The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานเรื่องความเท่าเทียมของมนุษย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pa Pleng, 2022-12-09 22:41:14

รายงานเรื่องความเท่าเทียมของมนุษย์

รายงานเรื่องความเท่าเทียมของมนุษย์

รายงาน
เร่อื งความเทาเทียมของมนษุ ย

เสนอ
คณุ ครู ดารนิ ยะรงั วงษ

จดั ทำโดย
นาย อนาวนิ สายาวงศ เลขท่ี 17
นาย ธนภมู ิ ทว มไทย เลขท่ี 18
นาย วีรากร พุมเมอื ง เลขที่ 19
นางสาว อญั ชสิ า สงแสง เลขที่ 20
นางสาว อมุ าพร กอ นแกว เลขท่ี 21
นางสาว กมลชนก บำ้ สนั เทียะ เลขท่ี 27

ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี 4/2

รายงานนเ้ี ลม นเ้ี ปน สวนหนงึ่ ของวิชาภาษาไทย2 รหัสวิชา ท31102
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565

โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี

คำนำ

รายงานฉบับน้ีเปนสวนหนึ่งของวิชา ภาษาไทย๒ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๔/๒ โดยมีจดุ ประสงคเพ่ือศึกษาความรูที่
ไดจ ากเร่อื ง ความเทา เทียมของมนุษย ซง่ึ รายงานนม้ี ีเนอ้ื หาเกย่ี วกับความรจู กั และการเขา ใจความเสมอภาคทางเพศ

ผจู ัดทำไดเลือกหัวขอในการทำรายงานเน่ืองมาจากเปนเร่ืองที่นาสนใจและตองขอขอบคุณผูที่ใหความรูและ
แนวทางการศึกษาเพ่ือนๆทุกคนท่ีใหความชวยเหลือมาโดยตลอด ผูจัดทำหวังวารายงานฉบับนี้จะใหความรูและเปน
ประโยชนแกผอู า นทกุ ๆทา น

คณะผจู ัดทำ

สารบญั หนา

เรอื่ ง ก

คำนำ 1
สารบัญ
ทำความรูจักและเขา ใจความเสมอภาคทางเพศ 4
- ความหมายและความสำคญั ของความเสมอภาคทางเพศ 9

- คนจนกับคนรวย: ความเสมอภาคที่ไมเสมอภาคในสังคมไทย 12
14
การโดนเอาเปรียบของมนษุ ยใ นสมัยกอ น
รปู แบบของความหลากหลายทางเพศ 15
- กลุมคนทม่ี ีความหลากหลายทางเพศ หรอื เพศทางเลือก LGBTQ
- เพศทางเลือกเปนความผดิ ปกติหรอื ไม
- ปญ หาอตั ลักษณทางเพศสามารถแกไขไดโดยทางการแพทย
- แนวปฏบิ ัติสำหรบั ครอบครวั ท่ีมลี กู หลานเปน LGBTQ
ความคดิ และวัฒนธรรมของคนในสมัยกอ นและปจจุบัน
สถานการณความเทา เทยี มในปจ จบุ นั

- สังคม LGBT ในแวดวงการศกึ ษาในปจ จุบันไดร ับการยอมรบั มากนอ ยแคไหน

บรรณานกุ รม

1

รจู ักและเขา ใจความเสมอภาคทางเพศ

ความหมายและความสำคัญของความเสมอภาคทางเพศ

ในระยะหลังคนไทยอาจไดยินแนวคิดน้ีบอยข้ึนผานสื่อตางๆ หลายคนอาจมองเปนประเด็นท่ีกลุมผูหญิงลุก
ขึน้ มาเรยี กรองสิทธสิ ตร(ี อกี แลว ) แตในความเปน จริง เรือ่ งความเสมอภาคทางเพศหรือความเทาเทยี มระหวางเพศเปน เร่ือง
ของมนษุ ยท กุ เพศ ทุกวยั ทกุ สถานะ ทม่ี ีสทิ ธใิ นความเปนมนุษยอยางเทาเทยี มกัน

ยิ่งไปกวาน้ัน คำวา “เทาเทียม” ไมไดแปลวา “เทากับ” และคำวา “เพศสภาพ” หรือ Gender เปนคำท่ีกวางกวาคำวา
เพศ หรอื Sex ท่กี ำหนดตามเพศกำเนดิ เทานั้น

สังคมไทยแตเดิม กำหนดความเสมอภาคทางเพศไมเทาเทียมกัน เมื่อวัฒนธรรมตะวันตก เขามาเผยแพร
คา นยิ มหลายอยา งของเรากไ็ ดมีการปรับปรงุ ใหส อดคลอ งกบั ความเปนสากล ซง่ึ เร่ืองความเสมอภาคทางเพศก็เปน อกี เร่ือง
หนึง่ ทีม่ ีการเรยี กรอ งใหมกี ารแกไ ข และสามารถ ด าเนินการปรบั ปรงุ แกไ ขไดในหลายประเดน็

ความเสมอภาคทางเพศ หมายถึง การท่ีเพศชายและเพศหญิงมีสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ในการ แสดงบทบาทของตนเอง
ตอสังคมไดอยางเทาเทียมกัน แตตองอยูภายในกรอบท่ีเหมาะสมของ วัฒนธรรมที่ดีงามของสังคมไทย ในปจจุบัน
สังคมไทยใหความสำคัญกับเรื่อง ความเสมอภาค ทางเพศมากขึ้น โดยมองบทบาททางเพศของชายและหญิงวา มีระดับท่ี
เทา เทียมกนั ไมม กี ารกดี กันทางเพศ

ความสำคัญของความเสมอภาคทางเพศนั้น ขึ้นอยูกับความเขาใจในบทบาททางเพศและ การมีสัมพันธภาพที่
เหมาะสมระหวางชายหญิง โดยวัยรุนจะรูสึกออนไหวกับค าพูด ท่ีเกี่ยวของกับ บทบาททางเพศของตนเองมากขึ้น โดย
วยั รุนจะเลียนแบบพฤติกรรมซ่ึงเปนบทบาททางเพศจาก บุคคลท่ีใกลชิดกับตัวเอง กลาวคือ วัยรุนชายจะเลียนแบบจาก
พอ พชี่ าย หรอื ญาติชายที่ใกลชดิ ในขณะทวี่ ยั รุนหญิงก็จะเลียนแบบจากแมพส่ี าว หรอื ญาตสิ าวท่ีสนิท

แนวคดิ เก่ียวกบั ความเสมอภาค

หลักแหงความเสมอภาคไมไดบังคับใหองคกรตาง ๆ ของรัฐตองปฏิบัติตอบุคคลทุกคน อยางเดียวกัน ตรงกันขามกลับ
บังคับใหตองปฏิบัติตอบุคคลท่ีแตกตางกันในสาระสำคัญแตกตาง กันออกไปตามลักษณะเฉพาะของแตล ะคน เฉพาะแต
บุคคลท่ีเหมือนกันในสาระสำคัญเทาน้ันที่ องคกรของรัฐตองปฏิบัติตอเขาเหลานั้นอยางเดียวกัน ในทางปฏิบัติก็มีการ
แบงแยกบุคคล ออกเปนประเภท ๆ เชน ขาราชการ เกษตรกร เปนตน และปฏิบัติตอบุคคลประเภทเดียวกัน เหมือนกัน
และตอบุคคลตางประเภทกันแตกตางกันออกไป ในกรณีท่ีมีการแยกบุคคลออกเปน ประเภทและปฏิบัติตอบุคคลแตละ

