The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nipaporn Klinkate, 2022-06-15 03:27:31

รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2564

รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2564

1



คำนำ

รายงานผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รยี น ปกี ารศึกษา 2564 เป็นการสรปุ ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผู้เรียนที่ทำการประเมินโดยโรงเรียน และสรุปผลการประเมินระดับชาติ ซึ่งประกอบด้วย
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพ
ผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 และผลการทดสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนมี
แนวทางพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและครูใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในปี
การศึกษาต่อไป

งานวชิ าการ
ผูจ้ ดั ทำ

สารบัญ ข

เรอ่ื ง หน้า

ผลการประเมนิ ระดับปฐมวยั 2
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผูเ้ รยี น 4
ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 11
ผลการประเมินการอา่ น การเขยี น และการคดิ วเิ คราะห์ 13
ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (RT) 15
ผลการประเมินคณุ ภาพผูเ้ รยี น (NT) 17
ผลการประเมนิ ระดบั ชาติ O-NET 19
ภาคผนวก 21
22
เอกสารผลการประเมินความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรยี น (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 25
เอกสารผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 32
เอกสารผลการประเมินระดับชาติ O-NET ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3

1

รายงานผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รียน ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนวดั ลาดตาล

ในการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะมีการประเมินผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็น
ส่วนหนึ่งเสมอ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นตัวชี้วัดตัวหนึ่งท่ีบ่งบอกถึงคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ของ
สถานศึกษาว่า ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการประเมินผล การ
เรียนรู้เป็นกระบวนการพัฒนาผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมนิ เป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความ
ก้าวหนาแ้ ละความสำเรจ็ ทางการเรยี นของผู้เรียน ตลอดจนขอ้ มลู ที่เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ ผู้เรียนเกิด
การพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มศกั ยภาพ

ผลการประเมินเป็นการตรวจสอบ กำกับ และรักษาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน ในปี
การศึกษา 2564 ได้วเิ คราะห์ผลการประเมิน 7 ส่วน คอื

1. ผลการประเมนิ พัฒนาการระดับปฐมวยั
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผ้เู รียน
3. ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
4. ผลการประเมนิ การอา่ น การเขียน และการคิดวิเคราะห์
5. ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1
6. ผลการประเมินคุณภาพผเู้ รยี น (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3
7. ผลการประเมนิ ระดับชาติ O-NET ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือกำกับ ตดิ ตามและพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี น
2. เพอ่ื เกบ็ รวบรวมผลการประเมนิ ท้ังภายในและภายนอก ปีการศกึ ษา 2564
3. เพอ่ื ให้ได้ขอ้ มูลสารสนเทศสำหรับการพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาในปีการศึกษาต่อไป
เป้าหมาย
1. โรงเรียนมแี นวทางการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรียน
2. ผบู้ ริหารและครูใช้เป็นขอ้ มูลในการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาในปีการศึกษาต่อไป

2

1. ผลการประเมินพัฒนาการระดับปฐมวยั

- ชนั้ อนุบาลปที ี่ 2

ผลการประเมินของเดก็ ตามระดับคณุ ภาพ

พฒั นาการ ดี พอใช้ ปรับปรุง

ด้านร่างกาย จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ
ดา้ นอารมณ์และจิตใจ
15 100 15 0 0 0
ด้านสติปญั ญา
ด้านสังคม 15 100 15 0 0 0

15 100 15 0 0 0

15 100 15 0 0 0

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละของผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ชั้นอนุบาลปีที่ 2
ปกี ารศกึ ษา 2564 พบวา่ เด็กมีพัฒนาการในทุกดา้ นระดบั ดี ร้อยละ 100

- ชนั้ อนุบาลปที ่ี 3 3

พัฒนาการ ผลการประเมินของเดก็ ตามระดบั คณุ ภาพ
ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
ด้านรา่ งกาย จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ
ดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจ 13 100.00 0 0.00 0 0.00
13 100.00 0 0.00 0 0.00
ดา้ นสติปญั ญา 9 69.23 4 30.77 0 0.00
ด้านสงั คม 13 100.00 0 0.00 0 0.00

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบร้อยละของผลการประเมินพัฒนาการเด็ก ชั้นอนุบาลปีที่ 2
ปีการศึกษา 2564 พบว่า เด็กมีพัฒนาการระดับดี ใน ด้านร่างกาย ร้อยละ 100 ด้านอารมณ์และจิตใจ
รอ้ ยละ 100 ดา้ นสังคม รอ้ ยละ 100 และดา้ นสติปญั ญา ระดับดี 69.23 ระดบั พอใช้ 30.77

