูเขาไฟและซัลเฟตในบรรยากาศได้รับ
การประเมนิ ตา่ ไปเช่นกัน ถึงกระนัน้ กลุ่มนกั วจิ ัยดังกล่าวกย็ งั สรปุ วา่ แม้จะรวมเอาปจั จัยความไวต่อภูมิอากาศ
ของดวงอาทิตยม์ ารวมด้วยกต็ าม ความร้อนทเ่ี พิ่มข้ึนต้ังแต่ช่วงกลางคริสต์ศตวรรษท่ี 20 (ตั้งแต่ พ.ศ. 2490)
ยังนับว่าเปน็ ผลจากการเพม่ิ ปริมาณของแกส๊ เรือนกระจกเสยี มากกวา่

สมมุติฐานที่แตกต่างไปอีกประการหนึ่งกล่าวว่า การผันแปรของอัตราการปล่อยความร้อนออกของ
ดวงอาทิตย์ (solar output) สู่โลก ซ่งึ เกดิ การขยายตวั เพิ่มขึ้นในการเติมสารเคมีในกลุม่ เมฆจาก รังสีคอสมิกใน
ดาราจักร (galactic cosmic rays) อาจเป็นตัวการทาให้เกิดความร้อนท่ีเพ่ิมข้ึนในช่วงเวลาท่ีเพ่ิงผ่านพ้นไป
สมมุติฐานนี้เสนอว่า แรงกระทาจากสนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์เป็นปัจจัยสาคัญอย่างย่ิงยวดในการหันเห
รังสคี อสมกิ ท่ีส่งผลต่อการกอ่ ตัวของนวิ เคลียสในเมฆ และทาใหม้ ีผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศด้วย

ผลกระทบประการหนึ่งท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นเนื่องจากการเพ่ิมแรงกระทาจากดวงอาทิตย์ คือการที่
บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์อุ่นข้ึน ในขณะที่ตามทฤษฏีของแก๊สเรือนกระจกแล้วช้ันบรรยากาศน้ีควรจะเย็น
ลง ผลสังเกตการณ์ที่เก็บข้อมูลมาตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2505 พบว่ามีการเย็นตัวลงของช้ันสตราโตสเฟียร์
ช่วงล่าง[36] การลดลงของปริมาณโอโซนในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มีอิทธิพลต่อการเย็นลงของ
บรรยากาศมานานแล้ว แต่การลดที่เกิดขึ้นมากโดยชัดเจนปรากฏให้เห็นต้ังแต่ประมาณ พ.ศ. 2515 เป็นต้น
มา[37] ความผันแปรของดวงอาทิตย์ร่วมกับการระเบิดของภูเขาไฟ อาจมีผลให้เกิดการเพ่ิมอุณหภูมิมาตั้งแต่
ยุคกอ่ นอุตสาหกรรมตอ่ เนื่องมาถึงประมาณ พ.ศ. 2490 แตใ่ หผ้ ลทางการลดอณุ หภูมิต้ังแต่น้ันเป็นต้นมา ในปี
พ.ศ. 2549 ปีเตอร์ ฟูกัล และนักวิจัยอื่น ๆ จากสหรัฐฯ เยอรมันและสวิตเซอร์แลนด์พบว่า ดวงอาทิตย์ไม่ได้
สอ่ งสว่างมากขน้ึ อย่างมีนัยสาคญั ในรอบหน่งึ พนั ปีทผี่ ่านมา วฏั จักรของดวงอาทติ ย์ท่ีส่องสว่างมากขึ้นทาให้โลก
อุน่ ขน้ึ เพยี ง 0.07% ใน 30 ปที ่ผี ่านมา ผลกระทบนจี้ งึ มสี ่วนทาใหเ้ กดิ ภาวะโลกร้อนน้อยมาก ๆ รายงานวิจัย
ของ ไมค์ ลอควูด และเคลาส์ ฟลอห์ลิช พบว่าไม่มีความสัมพันธ์ระหว่างภาวะโลกร้อนกับการแผ่รังสีของดวง

6

อาทิตย์มาต้ังแต่ พ.ศ. 2528 ไม่ว่าจากความผันแปรจากดวงอาทิตย์หรือจากรังสีคอสมิก เฮนริก สเวนมาร์ก
และไอกิล ฟริอิส-คริสเตนเซน ผู้สนับสนุนสมมุติฐาน “การถูกเติมสารเคมีลงในกลุ่มเมฆจากรังสีคอสมิกใน
ดาราจกั ร” ไม่เห็นด้วยกบั ข้อเสนอของลอควดู และ ฟลอห์ลิช

กำรเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิ

คา่ เฉลี่ยอณุ หภมู ผิ วิ โลกในชว่ ง 2,000 ปี ตามการสร้างข้ึนใหม่แบบต่าง ๆ แต่ละแบบทาให้เรียบขึ้น
ตามมาตราส่วนทศวรรษ ตวั ที่ไม่เรยี บของค่ารายปสี าหรับปี พ.ศ. 2547 ใช้วิธพี ลอ็ ตท่ตี า่ งกัน
ปัจจบุ นั

อุณหภูมิของโลกทั้งบนแผ่นดินและในมหาสมุทรได้เพ่ิมข้ึน 0.75 องศาเซลเซียส เมื่อเปรียบเทียบ
กับในช่วงปี พ.ศ. 2403 – 2443 ตาม “การบันทึกอุณหภูมิด้วยเครื่องมือ” (instrumental temperature
record) การวัดอุณหภูมิท่ีเพิ่มข้ึนน้ีไม่มีผลมากนักต่อ “ปรากฏการณ์เกาะความร้อน” นับแต่ปี พ.ศ. 2522
เป็นตน้ มา อณุ หภมู ิผิวดนิ ไดเ้ พม่ิ เร็วขึน้ ประมาณ 2 เทา่ เมอ่ื เทียบกบั การเพม่ิ อุณหภูมิของผิวทะเล (0.25 องศา
เซลเซียส ต่อทศวรรษ กับ 0.13 องศาเซลเซียส ต่อทศวรรษ) อุณหภูมิของชั้นบรรยากาศโทรโปสเฟียร์
ตอนล่างได้เพ่ิมข้ึนระหว่าง 0.12 และ 0.22 องศาเซลเซียส ต่อทศวรรษมาต้ังแต่ พ.ศ. 2522 เช่นกันจาก
การวัดอุณหภูมิโดยดาวเทียม เชื่อกันว่าอุณหภูมิของโลกค่อนข้างเสถียรมากกว่ามาต้ังแต่ 1 – 2,000 ปีก่อน
ถึงปี พ.ศ. 2422 โดยอาจมีการข้ึน ๆ ลง ๆ ตามภูมิภาคบ้าง เช่นในช่วง การร้อนของยุคกลาง ( Medieval
Warm Period) และ ในยคุ นา้ แข็งน้อย (Little Ice Age)

อุณหภูมิของน้าในมหาสมุทรเพิ่มในอัตราที่ช้ากว่าบนแผ่นดินเน่ืองจากความจุความร้อนของน้าที่
มากกว่าและจากการสูญเสียความร้อนท่ีผิวน้าจากการระเหยท่ีเร็วกว่าบนผิวแผ่นดิน[43] เน่ืองจากซีกโลก
เหนือมีมวลแผ่นดนิ มากกว่าซกี โลกใต้ ซกี โลกเหนอื จึงรอ้ นเร็วกว่า และยังมีพ้ืนท่ีท่ีกว้างขวางท่ีปกคลุมโดยหิมะ
ตามฤดูกาลท่ีมีอัตราการสะท้อนรังสีที่ป้อนกลับได้มากกว่า แม้แก๊สเรือนกระจกจะถูกปลดปล่อยในซีกโลก
เหนือมากกว่าซีกโลกใต้ แต่ก็ไม่มีผลต่อความไม่ได้ดุลของการร้อนข้ึน เน่ืองจากแก๊สกระจายรวมกันได้รวดเร็ว
ในบรรยากาศระหวา่ งสองซีกโลก

โดยอาศัยการประมาณจากข้อมูลของ “สถาบันกอดดาร์ดเพ่ือการศึกษาห้วงอวกาศ" (Goddard
Institute for Space Studies) ของนาซา โดยการใช้เคร่ืองมือวัดแบบต่าง ๆ ที่เช่ือถือได้และมีใช้กันมาต้ังแต่
พ.ศ. 2400 พบว่าปี พ.ศ. 2548 เปน็ ปีทร่ี อ้ นที่สุด รอ้ นกว่าสถิติรอ้ นสดุ ที่บันทึกได้เม่ือ พ.ศ. 2541 เล็กน้อย
แต่การประมาณที่ทาโดยองค์การอุตุนิยมโลก (World Meteorological Organization) และหน่วยวิจัย
ภูมิอากาศสรปุ ว่า พ.ศ. 2548 รอ้ นรองลงมาจาก พ.ศ. 2541

การปลดปล่อยมลพิษจากการกระทาของของมนุษย์ท่ีเด่นชัดอีกอย่างหน่ึงได้แก่ “ละอองลอย"
ซัลเฟต ซ่ึงสามารถเพ่ิมผลการลดอุณหภูมิโดยการสะท้อนแสงอาทิตย์กลับออกไปจากโลก สังเกตได้จากการ
บันทึกอุณหภูมิท่ีเย็นลงในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) แม้การเย็นลงนี้อาจ
เป็นส่วนหนึ่งของการผันแปรของธรรมชาติ เจมส์ เฮนสันและคณะได้เสนอว่าผลของการเผาไหม้เชื้อเพลิงซาก