2

ประเภทแตกตางกันออกไปโดยปราศจากเหตุผลที่ “ควรคา แกการรับฟง” (Raison objective Plausible) ถือวาเปน
“การเลือกปฏิบัติ” หรือ “เลือกท่ีรัก มักท่ีชัง” (Discrimination) ซึ่งตองหามตามรัฐธรรมนูญเชนกัน นอกจากน้ี ปรีชา
ชางขวัญยืน ก็ไดอธิบายถึงความเสมอภาคไวอีกวา 1. ความเสมอภาคท่ีเปนการบังคับใชตามกฎหมายอยางเทาเทียมกัน
โดยไมเลือกปฏิบัติ หากเปนพรรคพวกเดียวกันจะปฏิบัติอยางหน่ึงถาไมใชก ็ปฏิบัติอกี อยางหนึ่งที่เรยี กวา 2 มาตรฐาน 2.
ความเสมอภาคทางโอกาส หมายถึงการเปดกวาง และการเขาถึงไดสะดวก เชน การ เปดโอกาสใหเด็กนักเรียนไดรับ
การศึกษาในระดับประถมศึกษาฟรีโครงการ 30 บาทรักษาไดทุก โรค เปด โอกาสใหประชาชนเขาถงึ บริการของรฐั เปนตน
3. ความเสมอภาคแบบแนวราบหมายถึง ความสัมพันธในระดับบุคคล ระดบั องคก ารท่ีมี มติ ิในระดับแนวนอน ทก่ี อ ใหเ กิด
ความสัมพันธใ นเชงิ อำนาจ ในขณะที่ เบอรนารด วิลเล่ียมส (Bernard Williams) ก็ไดใ หความหมายของความ เสมอภาค
หรือความเทาเทียมกันไว 3 ประการดวยกัน คือ 1. มนุษยเทาเทียมกัน ในฐานะที่เปนมนุษยชาติรวมกัน (Common
Humanity) กลาวคือ มนุษยทุกคนสามารถพูดและใชภาษารวมกัน มีอิสระที่จะคิดและใชเคร่ืองมืออยูรวมกัน เปนการ
ยนื ยันขอเท็จจริงที่วามนุษยทุกคนเทาเทียมกนั ในฐานะที่เขาเปนมนุษย 2. มนุษยเ ทาเทียมกันในฐานะที่มีความสามารถ
ทางศีลธรรม (Moral Capacities) 3. ความเทาเทียมกันของโอกาส (Equality Of Opportunity) คือ การแบงปนโอกาส
ท่ีจะไดรับปจจัยใหกับทุกคนอยางเทาเทียมกัน สวน ธนาชัย สุนทรอนันตชัย ไดอธิบายวา คำวา ความเสมอภาค
(Equity) น้ัน มีนัยยะที่แตกตางกับคำวาความเทาเทียมโดยเฉพาะในมุมมองทางกฎหมายแลวจะมิไดเรียกรอง ใหปฏิบัติ
อยางเทาเทียมกันอยางสิ้นเชิง กลาวคือ มิไดหมายความวาบุคคลทุกคนจะไดรับการ ปฏิบัติอยางเทาเทียมกันโดยมิได
คำนึงถึงขอแตกตางใดๆ เลย แตเฉพาะกรณีสิง่ สองส่งิ มี สาระสำคัญเหมือนกนั จึงควรจะไดรับการปฏิบตั ิอยางเทาเทยี มกัน
และกรณีสิ่งสองสิ่งมี สาระสำคัญตางกันจะตองไดรับการปฏิบัติท่ีแตกตางกัน เพราะหากทุกคนจะตองไดรับการปฏิบัติ
อยางเทาเทียมกันโดยมิใหคำนึงถึงขอแตกตางใดๆ เชน บุคคลทุกคนจะตองเสียภาษีอยางเทา เทียมกันหมดโดยมิตอง
คำนงึ ถงึ รายไดของบุคคลนั้นหรอื วาทุกคนจะตองไดรบั สทิ ธิเรยี กรอ งใน การไดรับความสงเคราะหอยา งเทาเทยี มกันโดยไม
คำนึงถึงความจำเปนของบุคคลนั้นๆ ในท่ีสุด จะนำไปสูการปฏิบัติอยางไมเสมอภาคตอบุคคลบางกลุม ดังนั้น เร่ืองของ
ความเสมอภาคจึงตองเปนกรณีทม่ี ีการเปรียบเทียบกันระหวา ง ขอเทจ็ จริง 2 ขอเท็จจริงหรือบุคคล 2 คนหรือกลุมบุคคล
2 กลุม โดยจะตองคำนึงวาไมมี ขอเท็จจริงใดๆ หรอื บุคคลใดหรือกลุมบคุ คลใดจะเหมือนกันทุกประการกับอีกขอเท็จจริง
หน่ึง หรืออีกบุคคลหน่ึง หรืออีกกลุมบุคคลหนึ่ง นอกจากน้ันแลว การจัดสวัสดิการสังคมก็ถือเปน บริการสาธารณะที่รัฐ
ตองจดั ขน้ึ ซงึ่ ภายใตแ นวคิดของการจัดบริการสาธารณะก็เปนท่ยี อมรบั กนั วาตองคำนงึ ถงึ ความเสมอภาคดว ย (บ

คนจนกบั คนรวย: ความเสมอภาคที่ไมเสมอภาคในสังคมไทย

ธนาคารโลก (World Bank) ไดใหคำนิยามของคำวา “ความยากจน” ในแงของความไม สมบูรณของ
สิ่งจำเปนบนพื้นฐาน หรือทางจิตวิทยาวา หมายถึง “สภาวะที่อัตคัดอยางไมอาจจะ ยอมรับไดของมนุษยปุถุชน” ซึ่งเม่ือ
พิจารณาความอัตคัดทาง กายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคม ซ่ึงเกีย่ วพันโดยตรงกบั ความไมส มบูรณของส่ิงจำเปนพืน้ ฐาน

3

ทางวัตถแุ ละทางชีววิทยา โดยทั่วไปมักหมายถึง โภชนาการ สาธารณสุข การศึกษาและที่พัก อาศัย นอกเหนือจากน้ันยัง
รวมไปถึง การขาดแคลนโอกาสและสงิ่ จำเปนพนื้ ฐานของชีวิต เชน โอกาสการศึกษาข้ันประถมศกึ ษา โอกาสการมีสขุ ภาพ
ดี สิ่งเหลา นจ้ี ะนำไปสกู ารมงี านทำและ สรางรายไดในอนาคต ดว ยเหตแุ ละปจ จยั ดังกลาวเรามักจะพบเหน็ บนหนาขาวของ
สอ่ื วา “คน จน” มักจะถกู เอารดั เอาเปรียบโดยชองโหวของกฎหมายอยูบอยครงั้ และมักจะถูกเลือกปฏิบัติ จากเจาหนาที่
ของรัฐในกรณีที่เกิดขอพิพาทระหวางคนรวยกับคนจน และคนจนมักจะติดคุกเปน บทสรุปอยูแทบจะทุกครั้ง แตในความ
เปน จริงในอกี แงม ุมจะพบวา 1. คนจนไมมีเงิน ไมมีหลักทรัพยย่ืนประกันตวั 2. คนจนติดคุกเพราะไมมเี งินจายคาปรับ คือ
กรณีท่ีศาลมีคำพิพากษาวาทำผิดจริง หากพิจารณาในสาระสำคัญของตัวบทกฎหมายจะพบวา ในคดีท่ีมีโทษปรับ แลว
จำเลย ไมม ีเงนิ เสียคา ปรบั จำเลยทเี่ ปน คนจนก็ตอ งติดคุกแทนคา ปรบั ซึ่งใน พ.ร.บ.