4

2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผูเ้ รียน ปีการศึกษา 2564
ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป ระดับช้ัน

ประถมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 ปีการศึกษา 2564

จำนวนนักเรยี นทมี่ ี ช้ัน

รายวิชา ผลการเรียนรู้ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รวม
ระดบั 3 ข้ึนไป

ภาษาไทย จำนวน 13 17 9 28 9 9 85
คณติ ศาสตร์ ร้อยละ 54.17 80.95 40.91 93.33 40.91 30.00 57.05
วิทยาศาสตรฯ์ จำนวน 22 20 7 6 18 23 96
สงั คมศึกษาฯ รอ้ ยละ 91.67 95.24 31.82 20.00 81.82 76.67 64.43
ประวัตศิ าสตร์ จำนวน 17 20 9 13 6 8 73
สขุ ศึกษาฯ รอ้ ยละ 70.83 95.24 40.91 43.33 27.27 26.67 48.99
จำนวน 21 20 15 28 21 30 135
ศลิ ปะ ร้อยละ 87.50 95.24 68.18 93.33 95.45 100 90.60
การงานอาชีพ จำนวน 22 20 14 28 21 30 135
ภาษาอังกฤษ รอ้ ยละ 91.67 95.24 63.64 93.33 95.45 100 90.60
วชิ าเพม่ิ เติม จำนวน 23 18 20 12 7 14 94
ภาษาองั กฤษ ร้อยละ 95.83 85.71 90.91 40.00 31.82 46.67 63.09
หนา้ ท่ีพลเมือง จำนวน 23 19 20 28 14 20 124
รวมท้ังหมด รอ้ ยละ 95.83 90.48 90.91 93.33 63.64 66.67 83.22
จำนวน 21 14 6 29 21 30 121
รอ้ ยละ 87.50 66.67 27.27 96.67 95.45 100 81.21
จำนวน 21 20 9 16 9 25 100
ร้อยละ 87.50 95.24 40.91 53.33 40.91 83.33 67.14

จำนวน 9 11 7 19 14 25 85
รอ้ ยละ 37.50 52.38 31.82 63.33 63.64 83.33 57.05
จำนวน
รอ้ ยละ 29 21 30 80
จำนวน 96.67 95.45 100 97.56
รอ้ ยละ 192 179 116 236 161 244 1128
80.00 85.24 52.73 71.52 66.53 73.94 71.76

5

จากตารางและแผนภูมเิ ปรยี บเทียบร้อยละของนกั เรยี นท่ีมีเกรดเฉลย่ี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ระดับ 3
ขน้ึ ไป จำแนกตามรายวิชา ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ปกี ารศึกษา 2564 พบว่า รายวิชาหน้าทีพ่ ลเมืองมี
จำนวนนักเรียนท่ีได้รับผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป มากทีส่ ดุ ร้อยละ 97.56 รองลงมาคือ วชิ าสงั คมศึกษาและ
ประวัตศิ าสตร์ ร้อยละ 90.60 และนอ้ ยที่สุด คือ วิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ร้อยละ 48.99

6

ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉล่ียผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ 3 ขึ้นไป ระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ปกี ารศึกษา 2564

จำนวนนักเรียนทมี่ ี ชน้ั
ผลการเรียนรู้
รายวชิ า ระดบั 3 ขนึ้ ไป ม.1 ม.2 ม.3 รวม

ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ 12 1 2 12 78
คณติ ศาสตร์ จำนวน 10 7 41.94
วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 29.41 20.59 13 11 19 18 78
สังคมศกึ ษาฯ จำนวน 59 41.94
ประวัติศาสตร์ รอ้ ยละ 14.71 26.47 48.15 40.74 59.38 56.25 77
สขุ ศึกษาฯ จำนวน 11 11 41.40
รอ้ ยละ 32.35 32.35 15 13 20 16 90
ศิลปะ จำนวน 4 11 48.39
การงานอาชีพ รอ้ ยละ 11.76 32.35 55.56 48.15 62.50 50.00 82
ภาษาอังกฤษ จำนวน 74 44.09
วชิ าเพม่ิ เตมิ รอ้ ยละ 20.59 11.76 10 13 16 16 106
เทคโนโลยี จำนวน 17 11 56.99
หน้าที่พลเมอื ง ร้อยละ 50.00 32.35 37.04 48.15 50.00 50.00 76
สง่ เสรมิ งานอาชพี จำนวน 45 40.86
ภาษาองั กฤษ รอ้ ยละ 11.76 14.71 18 17 18 22 148
จำนวน 13 32 79.57
ฟัง-พดู ร้อยละ 38.24 94.12 66.67 62.96 56.25 68.75 88
รวมทง้ั หมด จำนวน 15 9 47.31
ร้อยละ 44.12 26.47 18 18 16 19