7

ดึกดาบรรพ์คือ CO2 และละอองลอยจะหักล้างกันเป็นส่วนใหญ่ ทาให้การร้อนข้ึนในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่าน
มาเกิดจากแกส๊ เรอื นกระจกท่ีไม่ใช่ CO2

นักภูมิอากาศบรรพกาลวิทยา (Paleoclimatologist) วิลเลียม รัดดิแมนได้โต้แย้งว่าอิทธิพลของ
มนุษย์ท่มี ีต่อภมู ิอากาศโลกเรม่ิ มาตงั้ แตป่ ระมาณ 8,000 ปกี อ่ น เร่ิมด้วยการเปิดป่าเพ่ือทากินทางเกษตร และ
เมื่อ 5,000 ปีท่ีแล้ว ด้วยการทาการชลประทานเพื่อปลูกข้าวในเอเซีย[48] การแปลความหมายของรูดิแมน
จากบนั ทกึ ทางประวตั ศิ าสตร์ขัดแยง้ กบั ข้อมลู แก๊สมเี ทน

ตวั แปรภมู ิอำกำศกอ่ นยุคมนุษย์

เส้นโค้งของอุณหภูมิที่สร้างขึ้นใหม่ ณ ท่ีสองจุดในแอนตาร์กติกและบันทึกการผันแปรของโลกใน
ก้อนภเู ขาน้าแขง็ วันที่ของเวลาปัจจุบันปรากฏทด่ี ้านล่างซา้ ยของกราฟ

โลกไดป้ ระสบกบั การร้อนและเย็นมาแลว้ หลายคร้งั ในอดีต แท่งแกนนา้ แข็งแอนตารก์ ติกเมื่อเร็ว ๆ นี้
ของ EPICA ครอบคลมุ ช่วงเวลาไว้ 800,000 ปี รวมวัฏจักรยุคน้าแข็งได้ 8 ครั้ง ซ่งึ นับเวลาโดยการใช้ตัวแปร
วงโคจรของโลกและช่วงอบอุ่นระหวา่ งยุคน้าแขง็ มาเปรยี บเทียบกบั อุณหภูมใิ นปัจจบุ นั

การเพ่ิมอย่างรวดเร็วของแก๊สเรือนกระจกเพิ่มการร้อนข้ึนในยุคจูแรสซิกตอนต้น (ประมาณ 180
ล้านปีก่อน) โดยมีอุณหภูมิเฉล่ียสูงขึ้น 5 องศาเซลเซียส งานวิจัยโดยมหาวิทยาลัยเปิดบ่งช้ีว่าการร้อนขึ้นเกิด
ทาใหอ้ ัตราการกร่อนของหินเพิ่มมากถึง 400% การกร่อนของหินในลักษณะน้ีทาให้เกิดการกักคาร์บอนไว้ใน
แคลไซตแ์ ละโดโลไมตไ์ วไ้ ดม้ าก ระดบั ของ CO2 ได้ตกลงสู่ระดับปกติมาไดอ้ กี ประมาณ 150,000 ปี

การปลดปล่อยมีเทนโดยกะทันหันจากสารประกอบคลาเทรท (clathrate gun hypothesis) ได้
กลายเป็นสมมุติฐานว่าเป็นทั้งต้นเหตุและผลของการเพิ่มอุณหภูมิโลกในระยะเวลาท่ีนานมากมาแล้ว รวมท้ัง
“เหตุการณ์สูญพันธ์ุเพอร์เมียน-ไทรแอสซิก” (Permian-Triassic extinction event –ประมาณ 251 ล้านปี
มาแล้ว) รวมท้ังการร้อนมากสุดพาลีโอซีน-อีโอซีน (Paleocene-Eocene Thermal Maximum –ประมาณ
55 ลา้ นปมี าแล้ว)

แบบจำลองภมู อิ ำกำศ

การคานวณภาวะโลกร้อนท่ีทาข้ึนก่อน พ.ศ. 2544 จากแบบจาลองต่าง ๆ ท่ีหลากหลายแบบ
ภายใต้เหตกุ ารณจ์ าลองการปลดปล่อย A2 ของ SRES ดว้ ยสมมุติฐานวา่ ไมม่ มี าตรการลดการปลดปลอ่ ยเลย
การกระจายการร้อนของผิวโลกทางภูมิศาสตร์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544 – 2553) คานวณ
โดยแบบจาลองภูมิอากาศ (HadCM3) โดยต้ังสมมุติฐานสถานการณ์จาลองว่าไม่ทาอะไร ปล่อยให้การเติบโต
ทางเศรษฐกิจและการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกเป็นไปตามปกติ ในภาพนี้ จะเห็นการเพิ่มอุณหภูมิจะอยู่ท่ี
3.0 องศาเซลเซียส

8

บันทึกกระจายเบาบางเหล่านี้แสดงให้เห็นการถดถอยภูเขาน้าแข็ง ที่กาลังเป็นมาตั้งแต่ประมาณ
พ.ศ. 2450 ประมาณปี พ.ศ. 2495 – พ.ศ. 2502 การวัดที่ได้เร่ิมขึ้นในช่วงช่วยให้สามารถเฝ้ามองความ
สมดลุ ก้อนภูเขานา้ แข็งได้ รายงานถึง WGMS และ NSIDC

นกั วิทยาศาสตร์ไดศ้ กึ ษาภาวะโลกร้อนด้วยแบบจาลองคอมพิวเตอร์สาหรับภูมิอากาศ แบบจาลองนี้
ใช้หลักการพื้นฐานของพลศาสตร์ของไหล การถ่ายโอนการแผ่รังสี (radiative transfer) และกระบวนการอ่ืน
ๆ โดยต้องทาให้ง่ายขึ้นเนื่องจากขีดจากัดของกาลังของคอมพิวเตอร์และความซับซ้อนของระบบภูมิอากาศ
แบบจาลองน้พี ยากรณ์ได้ว่าผลของการเพ่ิมแก๊สเรือนกระจกเพิ่มความร้อนแก่ภูมิอากาศจริง[53] แต่อย่างไรก็
ดี เมื่อใช้สมมุติฐานเดียวกันนี้กับอัตราแก๊สเรือนกระจกในอนาคต ก็ยังปรากฏให้เห็นถึงอัตราความไวของ
ภมู ิอากาศ (climate sensitivity) ท่มี ีช่วงกวา้ งมากอยู่

เม่ือรวมความไม่แน่นอนของการเข้มข้นของแก๊สเรือนกระจกในอนาคตเข้ากับแบบจาลองภูมิอากาศ
แล้ว IPCC คาดว่าเมอื่ สนิ้ ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 21 (พ.ศ. 2643) อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพ่ิมระหว่าง 1.1 องศา
เซลเซียส ถึง 6.4 องศาเซลเซียส เทียบได้กับการเพ่ิมระหว่าง พ.ศ. 2523 – พ.ศ. 2542 ได้มีการใช้
แบบจาลองมาชว่ ยในการสบื คน้ หา “สาเหตขุ องการเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศเมื่อเร็ว ๆ น้ี” โดยการเปรียบเทียบ
ผลการคาดคะเนท่ีได้จากแบบจาลองกับผลการสังเกตการเปลี่ยนแปลงท่ีเป็นไปตามธรรมชาติและท่ีเปล่ียน
เน่ืองมาจากกิจกรรมมนษุ ย์

แบบจาลองภูมิอากาศในปัจจุบันให้ผลค่อนข้างดีจากการเปรียบเทียบกับการสังเกตการณ์การ
เปล่ียนแปลงอุณหภูมิของโลกในช่วงศตวรรษท่ีผ่านมา แต่ก็ไม่สามารถจาลองรูปแบบต่าง ๆ ของภูมิอากาศได้
หมด แบบจาลองเหลา่ น้ีไม่สามารถอธิบายความผันแปรของภูมิอากาศท่ีเกิดขึ้นระหว่างประมาณ พ.ศ. 2453
– พ.ศ. 2488 ได้กระจ่าง ท้ังด้านการเปลยี่ นแปลงตามธรรมชาติและจากฝมี ือมนุษย์ อย่างไรก็ดี แบบจาลองก็
ไดแ้ นะใหเ้ ห็นไดว้ า่ การร้อนข้ึนต้ังแต่ปี พ.ศ. 2518 เป็นต้นมาเกิดจากการแผ่ขยายของแก๊สเรือนกระจกที่มา
จากกจิ กรรมมนุษย์

แบบจาลองภูมิอากาศโลกเพื่อใช้คาดคะเนภูมิอากาศในอนาคตส่วนใหญ่ จะบังคับให้ใส่เหตุการณ์
จาลองแก๊สเรือนกระจกเข้าไปด้วย เน่ืองจากอ้างอิงตามรายงานพิเศษว่าด้วยเหตุการณ์จาลองการปลดปล่อย
(SRES: Special Report on Emissions Scenarios) ของ IPCC แบบจาลองบางส่วนอาจทาโดยรวมเอาการ
จาลองวัฏจักรของคาร์บอนเข้ามาด้วย ซ่ึงโดยท่ัวไปจะได้ผลตอบกลับท่ีดี แม้การตอบสนองจะไม่ค่อยแน่นอน
นัก (ภายใต้สถานการณ์จาลอง A2 SRES จะให้ผลการตอบสนองของ CO2 แปรค่าเพ่ิมข้ึนระหว่าง 20 ถึง
200 ppm) การศึกษาแบบสังเกตการณ์บางชิน้ กแ็ สดงการป้อนกลบั ออกมาค่อนข้างดี

เมฆในแบบจาลอง นับเป็นต้นเหตุหลักของความไม่แน่นอนที่ใช้ในปัจจุบัน แม้จะมีความก้าวหน้าใน
การแก้ปัญหานี้มากอยู่แล้วก็ตาม ขณะนี้ยังคงมีการอภิปรายถกเถียงกันอยู่ว่าแบบจาลองภูมิอากาศได้ละเลย
ผลป้อนกลับทางอ้อมทส่ี าคญั และผลป้อนกลับของตัวแปรสรุ ยิ ะไปหรือไม่