แกไขเพ่ิมเติม ประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ 25) พ.ศ. 2559 ที่ไดประกาศลงราชกิจจานเบกษาแลว เม่ือวันท่ี 7 เม.ย.
2559 และมีผลบังคบั ใชในวันที่ 8 เม.ย. 2559 ที่ผานมาวากฎหมายดังกลาว สาระสำคัญ คือ มีการแกไขอัตราเงินในการ
กกั ขัง แทนคาปรับจาก 200 บาท/วัน เปน 500 บาท/วนั และหามกักขังเกินกำหนด 1 ป เวนแตใ นกรณีทีศ่ าลพิพากษาให
ปรับตง้ั แต 200,000 บาทขน้ึ ไป จะส่งั กกั ขังแทนคาปรับเกนิ กวา 1 ปได แตไมเกนิ 2 ป

4

การโดนเอาเปรยี บของมนุษยใ นสมยั กอน

1.การละเมิดสทิ ธิเดก็ เยาวชน และครอบครวั : แมวาภาพรวม สถานการณดา นเด็กและเยาวชนของประเทศ
ไทย มีแนวโนม ดีขึ้นโดยเฉพาะในดา นสุขภาพอนามัย ดานการศกึ ษาและความหวงใยของสงั คม รวมท้ังวัฒนธรรมและ
วิถชี ีวิต ของสงั คมไทย ยงั มคี วามผูกพันที่เขม แข็งของสถาบันครอบครัวและชมุ ชนอยมู าก แตท ิศทางการพฒั นาที่มผี ล
ใหเกิดการ เปล่ียนแปลงทางดานเศรษฐกจิ และสังคมที่ผา นมา สงผลใหสถาบนั ครอบครัวไทยออนแอลง ทั้งในแงของ
การพัฒนา ศักยภาพบุคคลในครอบครัวและการสรางภูมิตานทานใหแกเด็ก รวมถึงการทํารายเด็กโดยบุคคลใน
ครอบครัวอันนํามาซ่ึง ปญหาตางๆ ท่ีมีแนวโนมสูงขึ้นและรุนแรงขึ้น ไดแก เด็กและเยาวชนติดยาเสพติด ถูกลวง
ละเมดิ ทางเพศ เดก็ กําพรา เด็ก เรรอน การใชแรงงานเดก็ เดก็ ในธุรกิจบริการทางเพศ เดก็ หนีภัย เดก็ และเยาวชนใน
สถานสงเคราะหสถานพินิจและ คุมครองเด็กและเยาวชน เรือนจาํ เปนตน ดังนั้นนอกจากการปกปองคุมครองสิทธิ
เด็กแลว การสงเสริมใหทุกภาคสวนของ สังคมตระหนักถึงบทบาทหนาท่ีตอเด็กและเยาวชน ทั้งในและนอกระบบ
การศกึ ษา เพือ่ เปนการวางรากฐานของวัฒนธรรม สทิ ธมิ นษุ ยชนในประเทศไทยจึงเปนเร่อื งสําคัญอยางยงิ่

2. ปญหาความเหลื่อมล้ำ : ทิศทางการพัฒนาที่มุงเนนอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการตลาด โดยใชแรงงานราคา
ถูกเพื่อสง เสริมการลงทุนจากตางประเทศเปนหลัก ไดกอใหเ กดิ ชองวางของการกระจายรายไดอยางหนักหนวง ผใู ช
แรงงานถูกเอาเปรียบและไมไดรับการสงเสริมใหมีขบวนการรวมกลุมของสหภาพ แรงงานตางๆ ท่ีเขมแข็ง สภาพ
ความ ปลอดภัยในการทํางานสวนใหญยังมีความเสย่ี งสูงและไรห ลกั ประกนั สําหรบั ผูหญงิ และผดู อยโอกาสกลมุ ตางๆ
ยังมี ขอจํากัดในการเขาถึงโอกาสการพัฒนาดานการศึกษาและการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งการเขาถึงบริการ
สาธารณะของรฐั ในดานตางๆโดยเฉพาะกระบวนการยุติธรรม

3. ปญหาการคามนุษย: (จาก USA-Trafficking in Persons Report 2014 : TIP Report) ประเทศไทยเปน
ประเทศตนทาง ปลายทางและทางผานสาํ หรับการคา มนุษยเพ่ือการบังคับใชแรงงาน เหยอื่ จากประเทศเพือ่ นบาน 2-
3 ลานคน ตอปสวนใหญมาจากพมาจีน เวียดนาม รสั เซีย อุซเบกิสถาน อนิ เดีย และฟจิจะถูกหลอกลวงใหเขา สูธุรกิจ
ประมง ปจ จยั สนับสนุนใหเ กดิ การคามนุษยคอื พฤติกรรมทุจริตของเจาหนาท่ีท้ังสองประเทศตามแนวชายแดน ลาว
พมา และกัมพูชาซึ่งอาํ นวยความสะดวกใหกบั กระบวนการเคล่ือนยายแรงงานท่ไี มมีเอกสารประจาํ ตัว สหรฐั กลาวหา
วา รฐั บาล ไทยไมมีความพยายามอยางเพียงพอท่ีจะปฏบิ ัติตามมาตรฐานข้ันตาํ่ ในการขจัดการคามนุษย ไทยจงึ ถูกลด
ระดับลงไปอยู ในบัญชกี ลุม ที่ ๓ (Tier 3) ซ่งึ ขณะนี้ไทยกําลังอยูระหวา งการจดั ตั้งศาลคดีเกี่ยวกับการคามนุษยเพอื่ ให
มีการพจิ ารณาคดี ในดา นนี้ไดอ ยางรวดเร็ว

4. ปญหาสิทธิชมุ ชน : ปญหาการขาดแคลนทรพั ยากรในระดบั โลกทวคี วามรุนแรงข้ึนในขณะท่ีคณุ คาเชิง พาณิชย
และเชิงอุตสาหกรรมของทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทยกลับเพ่ิมมากข้ึน ภัยคุกคามจากบรรษัทขามชาติและ

