The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KJST.Foreign.Dept, 2022-03-23 21:41:19

ภาษาจีนเบื้องต้น หน่วยที่ 2

หน่วยที่ 2

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 9

รายวิชา ภาษาจนี เบอ้ื งตน้ 2 รหัสวชิ า จ 30202 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 7 现在几点了? เวลา 8 ชวั่ โมง

เรอื่ ง ตอนนก้ี โี่ มงแล้ว เวลา 1 ชว่ั โมง

ผู้สอน นางสาวสพุ รรษา จินตบตุ ร โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สุราษฎรธ์ านี

แนวคดิ สำคัญ
เนื่องจากการดำเนินชีวิตของคนเราเกี่ยวเนื่องผูกพันกับวันเวลา ดังนั้นนักเรียนจึงมีความ

จำเป็นต้องเรียนรู้วันเวลาเป็นภาษาจีน เพื่อที่จะสามารถใช้ในการสื่อสาร หรือนัดหมายวันเวลาได้
อย่างถกู ตอ้ ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตคี วามเรอ่ื งทีฟ่ ังและอ่านจากสอ่ื ประเภทตา่ งๆและแสดง
ความคิดเห็น
ตัวชว้ี ัด
1. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสัน้ ๆตามที่ฟังหรอื อ่านจากส่ือที่เป็น
ความเรียงและไมใ่ ชค่ วามเรียงในรปู แบบตา่ งๆ
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอข้อมูลขา่ วสาร ความคดิ รวบยอดและความคดิ เหน็ ในเร่ือง

ตา่ งๆโดยการพูดและการเขียน

ตวั ชีว้ ดั
1. พดู หรอื เขียนใหข้ ้อมูลเกยี่ วกับตนเอง เพอ่ื น สิง่ แวดล้อม และเร่ืองใกลต้ ัว
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นกั เรยี นสามารถอ่านออกเสียงคำศพั ทไ์ ดอ้ ยา่ งถูกต้อง
2. นกั เรยี นสามารถบอกความหมายของคำศัพทไ์ ด้
3. นักเรียนสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจนี ได้

สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

1. คำศัพท์ทใ่ี ช้บอกเวลา

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

1. นกั เรยี นสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝเ่ รยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทูนสถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรมต่าง
กระบวนทัศน)์

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่อื )

 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู)้

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้  L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
ชน้ิ งาน

ตอบคำถาม ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมนิ ระดบั 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน
สะทอ้ น สะทอ้ นความคิด ตามตัวชี้วัด
ความคดิ / ต่อไปนี้ การตอบคำถาม = ทำไดท้ กุ ตวั ช้ีวดั
ทดสอบ 1. ความถูกต้องครอบคลมุ ส่งิ สะทอ้ นความคดิ ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
ที่ไดเ้ รยี นรู้
2. ความสมเหตุสมผล = ทำไดม้ าก
3. การต้ังคำถามทีอ่ ยากรู้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำไดน้ อ้ ย

ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ

1 คะแนน

= ทำไมไ่ ดถ้ ึงทำได้นอ้ ยมาก

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน

ทดสอบอา่ น/ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง/ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
สนทนา/ สนทนา/เขียนคำศพั ท์ การอ่าน/ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
สนทนา/เขียน ชดั เจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
เขยี นคำศพั ท์ คำศัพท์ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน
บางส่วน 1 คะแนน
ชิน้ งาน ประเมนิ ความสมบูรณข์ อง แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวม 6-10
ช้ินงาน ช้นิ งาน คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรวมตั้งแต่
0-5 คะแนน
ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมิน
ชัดเจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
บางส่วน 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 6-10
คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนนรวมตงั้ แต่
0-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมตวั ช้ีวดั แบบประเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอให้
ระหว่างเรียน ต่อไปน้ี คุณลกั ษณะอนั 3 คะแนน
พงึ ประสงค์ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ังให้ 2
- ซือ่ สัตย์สจุ รติ คะแนน
- ความมวี นิ ัย พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ังให้ 1 คะแนน
- ใฝเ่ รียนรู้ 8-10 ดี
- มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6-7 พอใช้
ต่ำกว่า6 ปรบั ปรงุ

กิจกรรมการเรยี นรู้

ใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ 3 P
ข้ันที่ 1 ขน้ั นำเสนอ

1. ครูถามนักเรียนว่า “ตอนนี้เป็นเลาเท่าไหร่/ตอนนี้กี่โมงแล้ว” เมื่อนักเรียนตอบแล้ว ครู
ถามนักเรียนว่า “ภาษาจีนสามารถพูดได้ว่าอย่างไร เนื่องจากการบอกเวลาต้องใช้ความรู้เรื่องตัว
ตวั เลขดงั นนั้ เรามาดูกันว่าวนั ตวั เลขในภาษาจนี พูดว่าอย่างไร

2. ครเู ปดิ คำศัพท์บนจอโปรเจ็คเตอร์และออกเสยี งใหน้ กั เรียนฟัง 2 ครั้งแล้วให้นักเรียนออก
เสียงตาม ครูให้นักเรียนออกเสียง

ตวั เลข 0-10 0
1
零 ling 2
一 yī 3
二 èr 4
三 sān 5
四 sì 6
五 wǔ 7
六 liù 8
七 qī 9
八 bā 10
九 jiǔ
十 shí

3. ให้นักเรียนสงั เกตวา่ การบอกจำนวนนั้นเมื่อต้องการอ่านเลข 11 นักเรียนสามารถนำ 十
shíแล้วตามด้วย 一 yī หรือ21 นกั เรียนสามารถพูดได้วา่ 二十一 Èrshíyī