9

ผลกระทบทีเ่ กดิ ขน้ึ และคำดว่ำจะเกิด

แม้การเชื่อมโยงสภาวะภูมิอากาศแบบจาเพาะบางอย่างเข้ากับภาวะโลกร้อนจะทาได้ยาก แต่
อณุ หภูมิโดยรวมของโลกที่เพ่มิ ขึ้นอาจเป็นเหตุใหเ้ กิดผลกระทบในวงกว้าง ซึ่งรวมถึงการถดถอยของธารน้าแข็ง
(glacial retreat) การลดขนาดของอาร์กติก (Arctic shrinkage) และระดับน้าทะเลของโลกสูงขึ้น การ
เปล่ยี นแปลงของหยาดน้าฟ้าท้ังปริมาณและรูปแบบอาจทาให้เกิดน้าท่วมและความแห้งแล้ง นอกจากน้ียังเกิด
การเปลี่ยนแปลงท้ังความถี่และความรุนแรงของลมฟ้าอากาศสุดโต่ง (extreme weather) ที่เกิดบ่อยครั้งขึ้น
ผลแบบอ่ืน ๆ ก็ยังมีอีกเช่นการเปลี่ยนแปลงปริมาณผลิตผลทางเกษตร การเปล่ียนแปลงของร่องน้า การลด
ปรมิ าณน้าลาธารในฤดูรอ้ น การสูญพนั ธขุ์ องสิ่งมีชีวติ บางชนิดและการเพิ่มของพาหะนาโรค

ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมธรรมชาติและต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์ แม้จะเพียงเล็กน้อย ก็นับว่า
เปน็ ผลสว่ นหนึง่ จากภาวะโลกร้อน รายงานฉบับหนึ่งของ IPCC เม่ือปี พ.ศ. 2544 แจ้งว่าการถดถอยของธาร
นา้ แข็ง การพงั ทลายของช้นั นา้ แข็งดังเช่นที่ช้ันน้าแข็งลาร์เสน การเพ่ิมระดับน้าทะเล การเปล่ียนรูปแบบพื้นท่ี
ฝนตก และการเกิดลมฟ้าอากาศสดุ โตง่ ที่รนุ แรงข้นึ และถข่ี นึ้ เหลา่ นี้นบั เปน็ ผลสืบเน่ืองจากภาวะโลกร้อนทั้งสิ้น
แมจ้ ะมีการคาดการณ์ถึงการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ท้ังด้านรูปแบบท่ีเกิด ความแรงและความถี่ที่เกิด แต่การระบุ
ถึงสภาวะทีอ่ าจเกิดขึ้นจากภาวะโลกร้อนอย่างเฉพาะเจาะจงก็ยังเป็นไปได้ยาก ผลท่ีคาดคะเนอีกประการหนึ่ง
ได้แก่การขาดแคลนน้าในบางภูมิภาค และการเพ่ิมปริมาณหยาดน้าฟ้าในอีกแห่งหนึ่ง หรือการเปล่ียนแปลง
ปรมิ าณหมิ ะบนภูเขา รวมถึงสุขภาพทเี่ สื่อมลงเนือ่ งจากอุณหภมู โิ ลกที่เพ่ิมขึ้น

การเสียชีวิตเพ่ิมขึ้น การแก่งแย่งที่อยู่อาศัย และความเสียหายทางเศรษฐกิจอันเน่ืองมาจากลมฟ้า
อากาศสุดโต่งทเ่ี กิดจากภาวะโลกร้อน อาจย่ิงแย่หนักข้ึนจากการเพิ่มความหนาแน่นของประชากรในภูมิภาคที่
ได้รับผลกระทบ แม้ในเขตอบอุ่นผลการคาดคะเนบ่งว่าจะได้รับประโยชน์จากภาวะโลกร้อนบ้าง เช่นมีการ
เสียชีวิตจากความหนาวเย็นลดน้อยลง บทสรุปของผลกระทบที่เป็นไปได้และความเข้าใจล่าสุดปรากฏใน
รายงานผลการประเมินฉบับที่ 3 ของ IPPC โดยกลุ่มทางานคณะท่ี 2 (IPCC Third Assessment Report),
สรุปรายงานการประเมินผลกระทบฉบับที่ 4 (IPCC Fourth Assessment Report) ที่ใหม่กว่าของ IPCC
รายงานว่ามีหลักฐานที่สังเกตเห็นได้ของพายุหมุนเขตร้อนท่ีรุนแรงมากข้ึนในเขตมหาสมุทรแอตแลนติกตอน
เหนือตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2513 ซึ่งสัมพันธ์กับการเพิ่มอุณหภูมิของผิวน้าทะเล ทว่าการตรวจจับเพื่อดู
แนวโน้มในระยะยาวมีความยุ่งยากซับซ้อนมากเนื่องจากคุณภาพของข้อมูลที่ได้จากการเก็บตามปกติของการ
สงั เกตการณ์โดยดาวเทียม บทสรุประบุว่ายังไม่มีแนวโน้มท่ีเห็นได้โดยชัดเจนในการประมาณจานวนพายุหมุน
เขตร้อนโดยรวมของทั้งโลก

ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอีก ได้แก่การเพิ่มระดับน้าทะเลจาก 110 มิลลิเมตรไปเป็น 770
มลิ ลเิ มตร ระหว่างชว่ งปี พ.ศ. 2533 ถึง พ.ศ. 2643 ผลกระทบตอ่ เกษตรกรรมที่เพ่ิมมากข้ึน, การหมุนเวียน
กระแสน้าอุ่นท่ีช้าลงหรืออาจหยุดลง, การลดลงของช้ันโอโซน, การเกิดพายุเฮอร์ริเคนและเหตุการณ์ลมฟ้า
อากาศสุดโต่งท่ีรุนแรงมากขึ้น, ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้าทะเลลดลง และการแพร่ระบาดของโรคต่าง ๆ
เช่น มาลาเรียและไข้เลือดออก การศกึ ษาช้ินหน่งึ ทานายวา่ จะมสี ตั ว์และพืชจากตัวอย่าง 1,103 ชนิดสูญพันธ์ุ
ไประหวา่ ง 18% ถึง 35% ภายใน พ.ศ. 2593 ตามผลการคาดคะเนภูมิอากาศ อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษา

10

อยา่ งเปน็ รูปธรรมเกี่ยวกับการสูญพนั ธอ์ุ ันเนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศในช่วงท่ีผ่านมายังมีน้อยมาก
และหนง่ึ ในงานวจิ ัยเหลา่ นรี้ ะบวุ า่ อตั ราการสูญพนั ธุท์ ่คี าดการณ์กนั ไวน้ ย้ี งั มคี วามไม่แน่นอนสูง

เศรษฐกจิ
นกั เศรษฐศาสตร์บางคนพยายามท่ีจะประมาณคา่ ความเสียหายรวมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ

ภมู อิ ากาศทั่วโลก การประมาณค่าดงั กล่าวยงั ไมส่ ามารถไปถึงข้อสรุปที่ชัดเจนได้ ในการสารวจการประมาณค่า
100 คร้ัง มูลค่าความเสียหายเร่ิมต้ังแต่ 10 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อคาร์บอนหนึ่งตัน (tC) (หรือ 3 ดอลลาร์สหรัฐ
ต่อคาร์บอนไดออกไซด์หนึ่งตัน) ไปจนถึง 350 เหรียญฯ ต่อคาร์บอนหน่ึงตัน (หรือ 95 เหรียญฯ ต่อ
คาร์บอนไดออกไซด์หนึ่งตัน) โดยมีค่ากลางอยู่ท่ี 43 เหรียญฯ ต่อคาร์บอนหน่ึงตัน (12 เหรียญฯ ต่อ
คารบ์ อนไดออกไซด์หนึ่งตนั ) รายงานทต่ี พี มิ พ์แพร่หลายมากช้ินหน่ึงเก่ียวกับความเป็นไปได้ของผลกระทบทาง
เศรษฐกจิ คอื “สเติร์นรีวิว” ไดแ้ นะว่าภาวะลมฟา้ อากาศสดุ โต่งอาจลดผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศของโลกลง
ได้ถึง 1% และในกรณีสถานการณ์จาลองที่แย่ท่ีสุดคือค่าการบริโภครายบุคคลของโลก (global per capita
consumption) อาจลดลงถึง 20% วิธีวิจัยของรายงาน ข้อแนะนาและข้อสรุปถูกวิพากษ์วิจารณ์โดยนัก
เศรษฐศาสตรท์ ่านอื่นหลายคน ซ่งึ สว่ นใหญ่กล่าวถงึ สมมุตฐิ านการสอบทานของการให้ค่าส่วนลดและการเลือก
เหตุการณ์จาลอง ในขณะที่คนอ่ืน ๆ สนับสนุนความพยายามในการแจกแจงความเสี่ยงทางเศรษฐกิจแม้จะ
ไม่ไดต้ ัวเลขทถี่ ูกต้องออกมากต็ าม

ในข้อสรุปค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจท่ีเก่ียวข้องกับการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ โครงการ
สิ่งแวดล้อมสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme) ให้ความสาคัญกับความเสี่ยงของ
ผู้ประกัน ผู้ประกันใหม่และธนาคารเกี่ยวกับความเสียหายจากสถานการณ์ลมฟ้าอากาศท่ีเพิ่มมากข้ึน ในภาค
เศรษฐกิจอื่นก็มีทีท่าที่จะประสบความยากลาบากเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ รวมทั้งการเกษตร
กรรมและการขนส่งซง่ึ ตกอยู่ในภาวะการเส่ียงเป็นอย่างมากทางเศรษฐกิจ