5

กลุมธุรกิจท่ีมุงแยงชิงฐานทรัพยากรธรรมชาติจึงย่ิงรุนแรงและฉกฉวยทรัพยากรของชุมชนและของชาติไปใช
ประโยชนโ ดย ตางชาติในรูปแบบตา งๆแมว า รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ จะไดรบั รองสทิ ธิ
ของบคุ คลและ ชุมชนในการดําเนินโครงการที่อาจมีผลกระทบตอคุณภาพชวี ิต ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
แตในทางปฏิบัติยัง เกิดปญหาความขัดแยงในพื้นที่ บานปลายไปสูการคุกคาม การทํารายจนเสียชีวิต โดยยังไม
สามารถนําผูกระทาํ ความผดิ มาลงโทษได แมประเทศไทยเริ่มตระหนกั ถึงแนวคิดในการพัฒนาท่ถี อื คนเปนศนู ยกลาง
แตทิศทางการพัฒนาท่ีแกปญหา อยางแยกสวน ไมมองปญหาความยากจนวา เปนผลจากทิศทางและโครงสรางการ
พัฒนาที่ไมเหมาะสม ขณะท่ีรัฐและ กลไกของรัฐยังขาดความรูและความเขาใจถึงวิถีชีวิตของชาวบานกับการดูแล
รักษาทรัพยากรธรรมชาติและยังนิยมใชรัฐ เปนศูนยกลางในการกําหนดนโยบายและการดําเนินการ ทําใหไมเห็น
ความสําคัญในการออกกฎหมายเพ่ือรับรองสิทธิ ชุมชนใหชัดเจน และยังไมตระหนักถึงความจําเปนในการสงเสริม
และเคารพสิทธิการมีสวนรวมของประชาชนตั้งแตกอน การตัดสนิ ใจในการวางแผนพัฒนาท้ังระดับชาติการวางแผน
รายสาขาและการวางแผนระดบั พื้นท่ีรวมทั้งการกาํ หนด และอนุมัติโครงการตางๆ ท่ีมีผลกระทบตอชุมชน ไมวาจะ
เปนโครงการของเอกชน หรือบรรษทั ขามชาติหรอื ภาครัฐ ทาํ ใหเกิดปญ หาความขดั แยง จากการดาํ เนนิ โครงการตา งๆ
ท้ังในชุมชนระหวางภาคธุรกิจกับชุมชน และระหวางประชาชนกับ หนวยงานของรัฐอันเปนปญหายืดเย้ือและมี
แนวโนมรุนแรงมากข้ึนในปจจบุ นั

5. ปญหาสิทธขิ องบุคคลหลากหลายทางเพศ : ถูกจาํ กัดบทบาททางสังคม ศาสนา การประกอบอาชีพ การรับ
บริการสาธารณสุขขั้นนพน้ื ฐาน บุคคลหลายเพศถูกมองเหยียดหยาม เลอื กปฏิบัตถิ กู ปด กนั้ โอกาสในการพฒั นาตนเอง
คํา นําหนานามท่ีไมตรงกับเพศ นําไปสูการลดทอนสถานะและศักดิศรีความเปนมนุษยและสิทธทางกฎหมาย คํา
เรยี กในตํารา เรียนหรือส่ือวา“เบ่ยี งเบนทางเพศ ,รักรว มเพศ ,..”ตอกย้ำใหเ กิดทัศนคติท่ีไมถูกตองหรือความไมเขาใจ
นาํ ไปสปู ญ หา ความรนุ แรงทางกายภาพดว ยเหตุแหงอคติ

6. ปญหาสิทธิและสถานะบุคคลของกลุมชาติพันธ: ยังมีการละเมิดสิทธิของกลุมชาติพันธุตางๆโดยเฉพาะท่ี
ยงั มิไดรับสัญชาติไทย ซึ่งกระทบตอการไดร ับสถานะบุคคลตามกฎหมาย การจดั ต้ังถิ่นฐานการประกอบอาชีพ การ
เขาถึง สิทธิและสวัสดิการข้ันพ้ืนฐานในการดํารงชีวิตตามมาตรฐานท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะดานสาธารณสุขและ
การศึกษา มีการ เลือกปฏิบัติอยางไมเปนธรรมและละเมิดศักดิศรีความเปนมนุษยในดานตางๆหนวยงานรัฐยังขาด
ความรูความเขา ใจ เกย่ี วกับวถิ ชี ีวิตของกลุมชาติพันธุโ ดยเฉพาะการพ่ึงพิงธรรมชาติ

7. ปญหาการละเมิดสทิ ธิมนุษยชนในพ้ืนทจี่ ังหวัดชายแดนภาคใต: ผลกระทบดานสิทธิในชวี ิตและรา งกายของ
ประชาชนและเจา หนาที่รัฐในพ้ืนท่ีอันสบื เนื่องมาจากการใชความรุนแรงของผูกอ ความไมสงบ , การใชก ฎหมายความ
ม่ันคงและกระบวนการควบคุมตัวผูตองสงสัยขาดการหาพยานหลักฐานที่ชัดเจน บางครั้งไมมีหมายคนและหมายจับ
จับกุมแบบเหวี่ยงแห หรือซอมใหผูตองหารับสารภาพ ทําใหมีผูถูกดําเนินคดีมากจนกระบวนการทางศาลลาชาและ

6

นําไปสู การสรางเงอื่ นไขในการลดความชอบธรรมในการทําหนาท่ีของฝายรฐั ทั้งในดานความม่ันคงและกระบวนการ
ยุตธิ รรม

8. ปญหาการบังคับใหบุคคลสูญหาย (อุมหาย) : แมวาประเทศไทยจะเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยการปองกัน
บุคคลจากการหายสาบสูญโดยถูก แตก ลับยงั พบปญหาการอุมหาย ซ่งึ ในหลายคร้ังท่ไี มส ามารถนําตัวผกู ระทําความผิด
มาลงโทษไดและมีหลายคร้งั ที่สงสยั วาอาจเก่ยี วของกบั การกระทําของเจาหนา ทข่ี องรฐั เอง เชน กรณีการหายตัวไปของ
แกนนําชาวกะเหร่ียงบานบางกลอย อําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรีที่หายสาบสูญไปหลังจากท่ีถูกเชิญไปพบ
เจาหนาท่ีรฐั เม่อื วันท่ี ๑๗เมษายน ๒๕๕๗ จนถงึ มิถุนายน ๒๕๖๐ นีร้ า งพ.ร.บ. ปองกันและปราบปรามการทรมานและ
การบังคับบุคคลใหสูญหาย ยังไมผานการพิจารณาจากสภานิติบัญญัติแหงชาติจึงยังไมมีกลไก หรือกฎหมาย
ลักษณะเฉพาะมาใชเ รงรดั การดําเนนิ คดีอมุ หายน้ี