66.67 66.67 50.00 59.38

16 16 23 23

59.26 59.26 7188 71.88

20 13 22 12

74.07 48.15 68.75 37.50

19 26 26 32

70.37 96.30 81.25 100

20 12 24 8

74.07 44.44 75.00 25.00

จำนวน 11 14 17 20 20 20 102
รอ้ ยละ 32.35 41.18 62.96 74.07 62.50 62.50 54.84
จำนวน
รอ้ ยละ 4 10 18 16 18 22 88
จำนวน 11.76 29.41 66.67 59.26 56.25 68.75 47.31
ร้อยละ
จำนวน 6 7 15 13 19 22 82
ร้อยละ 17.65 20.59 55.56 48.15 59.38 68.75 44.09
จำนวน 15 11 20 14 24 11 95
ร้อยละ 44.12 32.35 74.07 51.85 75.00 34.38 51.08
122 141 219 202 265 241 1190
27.60 31.90 62.39 57.55 63.70 57.93 49.21

7

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชา ระดับ 3 ขึ้นไป ระดับช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2564 พบว่า

- ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา มีจำนวนนักเรียนที่ได้รับผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป
มากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 50 รองลงมาคือ วชิ าภาษาองั กฤษฟัง-พดู ร้อยละ 44.12 และน้อยที่สดุ คอื วิชาสังคมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม วิชาศลิ ปะ และวิชาหนา้ ทีพ่ ลเมือง รอ้ ยละ 11.76

- ภาคเรียนที่ 2 รายวิชาการงานอาชีพ มีจำนวนนักเรียนที่ได้รับผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป มากที่สุด
รอ้ ยละ 94.12 รองลงมาคอื วชิ าเทคโนโลยี รอ้ ยละ 41.18 และน้อยทส่ี ดุ คือ วิชาประวัติศาสตร์ รอ้ ยละ 11.76

8

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชา ระดับ 3 ขึ้นไป ระดับช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 พบวา่

- ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาศิลปะ วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาภาษาอังกฤษฟัง-พูด มีจำนวนนักเรียนท่ี
ได้รบั ผลการเรียนระดับ 3 ขึน้ ไป มากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 74.07 รองลงมาคือ วิชาการงานอาชีพ รอ้ ยละ 70.37 และ
น้อยท่สี ดุ คือ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 37.04

- ภาคเรียนท่ี 2 รายวิชาการงานอาชีพ มีจำนวนนักเรียนทีไ่ ด้รับผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป มากที่สุด
รอ้ ยละ 96.30 รองลงมาคอื วิชาเทคโนโลยี รอ้ ยละ 74.07 และนอ้ ยท่สี ดุ คือ วชิ าภาษาไทย รอ้ ยละ 40.74

9

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชา ระดับ 3 ขึ้นไป ระดับช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 พบว่า

- ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาศิลปะ วิชาการงานอาชีพ มีจำนวนนักเรียนที่ได้รับผลการเรียนระดับ 3 ขึ้น
ไป มากท่ีสุด ร้อยละ 81.25 รองลงมาคอื วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาภาษาองั กฤษฟัง-พดู รอ้ ยละ 75 และน้อย
ทส่ี ดุ คือ วชิ าประวตั ศิ าสตร์ รอ้ ยละ 50.00

- ภาคเรียนที่ 2 รายวิชาการงานอาชีพ มีจำนวนนกั เรยี นที่ได้รบั ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป มากที่สุด
ร้อยละ 100 รองลงมาคือ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ร้อยละ 71.88 และน้อยที่สุด คือ วิชาภาษาอังกฤษ
รอ้ ยละ 25

10

จากตารางและแผนภมู เิ ปรียบเทียบร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลยี่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ระดบั 3
ขึ้นไป จำแนกตามรายวิชา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 ปีการศึกษา 2564 พบว่า รายวิชาการงานอาชีพ
มีจำนวนนักเรียนท่ีได้รับผลการเรยี นระดับ 3 ขึ้นไป มากที่สุด ร้อยละ 79.56 รองลงมาคือ วิชาสุขศึกษาและ
พลศกึ ษา ร้อยละ 56.9 และนอ้ ยที่สดุ คอื วิชาศลิ ปะ รอ้ ยละ 40.86