ควำมมนั่ คง
เม่ือเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2550 ศูนย์เพื่อยุทธศาสตร์และนานาชาติศึกษา (Center for

Strategic and International Studies) และ ศูนย์เพ่ือความมั่นคงใหม่ของอเมริกา (Center for a New
American Security) ได้ตีพิมพ์รายงานเน้นผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศท่ีมีต่อความม่ันคงของ
ชาติ[72] ผลกระทบต่อความมั่นคงดังกล่าวรวมถึงการเพ่ิมการแข่งขันทางทรัพยากรระหว่างประเทศ การ
อพยพของผู้คนจานวนมหาศาลจากพน้ื ที่ท่ไี ดร้ บั ผลกระทบหนักสุด ความท้าทายต่อการรวมตัวกันของประเทศ
สาคัญทเี่ น่ืองมาจากระดับนา้ ทะเลทส่ี งู ขึน้ และจากผลกระทบต่อเนื่องของปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าว ความเส่ียงต่อ
การใช้อาวุธในการสูร้ บกนั รวมทงั้ ความเสย่ี งจากความขดั แยง้ ทางอาวุธนิวเคลียร์

11

กำรปรับตวั และกำรบรรเทำ

การที่นักวิทยาศาสตร์ด้านภูมิอากาศเห็นพ้องต้องกันว่าอุณหภูมิของโลกจะร้อนข้ึนอย่างต่อเนื่อง มี
ผลทาให้ชาติต่าง ๆ บริษัทและบุคคลต่าง ๆ จานวนมากเริ่มลงมือปฏิบัติเพ่ือหยุดการร้อนข้ึนของโลกหรือหา
วธิ ีแกไ้ ขอยา่ งจรงิ จัง นักสงิ่ แวดลอ้ มหลายกลุ่มสนับสนุนให้มีปฏิบัติการต่อสู้กับภาวะโลกร้อน มีหลายกลุ่มท่ีทา
โดยผู้บริโภค รวมท้ังชุมชนและองค์การในภูมิภาคต่าง ๆ มีการแนะนาว่าให้มีการกาหนดโควตาการผลิต
เช้ือเพลงิ ฟอสซิล โดยอา้ งวา่ การผลติ มคี วามสมั พนั ธโ์ ดยตรงกับการปลดปล่อย CO2

ในภาคธุรกิจกม็ ีแผนปฏบิ ัตกิ ารเพ่ือตอบสนองภาวะการเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศด้วยเช่นกัน ซ่ึงรวมถึง
ความพยายามเพ่ิมประสิทธิภาพด้านพลังงานและการมุ่งใช้พลังงานทางเลือก นวัตกรรมสาคัญช้ินหนึ่งได้แก่
การพัฒนาระบบการซ้ือแลกการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจก (Emissions trading) โดยบริษัทกับรัฐบาล
ร่วมกันทาความตกลงเพื่อลดหรือเลิกการปล่อยแก๊สเรือนกระจกให้อยู่ในจานวนท่ีกาหนดหรือมิฉะน้ันก็ใช้วิธี
“ซอื้ เครดติ ” จากบรษิ ัทอ่ืนท่ีปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกต่ากว่าปริมาณกาหนด

ข้อตกลงแรก ๆ ของโลกว่าด้วยการต่อสู้เพ่ือลดแก๊สเรือนกระจกคือ “พิธีสารเกียวโต” ซ่ึงเป็นการ
แกไ้ ข “กรอบงานการประชมุ ใหญ่ของสหประชาชาติว่าด้วยการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศ” (UNFCCC) ซ่ึงเจรจา
ต่อรองและตกลงกนั เมอ่ื พ.ศ. 2540 ปัจจุบันพิธีสารดังกล่าวครอบคลุมประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลกมากกว่า 160
ประเทศและรวมปริมาณการปลดปล่อยแกส๊ เรอื นกระจกมากกว่า 65% ของทั้งโลก[75] มีเพียงสหรัฐอเมริกา
และคาซัคสถานสองประเทศทีย่ ังไมใ่ หส้ ตั ยาบัน สหรฐั อเมริกาเป็นประเทศทป่ี ลอ่ ยแก๊สเรือนกระจกมากที่สุดใน
โลก สนธสิ ัญญานจี้ ะหมดอายุในปี พ.ศ. 2555 และไดม้ กี ารเจรจาระหว่างชาติที่เริ่มเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.
2550 เพอ่ื รา่ งสนธิสัญญาในอนาคตเพื่อใชแ้ ทนฉบับปจั จบุ ัน

ประธานาธิบดี จอร์จ ดับเบิลยู. บุช อ้างว่าพิธีสารเกียวโตไม่ยุติธรรมและวิธีที่ใช้นั้นไม่ได้ผลในการ
ต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก ประเทศสหรัฐฯ จะได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรง
เพราะยังมีการยกเว้นใหป้ ระเทศอื่น ๆ ในโลกมากกว่า 80% ของประเทศท่ีลงนามรวมท้ังหมด ประเทศที่เป็น
ศนู ย์รวมประชากรทใี่ หญ่ที่สดุ ในโลกคือ จีน และ อนิ เดยี แตก่ ระน้ัน ก็ยังมีรัฐและรัฐบาลท้องถ่ินจานวนมากใน
สหรฐั ฯ ทร่ี ิเร่มิ โครงการรณรงค์วางแนวปฏิบัติของตนเองให้เป็นไปตามพิธีสารเกียวโต ตัวอย่างเช่น “การริเริ่ม
แก๊สเรือนกระจกภูมิภาค” ซ่ึงเป็นโปรแกรมการหยุดและซื้อเครดิตการปล่อยแก๊สเรือนกระจกระดับรัฐซ่ึง
ประกอบด้วยรฐั ตา่ ง ๆ ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของสหรัฐฯ จัดตั้งเม่ือวันที่ 20 ธนั วาคม พ.ศ. 2548
แมจ้ นี และอินเดียจะได้รับการยกเวน้ ในฐานะของประเทศกาลังพัฒนา แต่ทั้งสองประเทศก็ได้ให้สัตยาบันในพิธี
สารเกียวโตแล้ว ขณะนี้ จีนอาจปล่อยแก๊สเรือนกระจกรวมต่อปีในปริมาณแซงสหรัฐฯ ไปแล้ว ตามผล
การศึกษาเมื่อเร็ว ๆ นี้ นายกรัฐมนตรีเหวิน เจียเป่าได้เรียกร้องให้ลดการปลดปล่อยเป็นสองเท่าเพื่อต่อสู้กับ
ปัญหามลพิษและภาวะโลกร้อน

คณะทางานกล่มุ ท่ี 3 ของ IPCC รับผิดชอบตอ่ การทารายงานเก่ียวกับการบรรเทาภาวะโลกร้อนและ
วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลดีของแนวทางต่าง ๆ เม่ือ พ.ศ. 2550 ในรายงานผลการประเมินของ IPCC ได้
สรปุ ว่าไม่มเี ทคโนโลยีใดเพียงหนึ่งเดียวท่ีสามารถรับผิดชอบแผนบรรเทาการร้อนขึ้นของบรรยากาศในอนาคต
ได้ท้งั หมด พวกเขาพบว่ามีแนวปฏิบัติท่ีสาคัญและเทคโนโลยีหลายอย่างในหลาย ๆ อุตสาหกรรม เช่น การส่ง

12

จ่ายพลังงาน การขนสง่ การอตุ สาหกรรม และการเกษตรกรรม ที่ควรนามาใช้เพื่อลดการปลดปล่อยแก๊สเรือน
กระจก ในรายงานประเมินว่า “การเทียบเท่าคาร์บอนไดออกไซด์” (Carbon dioxide equivalent: CDE) ใน
ภาวะเสถยี รระหวา่ ง 445 และ 710 สว่ นในล้านส่วนในปี พ.ศ. 2573 จะทาให้ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (GDP)
ของโลกแปรอยู่ระหว่างการเพมิ่ ขน้ึ 0.6% และลดลง 3%

กำรอภปิ รำยทำงสงั คมและกำรเมอื ง

ชว่ งหลายปที ี่ผา่ นมา การรับรู้และทัศนคติของสาธารณชนในความห่วงใยต่อสาเหตุและความสาคัญ
ของภาวะโลกร้อนได้เปล่ียนแปลงไปมาก การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ด้านต่าง ๆ เก่ียวกับภาวะโลกร้อนท่ีเพ่ิม
มากข้ึนทาให้สาธารณชนเร่ิมตระหนักและมีการอภิปรายทางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างกว้างขวาง ประเทศ
ในภูมิภาคต่าง ๆ ที่ยากจน โดยเฉพาะแถบแอฟริกาดูเหมือนจะมีความเส่ียงมากในการได้รับผลกระทบจาก
ภาวะโลกร้อน ท้ังท่ีตนเองปล่อยแก๊สเรือนกระจกออกมาน้อยมากเมื่อเทียบกับประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ใน
ขณะเดียวกนั ประเทศกาลังพัฒนาท่ีได้รับการยกเว้นการปฏิบัติตามพิธีสารเกียวโตก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์มากจาก
ประเทศสหรัฐและออสเตรเลีย และทาให้สหรัฐฯ นามาอ้างเป็นส่วนหน่ึงของเหตุผลท่ียังไม่ยอมให้สัตยาบันใน
พิธีสารดังกล่าว[83] ในโลกตะวันตก แนวคิดที่ว่ามนุษย์มีส่วนสาคัญท่ีทาให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้รับการ
ยอมรับอย่างกว้างขวางในยโุ รปมากกว่าในสหรัฐฯ