9. ปญหาส่ือกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน : เมื่อสื่อนําเสนอขาว เหย่ือ ผูถูกกระทํา ผูตองสงสัย หากสื่อใชคําวา
"คนราย", "ผูกอความผิด” แมมีการสารภาพ หรืออยูในระหวางการทําแผนประกอบก็ดีถือวาเปนการละเมิดสิทธิและ
ศกั ดิ์ ศรขี องผูที่เกี่ยวของในขาวเพราะเขายังเปนเพียง"ผูตองหา/ตองสงสัย หรอื จําเลย" เทานั้น การเปดเผยขอมูลอัต
ลักษณเปดเผยใบหนา ไมวากลองจากสื่อมวลชน หรือชุดเจาหนาที่ตํารวจจัดใหมีการแถลงขาว การโคลสอัพ (close
up) ใบหนาของผูตองหา หรอื นําเสนอภาพท่ีมีความรุนแรง โหดราย กระทบกระเทือนจิตใจผูชม เปนละเมิดสิทธิการ
เปดเผยอัตลักษณสวนบุคคลตอผูท ี่เกี่ยวของในขาวทุกกรณีเพราะวัตถปุ ระสงคข องการรายงานขาวควรมุงเนนเฉพาะ
ขอ เท็จจริงและ ตัง้ คาํ ถามตอเง่ือนงําของคดีละเวนการเปดเผยขอมูลเชิงเราอารมณทอี่ าจเปนการปลุกปน อารมณคนดู
ใหมีความเกลียด แคน ซ่ึงจํานําไปสูการสรางอคติและภาพตัวแทนเชิงลบที่ยากเกินกวาจะแกไ ขไดใ นกรณีของบุคคลท่ี
ไดรับการพิสูจนทาง ศาลแลววาเปนผูบริสุทธ์ิ สื่อมวลชนควรตองคํานึงถึง "สิทธิในการถูกลืม" (right to be
forgotten) โดยการประกาศความ บริสุทธิ์ จากคําพิพากษา เพ่ือทําใหขาวเชิงลบท่ีเคยนําเสนอออกไปถูกลืมไปจาก
สงั คม เพอ่ื ใหผบู ริสทุ ธิ์ มีโอกาสในการ เร่ิมตน ชวี ติ ใหม

10. ปญหาแรงงานขามชาติ: เร่ิมจากการที่แรงงานตางดาวถูกมองวามผี ลกระทบตอความม่ันคงของประเทศ จึง
มมี าตรการควบคมุ แรงงานขามชาติอยางเขมงวด เชน การข้ึนทะเบียน การเดินทาง การเปลย่ี นงานที่ยุงยาก ทําให
แรงงาน สวนหนึ่งอยูนอกระบบ ไมสามารถเขาถึงบริการสุขภาพของรัฐ ไมมีหลักประกันสุขภาพ ไมไดรับสิทธิ
ประโยชนจาก กองทุนประกันสังคมและกองทุนเงินทดแทน ไมมีสิทธิจัดต้ังสหภาพแรงงานหรือนัดหยุดงาน ใน
ขณะเดียวกัน ก็ขาดความ เขาใจทางกฎหมายไทย ไมสามารถเขาถึงกระบวนการทางกฎหมายไทยไดทําใหอาจถูก
ลอลวงมาทํางาน ถูกแสวงหา ประโยชนและตกเปนเหย่ือของกระบวนการคามนุษยประมงผิดกฎหมาย มีการใช
แรงงานเดก็ ตา งชาตทิ ีอ่ ายตุ า่ํ กวา ๑๕ ปโดยอาศัยชอ งโหวท างกฎหมาย

7

11. ปญหาสิทธิของคนพิการ : แมจะมีการประกาศใชพรบ.สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.
๒๕๕๐ แตพบวาคนพิการบางสวนยงั มีปญ หาในการมีสวนรวมต้งั แตขั้นตอนของการคิดและวางแผนในกิจกรรมตา งๆ
ปญหาการสรา งการยอมรับตอคนพิการ การเขาถึงสภาพแวดลอมทางกายภาพ การเดินทางและขอมูล ซึ่งทําใหเปน
อุปสรรคตอการดาํ รงชวี ติ ไดอยางอิสระ รวมถงึ การเขาไปมีสวนรวมในสงั คม “อารยะสถาปตย” การเขาถงึ กระบวนการ
ยุตธิ รรม เชน การขาดลามภาษามือ คนพิการท่ียากจนและอยตู ามลําพัง ไมส ามารถชว ยตวั เองไดมกั จะถูกทอดทิ้งและ
เสี่ยงตอการถูกทํารา ยในรูปแบบตางๆโดยหนวยงานรัฐยังไมมีมาตรการเชิงรกุ ทจ่ี ะปองกันไดปญหาการดํารงชวี ิตอยาง
อิสระและการมมี าตรฐานท่ีเพียงพอ การท่ีคนพิการสามารถเลือกดํารงชีวิตในรปู แบบท่ีตนตองการไดอ ันเปน เร่ืองศกั ด์ิ
ศรี และเสรีภาพในการตดั สินใจ ปญหาสทิ ธิดานการศึกษาตามความสามารถ ความสนใจ ความถนัดและความตองการ
จาํ เปนพเิ ศษของคนพกิ ารแตล ะประเภทและบุคคล ปญหาความพรอมในการทํางาน และมาตรการจา งงานคนพิการไม
ตอบสนองตอความตอ งการของคนพกิ ารทป่ี จจบุ ัน

12. ปญหาในการเขาถึงและชองวางการปฏิบัติในกระบวนการยุติธรรม : มีกฎหมายอีกจํานวนมากที่
ลาสมัยไม เหมาะสมกบั สถานการณสังคมและเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ กระบวนการสอบสวน,การใหประกนั ตวั ,การ
พิจารณาคดี ในศาลตางๆที่ยังลาชาและไมทั่วถึง การเลือกปฏิบัติตอผูอยูในสถานพินิจและเรือนจําจําเปนตองมีการ
ปรับปรุงกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม ดวยการสราง “วัฒนธรรมองคกรดานกฎหมายและกระบวนการ
ยตุ ธิ รรม” โดยเฉพาะการ คมุ ครองสิทธผิ ตู องหา ใหคาํ นงึ ถงึ คุณคาและศกั ด์ิ ศรีความเปนมนษุ ยใหม ากขึ้น ปรับแนวคิด
และกระบวนการลงโทษโดย วิธีตางๆในเรือนจํา ตองมีกฎหมายคุมครองเด็กและเยาวชนเมื่อเปนผูตองหาใหถูกตอง
ตลอดจนผูเสียหายและพยานใน คดีอาญา ถึงแมวารัฐธรรมนูญไดกําหนดใหมีศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครอง เพื่อ
เปน หลักประกันการใชก ฎหมาย

13. ปญหาสิทธิในการเขาถึงกระบวนการยตุ ิธรรมของผูหญิง : เชน คดีขม ขนื มีกระบวนการในการสืบสวน
สอบสวนไมเหมาะสม และระบบวิธีพิจารณาที่ไมเอ้ือตอผูเสียหาย เปนการทํารายความรูสึกของเหย่ือ ทําใหการ
ติดตาม ผูกระทําผิดมาเขาสูกระบวนการไดนอยราย ผูเสียหายจํานวนมากตองเก็บงําความอับอาย ไมกลาเปดเผย
และปลอ ยให คนกระทําผิดยงั กระทาํ ไดตอ ไป