11

3. ผลการประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

จำนวน จำนวนนักเรียนตามระดับคุณภาพ (คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์)
นกั เรยี น
ระดบั ชนั้ ทั้งหมด ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น

จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

ป. 1 24 14 58.33 9 37.50 - - 1 4.17

ป. 2 21 15 71.43 6 28.57 - - - -

ป. 3 22 9 40.91 13 59.09 - - - -

ป. 4 30 12 40.00 17 56.67 - - 1 3.33

ป. 5 22 - - 22 100 - - - -

ป. 6 30 10 33.33 20 66.67 - - - -

ม.1 34 1 2.94 24 70.59 7 20.59 2 5.88

ม.2 27 15 55.56 11 40.74 - 0.00 1 3.70

ม.3 32 21 65.63 10 31.25 1 3.13 - -

รวม 242 97 40.08 132 54.55 8 3.31 5 2.07

12

จากตารางและแผนภมู ิเปรยี บเทียบผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
– มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 พบว่า นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2
นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 และนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีผลการประเมินในระดับ ดีเยย่ี ม (3 ) สูงกว่า
ระดับดี (2) โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 ร้อยละ 71.43 นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ร้อยละ 65.63 นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 58.33 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีท่ี 2 รอ้ ยละ 55.56

13

4. ผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน

จำนวน จำนวนนกั เรยี นตามระดับคุณภาพ(การอา่ นคดิ วิเคราะห์ และเขียน)

ระดับชน้ั นกั เรียน ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน

ท้ังหมด จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

ป. 1 24 14 58.33 9 37.50 - - 1 4.17

ป. 2 21 13 61.90 6 28.57 2 9.52 - -

ป. 3 22 7 31.82 15 68.18 - - - -

ป. 4 30 12 40.00 17 56.67 - - 1 3.33

ป. 5 22 10 45.45 12 54.55 - - --

ป. 6 30 12 40.00 18 60.00 - - --

ม.1 34 5 14.71 18 52.94 9 26.47 2 5.88

ม.2 27 9 33.33 17 62.96 - - 1 3.70

ม.3 32 12 37.50 9 28.13 11 34.38 - -

รวม 242 94 38.84 121 50.00 22 9.09 5 2.07

14

จากตารางและแผนภมู ิเปรียบเทียบผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ชั้นประถมศึกษา
ปที ี่ 1 – มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2564 พบว่า นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 นักเรียนช้นั ประถมศึกษา
ปีที่ 2 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการประเมินในระดับ ดีเย่ียม (3 ) สูงกว่าระดับดี (2) โดย
เรียงลำดับจากมากไปหาน้อยดังนี้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ร้อยละ 61.90 นักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 1 ร้อยละ 58.33 และนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 รอ้ ยละ 37.50

15

5. ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผู้เรียน (Reading Test : RT)

ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรียน (RT)

ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 - 2564

ด้าน ปกี ารศึกษา 2563 ปีการศึกษา 2564

การอ่านออกเสยี ง 79.00 79.90

การอา่ นรเู้ ร่ือง 84.41 79.80

รวม 2 สมรรถนะ 81.70 79.85

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการประเมินความสามารถด้านการอ่านของ
ผู้เรยี น (RT) ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 – 2564 ของระดับโรงเรยี น พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละ
ของปีการศึกษา 2564 มคี า่ เฉลย่ี สงู กวา่ ปกี ารศกึ ษา 2563 คือ ดา้ นการอ่านออกเสียง ร้อยละ 79.90 และในปี
การศึกษา 2564 ด้านการอ่านรู้เรื่อง ร้อยละ 79.80 และรวม 2 สมรรถนะ ร้อยละ 79.85 มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่า
ปีการศกึ ษา 2563

16

ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรยี น (RT)

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2564 เปรียบเทียบกับระดับต่างๆ