ประเดน็ ปญั หาการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศได้จุดประกายให้เกิดการอภิปรายเพ่ือชั่งน้าหนักผลดีจาก
การจากัดการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกทางอุตสาหกรรมและแก๊สเรือนกระจกกับค่าใช้จ่ายของการจากัด
ดงั กล่าวท่ีจะเกิดข้ึน ได้มีการถกเถียงกันในหลายประเทศเกี่ยวกับประโยชน์ท่ีจะได้รับกับค่าใช้จ่ายท่ีจะเกิดขึ้น
จากการรับเอาพลงั งานทางเลือกชนดิ ตา่ ง ๆ ที่นามาใช้เพื่อลดการปลดปล่อยคาร์บอน องค์การและบริษัท เช่น
"สถาบันวิสาหกิจการแข่งขัน" (Competitive Enterprise Institute) และเอกซ์ซอนโมบิล (ExxonMobil) ได้
เน้นสถานการณ์จาลองการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศเชิงอนุรักษนิยม ในขณะเดียวกันก็เน้นให้เห็นแนวโน้ม
คา่ ใช้จ่ายทางเศรษฐกิจของการควบคุมที่เข้มงวดเกินไป ในทานองเดียวกันก็มีการเจรจาทางส่ิงแวดล้อมหลาย
ฝา่ ย และผมู้ ีบทบาทเด่นในสาธารณะหลายคนพากันรณรงค์ให้เห็นถึงแนวโน้มความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลง
ของภูมิอากาศและเสนอให้มีมาตรการควบคุมท่ีเข้มงวดขึ้นให้เกิดการปฏิบัติอย่างจริงจัง บริษัทเช้ือเพลิง
ฟอสซิลบางแหง่ ได้เข้าร่วมโดยการลดขนาดกาลังเครื่องจักรของตนลงในรอบหลายปีท่ีผ่านมา หรือเรียกร้องให้
มีนโยบายลดภาวะโลกร้อน

อีกประเด็นหน่ึงท่ีอภิปรายกันก็คือ กลุ่มประเทศเศรษฐกิจพัฒนาใหม่ (newly developed
economies) เช่น อินเดียและจีนควรบังคับระดับการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกสักเท่าใด คาดกันว่าการ
ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์รวมของประเทศจีนจะสูงกว่าอัตราการปล่อยของสหรัฐฯ ภายในไม่กี่ปีข้างหน้านี้
และบางทีเหตุการณ์นั้นอาจเกิดข้ึนไปแล้วด้วยตามรายงานเมื่อ พ.ศ. 2549 แต่จีนยืนยันว่าตนมีข้อสัญญาใน
การลดการปลดปล่อยน้อยกว่าท่ีประมาณกัน เพราะเม่ือคิดอัตราการปล่อยต่อรายหัวแล้วประเทศของตนยังมี
อัตราน้อยกว่าสหรัฐฯ ถึงหนึ่งต่อห้า อินเดียซึ่งได้รับการยกเว้นจากข้อจากัดรวมทั้งแหล่งอุตสาหกรรมขนาด

13

ใหญ่อ่ืน ๆ หลายแห่งก็ได้ยืนยันอ้างสิทธิ์ในทานองเดียวกัน อย่างไรก็ดี สหรัฐฯ ได้ยืนยันต่อสู้ว่าถ้าตนจะต้อง
แบกรบั ภาระคา่ ใชจ้ ่ายในการลดการปลดปลอ่ ยแก๊สเรือนกระจก จีนก็ควรต้องรบั ภาระนดี้ ว้ ย

ประเดน็ ปัญหำภูมิอำกำศทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

มีประเด็นปัญหาอ่ืน ๆ อีกมากที่ยกขึ้นมาว่าเกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน หนึ่งในนั้นคือการเป็นกรด
ของมหาสมุทร (ocean acidification) การเพ่ิม CO2 ในบรรยากาศเป็นการเพ่ิม CO2 ที่ละลายในน้าทะเล
[97] CO2 ท่ีละลายในน้าทะเลทาปฏิกิริยากับน้ากลายเป็นกรดคาร์บอนิก ซึ่งทาให้มหาสมุทรมีความเป็นกรด
มากขน้ึ ผลการศึกษาประเมนิ ว่า คา่ pH ที่ผิวทะเลเมอื่ คร้ังเร่ิมยุคอุตสาหกรรมมีค่า 8.25 และได้ลดลงมาเป็น
8.14 ในปี พ.ศ. 2547 คาดว่าค่า pH จะลดลงอีกอย่างน้อย 0.14 ถึง 0.5 หน่วย ภายในปี พ.ศ. 2643
เน่ืองจากมหาสมุทรดูดซับ CO2 มากข้ึน ทว่าส่ิงมีชีวิตจุลชีพและระบบนิเวศจะดารงอยู่ได้ในช่วง pH แคบ ๆ
ปรากฏการณน์ จี้ งึ อาจทาใหเ้ กดิ ปัญหาการสญู พนั ธุ์ อนั เป็นผลโดยตรงจากการเพ่ิมปริมาณ CO2 ในบรรยากาศ
ผลกระทบท่ีตามมาก็คือห่วงโซ่อาหารจะมีการเปล่ียนแปลง ซึ่งอาจส่งผลโดยตรงต่อสังคมมนุษย์ที่ต้องพ่ึงพา
ระบบนิเวศทางทะเลอยมู่ าก

“โลกหร่ีลง” (Global dimming) หรือการค่อย ๆ ลดลงของความรับอาบรังสี (irradiance) ที่ผิว
ของโลกอาจมีส่วนในการบรรเทาภาวะโลกร้อนในช่วงหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2490
เป็นตน้ มา) จากปี พ.ศ. 2503 – พ.ศ. 2533 ละอองลอยที่เป็นกิจกรรมของมนุษย์มีส่วนทาให้เกิดผลกระทบ
นี้ นกั วิทยาศาสตร์ไดแ้ ถลงดว้ ยความมั่นใจ 66-90% วา่ ละอองลอยโดยมนุษย์ร่วมกับผลของภูเขาไฟมีส่วนทา
ให้ภาวะโลกร้อนลดลงบางส่วน และว่าแก๊สเรือนกระจกน่าจะทาให้โลกร้อนมากกว่าที่สังเกตได้ถ้าไม่มีปัจจัย
โลกหร่ลี ง มาชว่ ย

การลดลงของโอโซน (Ozone depletion) การท่ีปริมาณรวมของโอโซนในบรรยากาศช้ันสตราโตส
เฟียร์ลดลงอย่างสม่าเสมอถูกระบุว่าเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อนอยู่บ่อยครั้ง ถึงแม้ว่าจะมีความเช่ือมโยงกัน
อยจู่ ริง แต่ความเก่ยี วขอ้ งระหว่างปรากฏการณท์ งั้ สองนกี้ ย็ ังไมห่ นักแนน่ พอ

14

80 วิธีหยดุ โลกร้อน

รายงานฉบับล่าสุดของคณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิ อากาศ
หรือ ไอพีซีซี (Intergovernment Panel on Climate Change : IPCC) ซ่ึงเป็นรายงานท่ีรวบรวมงานวิจัย
ของนักวิทยาศาสตร์ 2,500 คน จากกว่า 30 ประเทศ และใช้เวลาในการวิจัยถึง 6 ปี ระบุไว้ว่า มีความ
เป็นไปได้อย่างน้อย 90% ท่ีการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และมนุษย์ถือได้ว่า
เปน็ ตวั การสาคญั ของปัญหาโลกรอ้ นในคร้งั น้ี
กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม จึงได้จัดทาคู่มือ 80 วิธีหยุด
โลกรอ้ นข้นึ มา เพ่อื แจกจา่ ยให้กับประชาชนทว่ั ไป เนอ่ื งในวันส่งิ แวดลอ้ มโลก ประจาปี 2550 นี้
ไม่วา่ ใครกส็ ามารถชว่ ยลดความร้อนให้กับโลกได้ตัง้ 80 ชอ่ งทาง…

ประชำชนทว่ั ไป
1.ลดการใช้พลังงานในบ้านด้วยการปิดทีวี คอมพิวเตอร์ เคร่ืองเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อ

ไมไ่ ด้ใช้งาน จะชว่ ยลดคารบ์ อนไดออกไซด์ได้นบั 1 พันปอนด์ต่อปี
2.ลดการสูญเสียพลังงานในโหมดสแตนด์บาย เครื่องเสียงระบบไฮไฟ โทรทัศน์ เคร่ืองบันทึกวิดีโอ

คอมพิวเตอรต์ ้ังโต๊ะและอปุ กรณ์พ่วงตา่ งๆ ท่ีติดมาดว้ ยการดึงปลั๊กออก หรอื ใช้ปลก๊ั เสยี บพ่วงทีต่ ดั ไฟด้วยตวั เอง
3.เปลี่ยนหลอดไฟ เป็นหลอดไฟประหยัดพลังงานแบบขดท่ีเรียกว่า Compact Fluorescent

Lightbulb (CFL) เพราะจะกินไฟเพยี ง 1 ใน 4 ของหลอดไฟเดิม และมีอายุการใชง้ านได้นานกวา่ หลายปมี าก
4.เปล่ียนไปใช้ไฟแบบหลอด LED จะได้ไฟท่ีสว่างกว่าและประหยัดกว่าหลอดปกติ 40% สามารถ