14 . สิทธิในชวี ิตกับการโทษประหารชีวิต : ในบริบทของโลกทุกวันน้ีเปนท่ียอมรบั กันทั่วไปแลววา การ
ลงโทษดวย วธิ กี ารประหารชวี ิตน้ัน นอกจากจะเปน การละเมดิ สิทธใิ นชีวิตและรา งกายของมนษุ ยแลว ยังไมกอใหเ กิด
การลดลงของ อตั รากออาชญากรรม มีเอกสารรายงานการวิจัยหลายช้นิ ท่ีเปนเครื่องยืนยันวา การลงโทษดวยวิธกี าร
ประหารชีวิตไมใช ปจจัยหลักในการชวยลดอัตราการกออาชญากรรมแตอยางใด สําหรับประเทศไทย มีแนวคิดใน
การยกเลิกโทษประหาร ชีวิตโดยผลักดันใหอยูในแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติฉบับท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๖๑ ดวย

8

การเสนอใหปรับเปล่ียนโทษ ประหารชีวิตเปน จําคุกตลอดชีวิตแทน ซง่ึ สอดคลองกับหลักการดา นสิทธิมนษุ ยชนตาม
รฐั ธรรมนญู และปฏิญญาสากลวา ดวยสิทธิมนษุ ยชนใหก ารรบั รองไวในการที่จะตอ งพึงเคารพในคณุ คาของชีวติ มนษุ ย

9

รูปแบบของความหลากหลายทางเพศ

กลุมคนท่ีมีความหลากหลายทางเพศ หรือเพศทางเลือก LGBTQ เปนกลุมคนท่มี ีอตั ลักษณทางเพศ หรือ

รสนยิ มทางเพศที่แตกตางไปจากคนสว นใหญในสงั คม โดยคำวา LGBTQ ยอ มาจาก

• L - Lesbian กลุม ผูห ญิงรกั ผูหญิง
• G - Gay กลมุ ชายรกั ชาย
• B - Bisexual หรอื กลุม ทรี่ ักไดทัง้ ผชู ายและผูห ญิง
• T - Transgender คอื กลมุ คนขา มเพศ จากเพศชายเปนเพศหญิง หรือเพศหญิงเปน เพศชาย
• Q - Queer คอื กลุม คนท่พี งึ พอใจตอ เพศใดเพศหน่งึ โดยไมไดจำกดั ในเรือ่ งเพศ และความรัก

นอกจากน้ีเพศทางเลือกยังสามารถอธบิ ายตามความหมายของเพศวถิ ี และอตั ลกั ษณท างเพศได ดังนี้

• เพศวิถี (Sexual Orientation) คือ ความรูสึก รสนิยมทางเพศ รวมถึงความพึงพอใจทางเพศท่ีมีตอบุคคล

อ่ืน โดยจะแบง ออกเปน 4 ลกั ษณะหลกั ๆ ไดแก
o รักตางเพศ คอื ผูท่ีมีรสนิยมชื่นชอบเพศตรงขา ม หรือบคุ คลตางเพศ เชน ผูช ายทชี่ อบผูหญงิ หรือผูห ญงิ ที่
ชอบผชู าย
o รักเพศเดียวกัน คือผูที่มีรสนิยมช่ืนชอบเพศเดียวกัน แบงออกเปน 2 กลุมหลัก ๆ ไดแก เลสเบ้ียน
(Lesbian) และเกย (Gay)
o ไบเซ็กชวล (Bisexual) คือผทู ี่มีรสนยิ มช่นื ชอบท้งั เพศหญงิ และเพศชาย โดยจะมีอารมณเสนหากับเพศ
ตรงขา ม หรอื เพศเดยี วกันก็ได
o ไมฝกใฝท างเพศ คือผทู ไ่ี มสนใจเร่อื งเพศสมั พนั ธ แตเพยี งรูสึกสนิทสนม ผูกพันกบั บุคคลอ่ืน

• อตั ลักษณทางเพศ (Gender Identity) คอื การรับรูวา ตนเองตองการเปนผูชาย หรือผูหญิง ซ่ึงบางคนอาจ

มีอัตลักษณทางเพศตรงกบั อวัยวะเพศ และโครงสรางทางรา งกาย แตบ างคนอาจมอี ัตลักษณท างเพศแตกตางจาก
โครงสรางทางรางกาย หรือเรียกคนกลุมนี้วา “คนขามเพศ (Transgender)” โดยคนขามเพศอาจเปนผูที่ไม
สามารถกำหนดใหต นเองเปนผูชาย หรอื ผูหญิงเพยี งเพศใดเพศหน่งึ ไดด วย

10

เพศทางเลอื กเปน ความผิดปกติหรอื ไม

ในสมัยกอนอาจมองวาการขามเพศ หรือกลุมคนที่อยูในเพศทางเลือกมีความผิดปกติที่เกี่ยวกับทางจิตใจ โดยมี
เอกสารทางราชการระบุวา ‘กะเทย’ เปนผูมีความผิดปกติทางจิตถาวร เปนโรคจิตวิกลจริต ซึ่งความคิดเหลาน้ีลวนถูก
ครอบงำดวยวัฒนธรรม หรอื บรรทัดฐานทางสังคมจนเกิดการเลือกปฏิบตั ทิ ำใหค นกลุมนีไ้ มไ ดรับสิทธทิ ค่ี วรไดเทา ท่คี วร ใน
ปจจุบันสังคมไดเรม่ิ มีการเอาอิทธิพลทางความคิด และบรรทัดฐานทางสังคมแบบตะวันตกเขามา เราจึงสามารถพบเห็น
กลุมคนที่เปนเพศทางเลอื กไดทัว่ ไป โดยสังเกตไดจากสื่อตา ง ๆ เชน หนังสือ ภาพยนตร หรือมศี ัพทท ่ีบัญญัติใชเฉพาะกับ
สื่อบนั เทงิ ทเ่ี ก่ยี วกบั ชายรักชาย หรอื ท่ีเรารจู ักกันในชือ่ วา “ซีรสี วาย” น่ันเอง
ในทางการแพทยบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศไมไดเปนโรค หรือมีความผิดปกติทางจิตใจแตอยางใด เพียงแตเปน
สว นผสมท้ังภายในและภายนอกที่หลากหลาย เชน ฮอรโมน สารเคมีในสมอง การเลี้ยงดู วฒั นธรรม และพ้ืนฐานทางสังคม
ทห่ี ลอหลอมตวั บคุ คลจึงไมใ ชค วามผิดปกตแิ ตอยางใด

ปญ หาอตั ลักษณทางเพศสามารถแกไ ขไดโดยทางการแพทย

ผูที่มีความแตกตางดานอัตลักษณทางเพศอาจมีปญหาทางรางกาย หรือเพศสรีระที่ไมตรงกับความตองการของ
ตนเอง แพทยจ ะชวยเหลือโดยการแกไขรา งกายใหส อดคลองกับภาวะจิตใจ โดยจะมีการดำเนนิ การ ดังนี้

• วนิ ิจฉัย เริ่มตนจากการปรึกษาจิตแพทยเพื่อวินิจฉัย และใหคำแนะนำในการปรับตัว และการส่ือสารกับบุคคลอ่ืน
เพอ่ื ใหทราบถึงวิธีการดูแลทีเ่ หมาะสม