ดา้ น ระดับโรงเรยี น ระดับเขตพนื้ ท่ี ระดบั สงั กดั สพฐ. ระดบั ประเทศ

การอา่ นออกเสยี ง 79.90 76.58 69.04 69.95

การอา่ นรูเ้ รื่อง 79.80 78.92 72.30 72.79

รวม 2 สมรรถนะ 79.85 76.25 74.56 71.38

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละการประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT)
ปีการศึกษา 2564 ของระดับโรงเรียนกับระดับต่างๆ พบว่า คะแนนเฉลี่ยร้อยละระดับโรงเรียนสูงกว่าคะแนน
เฉลี่ยระดับต่างๆ ทุกสมรรถนะ ดังนี้ ด้านการอ่านออกเสียง ร้อยละ 79.90 ด้านการอ่านรู้เรื่อง ร้อยละ
79.80 และรวม 2 สมรรถนะ ร้อยละ 79.85

17

6. ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รยี นระดับชาติ (National Test : NT)
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2563 - 2564

ดา้ น ปีการศกึ ษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564

ความสามารถด้านภาษาไทย 65.68 79.30

ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ 50.13 49.00

รวมความสามารถ 2 ด้าน 57.91 64.15

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน
ระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563 – 2564 ของระดับโรงเรียน พบว่า คะแนนเฉล่ีย
ร้อยละของปีการศึกษา 2564 มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2563 คือ ความสามารถด้านภาษาไทย ร้อยละ
79.30 และรวมความสามารถทั้ง 2 ด้าน ร้อยละ 64.15 และในปีการศึกษา 2564 ความสามารถด้าน
คณิตศาสตร์ รอ้ ยละ 49.00 มีค่าเฉล่ยี ตำ่ กวา่ ปกี ารศึกษา 2563

18

ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 เปรียบเทียบกับระดบั ต่างๆ

ดา้ น ระดบั โรงเรียน ระดับเขตพน้ื ท่ี ระดบั สงั กดั สพฐ. ระดบั ประเทศ

ความสามารถด้านภาษาไทย 79.30 63.80 55.48 56.14
ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ 49.00 57.88 48.73 49.44
รวมความสามารถ 2 ด้าน 64.15 60.84 52.11 52.79

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียน
ระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ของระดับโรงเรียนกับระดับต่างๆ พบว่า คะแนน
เฉลีย่ ร้อยละระดับโรงเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดบั ต่างๆ ในความสามารถด้านภาษาไทย ร้อยละ 79.30 และ
รวมความสามารถท้งั 2 ด้าน รอ้ ยละ 64.15

19

7. ผลการทดสอบระดับชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET)
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐาน (O-NET)
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ปกี ารศึกษา 2564

วชิ าท่สี อบ ปีการศกึ ษา 2564

ภาษาไทย (91) 58.89
ภาษาอังกฤษ (93) 27.50
คณติ ศาสตร์ (94) 24.95
วิทยาศาสตร์ (95) 29.15

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน
พื้นฐาน (O-NET) ระดับโรงเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 มีจำนวนผู้เข้าสอบ 5 คน พบว่า
รายวิชาที่นักเรียนทำคะแนนเฉลี่ยร้อยละได้มากที่สุดคือ วิชาภาษาไทย ร้อยละ 58.89 รองลงมาคือ วิชา
วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 29.15 วิชาภาษาอังกฤษ ร้อยละ 27.50 และน้อยที่สุดคือ วิชาคณิตศาสตร์ ร้อยละ
24.95

20

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET)

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 เปรยี บเทียบกับระดบั ตา่ งๆ

วิชาทสี่ อบ ระดับโรงเรยี น ระดับเขตพ้นื ท่ี ระดับสงั กัด สพฐ. ระดับประเทศ

ภาษาไทย (91) 58.89 50.32 52.13 51.19

ภาษาอังกฤษ (93) 27.5 26.03 30.79 31.11

คณิตศาสตร์ (94) 24.95 21.26 24.75 24.47

วิทยาศาสตร์ (95) 29.15 29.28 31.67 31.45

จากตารางและแผนภูมิเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยร้อยละการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ัน
พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ของระดับโรงเรียนกับระดับต่างๆ พบว่า คะแนน
เฉลี่ยร้อยละระดับโรงเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับต่างๆ ใน 3 วิชา โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังน้ี
วชิ าภาษาไทย รอ้ ยละ 58.89 วิชาภาษาอังกฤษ ร้อยละ 27.50 และวชิ าคณิตศาสตร์ ร้อยละ 24.95

21

ภาคผนวก

22

ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1

23

24

25

ผลการประเมนิ คุณภาพผ้เู รยี น (NT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3

26

27

28

29

30

31

32

ผลการประเมนิ ระดบั ชาติ O-NET ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47


Click to View FlipBook Version