หาซ้อื หลอดไฟ LED ที่ใชส้ าหรบั โคมไฟตัง้ โตะ๊ และต้ังพ้นื ได้ด้วย จะเหมาะกบั การใชง้ านทต่ี ้องการให้มีแสงสว่าง
สอ่ งทาง เชน่ รมิ ถนนหน้าบ้าน การเปลยี่ นหลอดไฟจากหลอดไส้จะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 150 ปอนด์
ตอ่ ปี

5.ช่วยกันออกความเห็นหรือรณรงค์ให้รัฐบาลพิจารณาข้อดีข้อเสียของการเรียก เก็บภาษีคาร์บอน
กับภาคการผลิต ตามอัตราการใช้ไฟฟ้าที่ผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิลรูปแบบต่างๆ หรือการใช้ก๊าซโซลีน เป็น
รูปแบบการใช้ภาษีทางตรงที่เชื่อว่า หากโรงงานต้องจ่ายค่าภาษีแพงข้ึนก็จะลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลใน
กระบวนการ ผลติ ลง ซ่ึงจะชว่ ยลดปรมิ าณการปล่อย CO2 ลงได้ประมาณ 5%

6.ขับรถยนต์ส่วนตัวให้น้อยลง ด้วยการป่ันจักรยาน ใช้รถโดยสารประจาทาง หรือใช้การเดินแทน
เม่ือต้องไปทากิจกรรมหรือธุระใกล้ๆ บ้าน เพราะการขับรถยนต์น้อยลง หมายถึงการใช้น้ามันลดลง และลด
การปล่อยคารบ์ อนไดออกไซด์ด้วย เพราะน้ามันทุกๆ แกลลอนที่ประหยัดได้ จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 20
ปอนด์

7.ไปร่วมกันประหยัดน้ามันแบบ Car Pool นัดเพ่ือนร่วมงานท่ีมีบ้านอาศัยใกล้ๆ น่ังรถยนต์ไป
ทางานด้วยกัน ช่วยประหยัดน้ามัน และยังเป็ นการลดจานวนรถติดบนถนน ช่วยลดการปล่อย
คาร์บอนไดออกไซดท์ างออ้ มด้วย

15

8.จัดเส้นทางรถรับส่งพนักงาน ถ้าในหน่วยงานมีพนักงานจานวนมากอาศัยอยู่ในเส้นทางใกล้ๆ กัน
ควรมีสวัสดิการจดั หารถรับส่งพนกั งานตามเส้นทางสาคัญๆ เป็น Car Pool ระดับองคก์ ร

9.เปิดหน้าต่างรับลมแทนเปิดเครื่องปรับอากาศ ลดการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้
ไฟฟา้ เพ่ือเปดิ เครอ่ื งปรับอากาศ

10.มองหาผลิตภัณฑ์ที่มีสัญลักษณ์ช่วยรักษาส่ิงแวดล้อม เช่น ป้ายฉลากเขียว ประหยัดไฟเบอร์ 5
มาตรฐานผลิตภัณฑ์คุณภาพสินค้าเกษตรอินทรีย์ เพราะการจะได้ใบรับรองนั้น จะต้องมีการประเมินสินค้า
ตัง้ แตเ่ ร่ิมตน้ หาวัตถดุ ิบ

11.ไปตลาดสดแทนซูเปอร์มาร์เก็ตบ้าง ซ้ือผัก ผลไม้ หมู ไก่ ปลา ในตลาดสดใกล้บ้าน แทนการช็
อปป้ิงในซเู ปอร์มารเ์ กต็ บ้าง ที่อาหารสดทกุ อย่างมกี ารหีบหอ่ ด้วยพลาสติกและโฟม ทาให้เกดิ ขยะจานวนมาก

12.เลือกซ้ือเลือกใช้ เมื่อต้องซื้อรถยนต์ใช้ในบ้าน หรือรถยนต์ประจาสานักงานก็หันมาเลือกซื้อรถ
ประหยัดพลงั งาน รวมท้ังเลือกอปุ กรณ์เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ท่มี ีฉลากประหยัดไฟ ทงั้ ในบา้ นและอาคารสานักงาน

13.เลือกซื้อรถยนต์ท่ีมีขนาดตามความจาเป็น โดยพิจารณาจากขนาดครอบครัวและประโยชน์การ
ใช้งาน รวมท้ังพิจารณาร่นุ ทเ่ี ป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ มมากท่สี ุด เพื่อเปรียบเทียบราคา

14.ไม่จาเป็นก็ไม่ต้องเลือกรถโฟว์วีลขับเคล่ือนแบบ 4 ล้อ เพราะกินน้ามันมาก และตะแกรงขน
สัมภาระบนหลงั คารถก็ไมใ่ ช่สงิ่ จาเป็น เพราะเป็นการเพ่ิมนา้ หนักรถใหเ้ ปลอื งน้ามนั

15.ขับรถอย่างมีประสิทธิภาพ ในระยะทางไกลการขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อ
ช่วั โมง จะช่วยลดการใชน้ า้ มันลงได้ 20% หรือคิดเป็นปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีลดได้ 1 ตันต่อรถยนต์แต่
ละคนั ทใ่ี ชง้ านราว 3 หม่ืนกโิ ลเมตรตอ่ ปี

16.ขับรถเท่ียวไปลดคาร์บอนไดออกไซด์ไปพร้อมกัน เพราะมีบริษัทเช่ารถใหญ่ๆ 2-3 รายมีรถรุ่น
เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมที่ใช้เอทานอล หรือน้ามันเชื้อเพลิงทางเลือกอ่ืนๆ ด้วย ลองสอบถามบริษัทรถเช่าเม่ือ
เดนิ ทางไปถึง

17.เลอื กใชบ้ รกิ ารโรงแรมที่มีสัญลักษณ์ส่ิงแวดล้อม เช่น มีมาตรการประหยัดน้า ประหยัดพลังงาน
และมรี ะบบจัดการของเสีย มองหาปา้ ยสญั ลักษณ์ เชน่ โรงแรมใบไมส้ เี ขียว มาตรฐานผลิตภัณฑ์คณุ ภาพ

18 เช็กลมยาง การขับรถที่ยางลมมีนอ้ ยอาจทาใหเ้ ปลืองน้ามันได้ถงึ 3% จากภาวะปกติ
19.เปลีย่ นมาใชพ้ ลงั งานชีวภาพ เชน่ ไบโอดเี ซล เอทานอล ให้มากขน้ึ
20 โละทิ้งตู้เย็นรุ่นเก่า ตู้เย็นที่ผลิตเม่ือ 10 กว่าปีที่แล้ว เพราะใช้ไฟฟ้ามากเป็น 2 เท่าของตู้เย็น
สมัยใหม่ที่มีคุณภาพสูง ซ่ึงช่วยประหยัดค่าไฟลงได้มาก และลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 100 กิโลกรัม
ต่อปี
21.ยืดอายุตู้เย็นด้วยการใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัดพลังงานให้ตู้เย็นด้วยการใช้
อย่างฉลาด ไม่นาอาหารร้อนเข้าตู้เย็น หลีกเลี่ยงการนาถุงพลาสติกใส่ของในตู้เย็น เพราะจะทาให้ตู้เย็นจ่าย
ความเย็นได้ไม่ทั่วถึงอาหาร ควรย้ายตู้เย็นออกจากห้องที่ใช้เครื่องปรับอากาศ ละลายน้าแข็งที่เกาะในตู้เย็น
เปน็ ประจา เพราะตู้เย็นจะกนิ ไฟมากขน้ึ เม่ือมนี า้ แข็งเกาะ และทาความสะอาดตู้เย็นทกุ สัปดาห์

16

22.ริเริ่มใช้พลังงานทางเลือกในอาคารสานักงาน เช่น ติดต้ังแผงโซลาร์เซลล์เพ่ือใช้พลังงานจาก
แสงอาทิตยใ์ นการผลิตกระแสไฟฟา้ เฉพาะจดุ

23.ใช้แสงแดดใหเ้ ป็นประโยชน์ ในการตากเส้ือผ้าทีซ่ กั แล้วให้แหง้ ไม่ควรใช้เคร่ืองปั่นผ้าแห้งหากไม่
จาเปน็ เพื่อประหยัดการใช้ไฟฟ้า

24.ใช้น้าประปาอย่างประหยัด เพราะระบบการผลิตน้าประปาของเทศบาลต่างๆ ต้องใช้พลังงาน
จานวนมากในการทาให้น้าสะอาด และดาเนินการจัดสง่ ไปยังอาคารบ้านเรอื น

25.ติดตั้งฝักบัวอาบน้าที่ปรับความแรงน้าต่าๆ ได้ เพื่อจะได้เปลืองน้าอุ่นน้อยๆ (เหมาะทั้งในบ้าน
และโรงแรม)

26.ติดต้งั เคร่อื งตัดกระแสไฟฟ้าอัตโนมตั ิ ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าและลดปริมาณการปลดปล่อย
คารบ์ อนไดออกไซด์ที่เกิดข้นึ จากโรงผลิตกระแสไฟฟา้

27.สร้างนโยบาย 3Rs- Reduce, Reuse, Recycle ทง้ั ในบ้านและอาคารสานกั งาน เพ่ือให้เกิดการ
ใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างเต็มท่ี เป็นการลดพลังงานในการกาจัดขยะ ลดมลพิษและลดปริมาณการปล่อย
กา๊ ซเรือนกระจกในกระบวนการกาจดั

28.ปอ้ งกนั การปลอ่ ยกา๊ ซมเี ทนสูบ่ รรยากาศ ด้วยการแยกขยะอินทรีย์ เชน่ เศษผัก เศษอาหาร ออก
จากขยะอืน่ ๆ ทีส่ ามารถนาไปรไี ซเคิลได้มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์