• การแปลงเพศ ผูทต่ี ดั สินใจจะรับการผา ตัดแปลงเพศจะตองไดรับการประเมินความพรอมในการผาตดั จากจติ แพทย
และควรเขารับการผาตัดจากศัลยแพทยท่ีมีความเช่ียวชาญ และควรทำการผาตัดในสถานพยาบาลท่ีไดมาตรฐาน
เพ่อื ความปลอดภัย

แนวปฏบิ ตั ิสำหรับครอบครัวท่ีมลี กู หลานเปน LGBTQ

ปญหากลุม LGBTQ ตองเผชิญที่สำคัญท่ีสุดไมไดมีแคเพียงบรรทัดฐานทางสังคม แตยังมีปญหาในเรื่องการยอมรับ
จากคนในครอบครัว เนือ่ งจากคนกลุมนี้อาจตองทำตามความหวงั ของพอแม หรือตองรกั ษาช่อื เสียงของวงศตระกลู ซง่ึ เปน
เรอ่ื งสวนทางกับผทู ่ีอยใู นกลมุ ความหลากหลายทางเพศ ครอบครัว หรือคนรอบขางอาจยังขาดความรูความเขา ใจในตัวตน
หรือวิถที างเพศของคนกลุมนี้ จึงควรเรยี นรูแนวปฏิบัติเมอ่ื พบวา ลกู หลานเปน LGBTQ ดังน้ี

• ไมเปรียบเทียบ ควรสงเสริมการรูคุณคาในตนเอง ไมควรเปรียบเทียบลูกหลานกับใคร เพราะจะเปนการสราง
ความกดดันสงผลใหไ มอ ยากเปด ใจกบั เรามากย่งิ ข้นึ

11

• สอื่ สารในเชิงบวก มีการส่ือสารระหวา งกัน เนนการมองผลดมี ากกวาผลเสีย หมั่นพูดคุย เปด โอกาสใหอีกฝายได
บอกเลา เรือ่ งราว และรบั ฟงความคดิ เหน็ ดว ยความเขา ใจ

• ใหค วามสำคัญ ใสใ จ และชน่ื ชมในส่ิงทีท่ ำได แตไ มควรเยินยอเกินจริง
• ใหโอกาสไดเ รยี นรู โดยอาจดูแลอยหู า ง ๆ หรอื คอยใหความชวยเหลือเมื่อจำเปน
• สังเกตพฤติกรรม วัยรุนท่ีเปนเพศท่ีสามอาจตองเผชิญกับความเปล่ียนแปลงตาง ๆ คนในครอบครัวจึงตองคอย

สงั เกตพฤติกรรมที่อาจเปนสัญญาณวาตนเองรูส ึกแปลกแยกจากสังคม หรือมีพฤติกรรมการแสดงออกทางเพศที่
ไมเ หมาะสม ใชความรนุ แรง มอี าการซึมเศรา

12

ความคดิ และวัฒธรรมของคนในสมัยกอ นและปจจุบนั

ในสมัยกอ น

ในสมัยกอนน้ันความเทา เทียมมีนอยมาก คนท่ีมีความแตกตางหรือออนแอกวา ก็จะถูกเอาเปรียบตางๆนาๆ และ
ถูกกดขจ่ี ากคนสว นมาก เชนการมีรสนิยมทางเพศแตกตางจากคนสว นใหญ ผูหญงิ ท่ีโดนเอาเปรยี บจากผูชาย คนผิวขาวที่
เหยยี ดคนสีผวิ อื่นๆ การเอาเปรียบคนท่พี ิการ ในสมัยกอนนั้นถาพบเห็นผคู นที่ผดิ แปลกจากคนสวนใหญ ผูคนเหลานน้ั กจ็ ะ
โดนเอาเปรยี บ โดนเหยียด โดนลอ ซ่ึงมันไมยุติธรรมเอาซะเลย ยกตวั อยางหัวขอใหญๆ ที่ยังเปนปญหามาจนถึงปจจบุ ัน
เลยก็คือปญหาของความไมเทาเทียมระหวาง “ผิวขาว” กับ “ผิวสี” ตอไปนี้คือตัวเลขทางสถิติ 5 ดานท่ีจะชวยบอกเลา
เรื่องราว

1.) มีคนผิวดำเพยี งแค 2 คนเทานัน้ ทีเ่ ปนอภิมหาเศรษฐี (black billionaires)

คือ Oprah Winfrey และอดีตดารานักบาสเก็ตบอล Michael Jordan น้ีเปนการเปรียบเทียบกับอภิมหาเศรษฐีอีก 500
คนในอเมริกา

2.) มคี นผิวดำเพียง 9.8% เทา นั้นท่ีเรียนจบปริญญาตรี

ในระดบั ไฮสคูลน้ันนักเรียนผิวดำมผี ลการเรยี นดี แตมีเพยี งแค 30% เทานัน้ ท่ีเรยี นจบจนไดรบั ใบประกาศณียบตั ร ในขณะ
ที่มีนักเรียนที่เปนคนผิวขาวเพียง 27% เทานั้นท่ีเรียนจบ แตคนผิวดำมีจำนวนนอยกวา 10% ท่ีเรียนจบปริญญาตรี
ในขณะทีค่ นผวิ ขาวมจี ำนวนถึง 14.4% ทไี่ ดรับปริญญา

3.) 75% ของคนอเมริกันผิวขาวคบแตคนผวิ ขาวดว ยกันเปน เพอ่ื นเทาน้นั

การสำรวจนี้จัดข้ึนโดยสถาบันวิจยั ทางศาสนาเพ่ือสาธารณะ(Public Religion Research Institute) ในป 2013 เมื่อมีการ
ถามคำถามตางๆ เพื่อประเมินถึงความหลากหลายทางมิตรภาพของผูคน พบวา คนอเมริกกันผิวดำ 65% คบคนผิวดำเปน
เพอ่ื น และคนอเมรกิ ันผวิ ขาว 75% ก็จะคบเฉพาะคนผวิ ขาวดว ยกันเทานน้ั เปนเพ่ือนในวงสังคมของพวกเขา

4.) 10.9% ของชาวอเมรกิ ันผิวดำตกงาน (black unemployment) ตัวเลขอัตราการวางงานในระหวา งประชาชนผิว
ดำยังคงสูงมากเกินไปกวาคนผิวขาว ปจจุบันนี้มีคนอเมริกันผิวขาวเพียง 4.8% เทาน้ันท่ีไมมีงานทำ เม่ือเปรียบเทียบกับ
อัตราเฉลีย่ โดยรวมจาก 5.8%

5.) ผูชายที่ติดคกุ เปนคนผิวดำถึง 37% ตัวเลขไดมาจาก "ประชากรในคุก ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2013" แสดงใหเห็น
วาชาวอเมริกนั ผิวดำมีสัดสวนของผตู องขงั ที่ไมเหมาะสม ในขณะท่ีมคี นผิวขาวเพียง 37% และเปนชาวสเปนและโปรตุเกส
เพียง 22% เทาน้ัน