29.ทาหลงั คาบ้านด้วยสอี อ่ น เพอ่ื ช่วยลดการดูดซบั ความร้อน
30.นาแสงธรรมชาติมาใช้ในอาคารบ้านเรือน โดยใช้การออกแบบบ้าน และตาแหน่งของช่องแสง
เป็นปจั จยั ซึ่งจะช่วยลดจานวนหลอดไฟและพลงั งานไฟฟ้าทีต่ ้องใช้
31.ปลูกต้นไม้ในสวนหน้าบ้าน ต้นไม้ 1 ต้น จะดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 1 ตัน ตลอดอายุของ
มัน
32.ปลูกไผ่แทนรั้ว ต้นไผเ่ ตบิ โตเรว็ เปน็ ร้วั ธรรมชาตทิ สี่ วยงาม และยงั ดดู ซับคารบ์ อนไดออกไซด์ไดด้ ี
33.ใช้ร่มเงาจากต้นไม้ช่วยลดความร้อนในตัวอาคารสานักงานหรือบ้านพักอาศัย ทาให้สามารถลด
ความต้องการใช้เครอ่ื งปรบั อากาศ เปน็ การลดการใช้ไฟฟา้
34.ไมใ่ ชป้ ๋ยุ เคมใี นสวนไมป้ ระดบั ท่ีบ้าน แต่ขอให้เลือกใชป้ ยุ๋ หมกั จากธรรมชาตแิ ทน
35.ลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติก เพราะถุงพลาสติกไม่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ และ
การเผากาจัดในเตาเผาขยะอย่างถกู วิธตี อ้ งใชพ้ ลังงานจานวนมาก ซึง่ ทาให้มีกา๊ ซเรือนกระจกเพม่ิ ในบรรยากาศ
36.เลือกซ้ือสินค้าที่มีหีบห่อน้อยๆ หีบห่อหลายชั้นหมายถึงการเพิ่มขยะอีกหลายช้ินที่จะต้องนาไป
กาจัด เป็นการเพ่ิมปรมิ าณก๊าซเรอื นกระจกส่บู รรยากาศโดยไมจ่ าเปน็
37.เลือกใช้ผลติ ภณั ฑ์ทซ่ี ือ้ เติมใหมไ่ ด้ เพื่อเป็นการลดขยะจากหีบหอ่ ของบรรจุภณั ฑ์
38.ใช้กระดาษท้ัง 2 หน้า เพราะกระบวนการผลิตกระดาษแทบทุกข้ันตอนใช้พลังงานจากน้ามัน
และไฟฟา้ จานวนมาก
39.เลือกใช้กระดาษรีไซเคิล กระดาษรีไซเคิลช่วยลดขั้นตอนหลายขั้นตอนในกระบวนการผลิต
กระดาษ

17

40.ต้ังเป้าลดการผลิตขยะของตัวเองให้ได้ 1 ใน 4 ส่วน หรือมากกว่า เพ่ือช่วยประหยัดทรัพยากร
และลดก๊าซเรอื นกระจกได้อกี จานวนมาก เมอ่ื ลองคูณ 365 วัน กบั จานวนปที ่ีเหลอื กอ่ นเกษียณ

41.สนับสนุนสินค้าและผลิตผลจากเกษตรกรในท้องถิ่นใกล้บ้าน ช่วยให้เกษตรกรในพ้ืนที่ไม่ต้อง
ขนส่งผลติ ผลให้พ่อคา้ คนกลางนาไปขายในพ้ืนที่ ไกลๆ

42.บริโภคเนอ้ื วัวให้น้อยลง ทานผัก (ปลอดสารพิษ) ให้มากขึ้น ฟาร์มเลี้ยงวัว คือ แหล่งหลักในการ
ปลดปล่อยกา๊ ซมเี ทนสบู่ รรยากาศ หนั มารบั ประทานผกั ใหม้ ากขึน้ ทานเนอ้ื ววั ให้น้อยลง

43.ทานสเต๊กและแฮมเบอร์เกอร์ในร้านใหญ่ๆ ให้น้อยลง เพราะอุตสาหกรรมเนื้อระดับนานาชาติ
ผลิตก๊าซเรือนกระจกถึง 18% สาเหตุหลักก็คือไนตรัสออกไซด์จากมูลวัวและมีเทน ซ่ึงถูกปลดปล่อยออกมา
จากลักษณะทางธรรมชาติของวัวที่ย่อยอาหารได้ช้า (มีกระเพาะอาหาร 4 ตอน) มีเทนเป็นก๊าซเรือนกระจกท่ี
ทาให้เกิดปฏิกิริยาเรือนกระจกได้มากกว่าคาร์บอน ไดออกไซด์ถึง 23 เท่า ในขณะที่ไนตรัสออกไซด์ก่อผลได้
มากกว่าคารบ์ อนไดออกไซด์ 296 เทา่

44.ชักชวนคนอ่ืนๆ รอบขา้ งให้ช่วยกันดูแลส่ิงแวดล้อมและลดปัญหาภาวะโลกร้อน ให้ความรู้ความ
เข้าใจและชักชวนคนใกล้ตัว รวมทั้งเพ่ือนบ้านรอบๆ ตัวคุณ เพ่ือขยายเครือข่ายผู้ร่วมหยุดโลกร้อนให้
กวา้ งขวางขนึ้

45.รว่ มกิจกรรมรณรงค์สง่ิ แวดลอ้ มในชุมชน แล้วลองเสนอกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้และกระตุ้นให้
เกดิ การร่วมมือ เพ่ือลงมอื ทากจิ กรรมส่ิงแวดลอ้ มท่ีต่อเน่ือง และส่งผลใหค้ นในชุมชนมคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ขี น้ึ

46.เลือกโหวตแต่พรรคการเมืองท่ีมีนโยบายส่ิงแวดล้อมท่ีชัดเจน จริงใจ และต้ังใจทาจริง เพราะ
นกั การเมอื งคอื คนทีเ่ ราส่งไปเปน็ ตัวแทนทาหนา้ ทใ่ี นสภาผแู้ ทนราษฎร โปรดใช้ประโยชน์จากพวกเขาตามสิทธิ
ทคี่ ุณมี ดว้ ยการเลอื กนักการเมืองจากพรรคการเมอื งทีม่ ีนโยบายชัดเจนเรือ่ งส่งิ แวดล้อม และการลดปัญหาโลก
รอ้ น

47.ซอื้ ใหน้ ้อยลง แบ่งปันใหม้ ากข้นึ อยู่อยา่ งพอเพยี ง

เกษตรกร ชำวสวน ชำวไร่ ชำวนำ กส็ ำมำรถช่วยไดด้ ้วยกำร
48.ลดการเผาป่าหญ้า ไม้ริมทุ่ง และต้นไม้ชายป่า เพ่ือกาจัดวัชพืชและเปิดพื้นท่ีทาการเกษตร

เพราะเปน็ การปลอ่ ยคารบ์ อนไดออกไซด์ออกสูบ่ รรยากาศจานวนมาก นอกจากน้ันการตัดและเผาทาลายป่ายัง
เปน็ การทาลายแหล่งกักเกบ็ กา๊ ซคารบ์ อน ไดออกไซดท์ ส่ี าคญั

49.ปลูกพืชผกั ให้หลากหลายและปลูกตามฤดูกาลในท้องถ่ิน เป็นการลดการปลูกพืชผักนอกฤดูกาล
ท่ตี ้องใช้พลังงานเพื่อถนอมอาหาร และผ่านกระบวนการบรรจุเปน็ อาหารกระป๋อง

50.รวมกลุ่มสร้างตลาดผู้บริโภค-ผู้ผลิตโดยตรงในท้องถ่ิน เพ่ือลดกระบวนการขนส่งผ่านพ่อค้าคน
กลาง ทตี่ ้องใช้พลงั งานและนา้ มันในการคมนาคมขนส่งพชื ผกั ผลไม้ไปยังตลาด

51.ลดการใช้สารเคมีในการเกษตร นอกจากจะเป็นการลดปัญหาการปลดปล่อยไนตรัสออกไซด์สู่
บรรยากาศโลกแล้ว ในระยะยาวยังเป็นการลดต้นทุนการผลิต และทาให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรดีขึ้น โปรด
ปรกึ ษาและเรยี นร้จู ากกลมุ่ เกษตรกรทางเลอื กท่มี ีอยู่เป็นจานวนมากใน ประเทศไทยสถาปนิกและนกั ออกแบบ

18

52.ออกแบบพิมพ์เขียวบ้านพักอาศัยท่ีสามารถช่วย “หยุดโลกร้อน” การลดปริมาณก๊าซเรือน
กระจก โดยคิดถึงการติดต้ังระบบการใช้พลังงานท่ีง่าย ไม่จาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสูงๆ แต่ใช้งานได้จริง ลอง
คิดถึงวิธีการที่คนรุ่นปู่ย่าใช้ในการสร้างบ้านสมัยก่อน ซ่ึงมีการพ่ึงพาทิศทางลม การดูทิศทางการข้ึน-ตกของ
ดวงอาทิตย์ อาจชว่ ยลดคา่ ใช้จา่ ยเรือ่ งพลังงานในบ้านได้ถงึ 40%

53.ช่วยออกแบบสร้างบ้านหลังเล็ก บ้านหลังเล็กใช้พลังงานน้อยกว่าบ้านหลังใหญ่ และใช้วัสดุ
อปุ กรณก์ ารกอ่ สร้างน้อยกวา่

สือ่ มวลชน นกั สอ่ื สำรและโฆษณำ
54.ใช้ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพเพ่ือให้ความรู้ และสร้างความตระหนักกับสาธารณชนเกี่ยวกับ

ปญั หาภาวะโลกรอ้ น และทาให้การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเป็นประเดน็ ของท้องถิน่
55.สร้างความสนใจกับสาธารณชน เพ่ือทาให้ประเด็นโลกร้อนอยู่ในความสนใจของสาธารณชน