13

ในปจ จุบนั

วันที่ 8 มีนาคมของทุกปถือเปนวันสตรีสากลซึ่งเปนวันสำคัญท่ีท่ัวโลกจะไดเฉลิมฉลองความสำคัญของสิทธิของ
ผหู ญิงและความเทา เทียมทางเพศโดยในป 2021 น้ีธีมของวันสตรีสากลคอื Choose to Challenge หรือการเลอื กท่จี ะยืน
หยัดทาทายอำนาจและความอยุติธรรมแอมเนสต้ี อินเตอรเนชนั แนล ประเทศไทยในฐานะองคกรหลักดานสิทธิมนุษยชน
จึงจัดโครงการหองเรียนสิทธิมนุษยชนหัวขอ “วันสตรีสากล: หลากหลายความเหลื่อมล้ำเธอยังตองเจออะไรอีกบางในป
2021” โดยมุงเนนประเดน็ เกี่ยวกับความทาทายท่ีนักเคลื่อนไหวดานความเทาเทียมทางเพศตอ งเผชิญในยคุ ปจจบุ ันแมว า
การตอสเู กี่ยวกบั สทิ ธสิ ตรีจะดำเนนิ มาอยา งตอ เนอื่ งและยาวนานก็ตาม

จากการแตง ตั้ง"วันสตรสี ากล"จะเห็นไดชัดวา ในปจ จุบนั โลกของเรานั้นใหความสำคญั กบั ความเทา เทียมมากขน้ึ

14

สถานการณความเทา เทียมในปจจบุ นั

เทคโนโลยีในโลกปจ จบุ ันพัฒนาไปไกลมาก สวนทางกับความไมเสมอภาคทางเพศในสังคมไทยยงั คงมีอยู แมด ู
เหมือนจะเปดกวางมากข้ึน แตยังคงพบความเหลื่อมล้ำระหวางเพศชาย เพศหญิง และกลุมความหลากหลายทางเพศ
(LGBT) หรือ “เพศที่สาม” เน่ืองมาจากสังคมไทยถูกบมเพาะจากการเล้ียงดูในครอบครัวมานานจากรุนสูรุน ดวยระบบ
ชายเปนใหญ ทำใหเ กิดชองวา งความไมเ ทาเทียมไมเปนธรรมเกิดขน้ึ ในหลายดา นปจ จุบันจะบอกวาความเหลอื่ มล้ำทางเพศ
ลดลงคงพูดยาก แตที่ผานมาไดรับความสนใจและแกไขจากสังคม ท้ังในเชิงนโยบายมากขึ้น รวมถึงไดมีกลไกตางๆ ในเชิง
กฎหมายออกมา อยา งพ.ร.บ.ความเทา เทียมระหวา งเพศ พ.ศ. 2565 ซ่ึงไมใชเ พียงการแกไ ขเฉพาะความเทาเทยี มระหวาง
หญิงและชายเทานน้ั ยังรวมถึงกลมุ ความหลากหลายทางเพศ ในกลมุ ชายรักชาย หญงิ รักหญิง และคนขา มเพศ นอกจากนี้
ยังมีนโยบายและแผนพฒั นาระดบั ชาตสิ ำหรับผหู ญงิ

สงั คม LGBT ในแวดวงการศึกษาในปจ จุบนั ไดรับการยอมรบั มากนอยแคไ หน

พอมันเปน แวดวงวิชาชีพ คนก็จะยดึ ติดอยูก บั การแบงแยกเพศแบบชัดเจน เพราะมันทำใหคนเขาไปอยูในระบบ
ระเบียบ อยูในความตกลงขององคกรไดงาย เชนองคกรมีชุดยูนิฟอรมแบบผูชาย ผูหญิง คนท่ีมีหลากหลายทางเพศก็
อาจจะรูสึกวาอาจจะไมไดอยากใสฟอรมตามเพศ ปญหาแบบนี้มันจะเกิดขึ้น คนก็จะมองวา LGBT ไมไดอยใู นกลองของ
เพศที่กำหนดไว ส่ิงท่ีเกิดข้ึนคือ องคกรก็ไมพอใจ คนท่ีไปทำงานในองคกรก็จะไมพอใจท่ีตองไปทำ ย่ิงเฉพาะคนขามเพศ
ปญหาเร่ืองการแตงกายและความคาดหวงั จะเกดิ ข้นึ เวลาทำบัตรพนกั งาน มนี ายรึเปลา? รูปละตอ งเปนผหู ญิงหรือผูชาย?
มันกลายเปนความขดั แยง ท่ีเกิดขน้ึ ในองคกร องคกรก็ตอ งทำตามระเบียบยง่ิ เราพูดถึงวงการศึกษา ยิ่งมคี วามตองการทส่ี ูง
มาก ความตองการแรกของหนวยงานคือใหคนอยูในระเบียบสามารถควบคุมได และไมไดอนุญาตใหคนเปนอะไรก็ไดที่
อยากเปน เพราะวิชาชีพมันตองมีความนาเชื่อถอื ดังน้ันการเปน LGBT ในงานวิชาชีพมักจะถูกพูด และเขา ใจเสมอวา คน
พวกนีไ้ มม ีความนา เชื่อถือหรอก เพราะมบี ุคลิกภาพทีไ่ มโ อเค อาจจะไมม สี ภาวะทางจิตใจทีด่ ี เพราะมอี ารมณส วงิ

วธิ ีคิดเร่ืองการทำความเขาใจคนมันไมเหมือนกัน อยา งตางประเทศมนั มีระบบกฎหมาย ระบบนโยบายท่ีสนับสนุน
คน ใหพื้นท่ีคน และมีแนวคิดสิทธิมนุษยชนเปนท่ีตั้ง ถาประเทศเหลานั้นเคยมีการเลือกปฏิบัติมายาวนาน และพยายาม
แกไข รวมถงึ มตี อสูของคนในประเทศนั้นดวย แตบ านเราไมไดเ ปนอยา งนน้ั เลย มนั ปลอ ยสะเปะสะปะ ซึ่งคนก็อาจจะมอง
วาขอดีของมนั คือถาอยากใสชุดเปนผูหญิง ก็เดินตามถนนได กะเทยก็เยอะแยะ น้ันหมายความวาประเทศน้กี เ็ ปนประเทศ
เสรสี ำหรบั LGBT แลว

15

อางอิง

ไทยรัฐออนไลน. 2563. เหลื่อมล้ำทางเพศฝงลึกเปนหญิงแสนลำบากเพศที่สามถูกเหยียดสังคมไทยยังเลือกปฏิบัติ
(ออนไลน) . https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/1915547, 3 ธนั วาคม 2565.
โรงพยาบาล. 2563. LGBTQ ความหลากหลายทต่ี องเขา ใจ (ออนไลน)
https://www.petcharavejhospital.com/th/Article/article_detail/LGBTQ, 3 ธนั วาคม 2565.
อาจารย ดร.รชั ดา ไชยคุปต. 2562. รูจกั และเขาใจความเสมอภาคทางเพศ (ออนไลน) .
https://www.chula.ac.th/cuinside/23302/, 3 ธนั วาคม 2565.


Click to View FlipBook Version