อยา่ งต่อเนอ่ื ง
56.ช่วยกันเล่าความจริงเร่ืองโลกร้อน โปรดช่วยกันสื่อสารให้ประชาชนและรัฐบาลเข้าใจ

สถานการณจ์ รงิ ทเ่ี กดิ ขึ้น
57.เป็นผู้นากระแสของสังคมเร่ืองชีวิตที่พอเพียง ต้นตอหน่ึงของปัญหาโลกร้อนก็คือกระแสการ

บริโภคของผู้คน ทาให้เกิดการบริโภคทรัพยากรจานวนมหาศาล ชีวิตท่ียึดหลักของความพอเพียง โดยมีฐ าน
ของความรู้และคณุ ธรรมตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงน่าจะเป็นหนทางป้องกันและลดปัญหาโลกร้อน
ที่สังคมโลกกาลังเผชิญหนา้ อยู่

58.ใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์เพ่ือรว่ มรบั ผิดชอบสงั คม ออกแบบงานโฆษณาท่ีสอดแทรกประเด็นปัญหา
ของภาวะโลกรอ้ นอยา่ งมรี สนยิ ม เร่ืองที่เป็นจริงและไม่โกหก
ครู อำจำรย์

59.สอนเดก็ ๆ ในขน้ั เรยี น เกีย่ วกบั ปญั หาโลกร้อน
60.ใช้เทคนิคการเรียนรู้หลากหลายจากกิจกรรม ดีกว่าสอนโดยให้เด็กฟังครูพูดและท่องจาอย่าง
เดยี ว
นกั วิจัย นกั วิทยำศำสตร์ และวศิ วกร
61ค้นคว้าวิจัยหาแนวทางและเทคโนโลยีใหม่ที่มีประสิทธิภาพในการลดการปลดปล่ อยก๊าซ
คารบ์ อนไดออกไซด์
62.ศกึ ษาและทาวิจยั ในระดับพื้นท่ี เพื่อให้มีข้อมูลท่ีชัดเจนเก่ียวกับผลกระทบของภาวะโลกร้อนต่อ
พืน้ ท่เี สย่ี งของประเทศไทย
63.ประสานและทางานร่วมกบั นกั สื่อสารและโฆษณา เพ่ือแปลงข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ไปสู่การรับรู้
และเข้าใจของประชาชนในสงั คมวงกวา้ ง

19

นักธุรกิจ อุตสำหกรรมและบริกำร
64.นาก๊าซมีเทนจากกองขยะมาใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ด้วยการลงทุนพัฒนาให้เป็นพลังงาน

ทดแทนท่ีมปี ระสิทธิภาพ แตม่ ีตน้ ทนุ ตา่
65.สนับสนุนนักวิจัยในองค์กร ค้นคว้าผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีประสิทธิภาพใน

การลดการใช้พลงั งานจากเชอื้ เพลิงฟอสซิล
66.เป็นผู้นาของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมที่ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม หากยังไม่มีใครเร่ิมต้นโครงการท่ี

ช่วยหยดุ ปญั หาโลกร้อนอย่างจรงิ จงั กจ็ งเปน็ ผ้นู าเสยี เอง
67.สร้างแบรนด์องค์กรที่เน้นการดูแลและใส่ใจโลก ไม่ใช่แค่การสร้างภาพลักษณ์ภายนอก แต่เป็น

การสร้างความเชื่อมั่นเรอ่ื งความรบั ผดิ ชอบทมี่ าจากภายในองคก์ ร
นักกำรเมือง ผู้วำ่ รำชกำรฯ และรัฐบำล

68.วางแผนการจัดหาพลังงานในอนาคต รัฐจาเป็นต้องมีการวิเคราะห์ทางเลือกเพ่ือมุ่งจัดการแก้ไข
ปัญหาพลังงานและ สง่ิ แวดลอ้ ม ทม่ี องไปข้างหน้าอยา่ งนอ้ ยท่ีสดุ 50 ปี

69.สนับสนุนให้มีการพัฒนาการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ท้ังการสนับสนุนงบประมาณในการวิจัย
และการพฒั นาระบบใหม้ ตี ้นทุนตา่ และคุม้ ค่าในการใชง้ าน

70.สนับสนุนกลไกต่างๆ สาหรับพลังงานหมุนเวียน เพ่ือสร้างแรงจูงใจในการปรับปรุงเทคโนโลยี
และการลดต้นทนุ

71.สนับสนุนอุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียน เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุนของภาคเอกชน รัฐบาล
ควรหามาตรการที่ชัดเจนในการสนับสนุนอุตสาหกรรมหมุนเวียน ซ่ึงเป็นพลังงานสะอาด เช่น พลังงาน
แสงอาทิตย์ พลังงานลม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับอุตสาหกรรมพลังงานอื่นๆ ท่ีใช้พลังงานจากเชื้อเพลิง
ฟอสซลิ ทเี่ ป็นสาเหตุหลักของการปลอ่ ยคาร์บอนไดออกไซด์สูบ่ รรยากาศ

72.มีนโยบายทางการเมืองท่ีชดั เจนในการสนบั สนุนการ “หยดุ ภาวะโลกร้อน” เสนอต่อประชาชน
73.สนบั สนุนโครงสร้างทางกายภาพ เม่ือประชาชนตระหนักและต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการลดการปล่อย
ก๊าซคารบ์ อน ไดออกไซด์ เช่น จดั การให้มโี ครงขา่ ยทางจักรยานท่ีปลอดภัยให้กับประชาชนในเมืองสามารถขับ
ข่ี จกั รยาน ลดการใช้รถยนต์

74.ลดจานวนรถยนต์สว่ นตวั บนถนนในกรุงเทพมหานครอย่างจริงจัง ด้วยการสนับสนุนระบบขนส่ง
มวลชนทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ

75.ส่งเสริมเครือข่ายการตลาดให้กับกลุ่มเกษตรกรทางเลือก เกษตรกรจานวนมากเป็นตัวอย่างท่ีดี
ของการลดปัญหาโลกร้อน ด้วยการลดและเลิกการใช้สารเคมีท่ีทาให้เกิดการปลดปล่อยไนตรัสออกไซด์สู่
บรรยากาศโลก ซึ่งการส่งเสริมการตลาดสีเขียวด้วยการสร้างเครือข่ายการตลาดที่กระจายศูนย์ ไปสู่กลุ่ม
จังหวัดหรือภูมิภาค จะช่วยลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์จากกระบวนการขนส่งผลผลิตไปยังตลาดไกลๆ
อีกด้วย

76.ริเร่ิมอย่างกล้าหาญกับระบบพลังงานแบบกระจายศูนย์ เพื่อลงทุนกับทางเลือกและทางรอดใน
ระยะยาว

20

77.พิจารณาใช้กฎหมายการเก็บภาษีเป็นเคร่ืองมือในการควบคุมปริมาณก๊าซ เรือนกระจก
โดยเฉพาะคารบ์ อนไดออกไซด์ เช่น การเกบ็ ภาษีคารบ์ อน (Carbon Tax) สาหรับภาคอุตสาหกรรม

78.เปล่ียนแปลงระบบการจัดเก็บภาษี น่ันคือการสร้างระบบการจัดเก็บภาษีที่สามารถสะท้อนให้
เห็นต้นทุนทางอ้อมจาก กิจกรรมทางเศรษฐกิจตัวใดตัวหน่ึง ซ่ึงทาให้สังคมต้องแบกรับภาระนั้นอย่างชัดเจน
เช่น ภาษีที่เรียกเก็บจากถ่านหิน ก็จะต้องรวมถึงต้นทุนในการดูแลรักษาสุขภาพที่จะต้องเพ่ิมขึ้นจากปัญหา
มลพษิ และต้นทุนความเสียหายจากสภาพอากาศทเี่ ปลี่ยนแปลงไป

79.ปฏริ ูปภาษีสงิ่ แวดล้อม เป็นก้าวต่อไปท่ีท้าทายของนักการเมืองและรัฐบาลท่ีมาจากการเลือกต้ัง
อยา่ ง ใหญห่ ลวงในการปรับเปล่ยี นและสร้างจิตสานึกใหม่ให้สังคม การเพ่ิมการจัดเก็บภาษีสาหรับกิจกรรมที่มี
ผลทาลายสภาพแวดล้อมให้สูงขึ้นเปน็ การชดเชย เชน่ กจิ กรรมที่มีการปล่อยคาร์บอน ภาษีจากกองขยะ ไม่ใช่
เรื่องเป็นไปไม่ได้ หลายประเทศโดยเฉพาะในยุโรปตะวันตกนาแนวคิดน้ีไปใช้ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2533 ปัจจุบันนี้
ประเทศใหญๆ่ ในสหภาพยุโรปก็ร่วมดาเนินการด้วย และพบว่าการปรับเปล่ียนระบบการจัดเก็บภาษีดังกล่าว
ไมม่ ีผลต่อการปรบั เปลี่ยนระดับการจัดเก็บภาษี หากแต่มผี ลกบั โครงสรา้ งของระบบภาษเี ท่านน้ั

80.กาหนดทิศทางประเทศให้มุ่งสู่แนวทางของการดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง ที่สามารถยืนหยัดอยู่
รอดอย่างเข้มแข็งในสังคมโลก เร่ิมต้นด้วยการใส่ประโยคที่ว่า ประเทศไทยจะต้องยึดหลักเศรษฐกิจตามแนว
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว เป็นแกนหลักของการพัฒนาประเทศไว้ใน
รัฐธรรมนญู ได้หรอื ไม่

21


Click to View FlipBook Version