ขนั้ ท่ี 2 ขัน้ ฝกึ

4. เม่อื นกั เรียนรจู้ ักตวั เลขภาษาจีนแลว้ ฝกึ นักเรียนด้วยการให้นักเรยี นรว่ มกนั เลน่ เกมบิงโก
หมายเลข 0-50 ด้วยการให้นักเรยี นแต่ละคนหยบิ สลากตัวเลขแล้วอ่านเปน็ ภาษาจนี ใหเ้ พื่อนฟงั เลล่น
ตอ่ ไปจนมีคนบิงโก

5. นอกจากตัวเลขหลักหนว่ ยและหลงั สบิ แล้วครูนำเสนอหลังร้อย พันและหมื่น

十(shí) 一(yī) wàn
二(èr) 十(shí) 一(yī)

百 bǎi 千 qiān 万

ข้นั ท่ี 3 ขน้ั นำไปใช้

6. ให้นักเรียนทำแบบฝกึ หดั เรื่องตัวเลขโดยใหนกั เรียนเขียนคำอา่ นเปน็ พินอิน

1.16 2. 28

3. 39 4. 41

5. 52 6. 60

7. 73 8. 87

9. 95 10. 172

11. 385 12. 759

13. 828 14. 6,390

15. 18,375

สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้
ส่ือการเรยี นรู้
1. power point
2. ใบความรู้

แหลง่ เรียนรู้
1. www.google.com

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 10

รายวชิ า ภาษาจีนเบอ้ื งต้น 2 รหสั วิชา จ 30202 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 现在几点了? เวลา 8 ช่วั โมง

เร่ือง ตอนน้กี ี่โมงแล้ว เวลา 1 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวสุพรรษา จนิ ตบตุ ร โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคัญ
เนื่องจากการดำเนินชีวิตของคนเราเกี่ยวเนื่องผูกพันกับวันเวลา ดังนั้นนักเรียนจึงมีความ

จำเป็นต้องเรียนรู้วันเวลาเป็นภาษาจีน เพื่อที่จะสามารถใช้ในการสื่อสาร หรือนัดหมายวันเวลาได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเรอื่ งที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดง
ความคดิ เห็น
ตวั ชีว้ ดั
1. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆตามทีฟ่ ังหรอื อ่านจากส่ือที่เปน็
ความเรียงและไม่ใชค่ วามเรียงในรปู แบบต่างๆ
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอดและความคดิ เหน็ ในเรื่อง

ตา่ งๆโดยการพูดและการเขยี น

ตัวช้ีวัด
1. พดู หรือเขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพอื่ น ส่งิ แวดล้อม และเรือ่ งใกล้ตวั
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถอ่านออกเสยี งคำศพั ท์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2. นักเรยี นสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ได้
3. นักเรียนสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

1. คำศัพท์ทใ่ี ช้บอกเวลา

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

1. นกั เรยี นสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝเ่ รยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทูนสถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรมต่าง
กระบวนทัศน)์

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่อื )

 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู)้

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้  L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
ชน้ิ งาน

ตอบคำถาม ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมนิ ระดบั 4 ดเี ยี่ยม 4 คะแนน
สะทอ้ น สะทอ้ นความคิด ตามตัวชี้วัด
ความคดิ / ต่อไปนี้ การตอบคำถาม = ทำได้ทุกตวั ช้ีวดั
ทดสอบ 1. ความถูกต้องครอบคลมุ ส่งิ สะทอ้ นความคดิ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ที่ไดเ้ รยี นรู้
2. ความสมเหตุสมผล = ทำได้มาก
3. การต้ังคำถามทีอ่ ยากรู้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้น้อย

ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ

1 คะแนน

= ทำไมไ่ ดถ้ งึ ทำได้นอ้ ยมาก

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน

ทดสอบอา่ น/ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง/ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
สนทนา/ สนทนา/เขียนคำศพั ท์ การอ่าน/ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
สนทนา/เขียน ชดั เจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
เขยี นคำศพั ท์ คำศัพท์ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน
บางส่วน 1 คะแนน
ชิน้ งาน ประเมนิ ความสมบูรณข์ อง แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวม 6-10
ช้ินงาน ช้นิ งาน คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรวมตั้งแต่
0-5 คะแนน
ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมิน
ชัดเจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
บางส่วน 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 6-10
คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนนรวมตงั้ แต่
0-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมตวั ช้ีวดั แบบประเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอให้
ระหว่างเรียน ต่อไปน้ี คุณลกั ษณะอนั 3 คะแนน
พงึ ประสงค์ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ังให้ 2
- ซือ่ สัตย์สจุ รติ คะแนน
- ความมวี นิ ัย พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ังให้ 1 คะแนน
- ใฝเ่ รียนรู้ 8-10 ดี
- มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6-7 พอใช้
ต่ำกว่า6 ปรบั ปรงุ

กจิ กรรมการเรียนรู้

ใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ 3 P
ขัน้ ท่ี 1 ขนั้ นำเสนอ
1. ครนู ำเสนอภาพนาฬิกา แล้วถามนักเรียนว่าตอนนี้ก่โี มง อย่ใู นชว่ งเวลาใด

2. แจง้ จุดประสงคใ์ นการเรยี นวนั น้ี เร่ืองเวลา คำศพั ท์บอกชว่ งเวลา

ขน้ั ที่ 2 ข้นั ฝึก

3. ครสู อนอา่ นคำศพั ทบ์ อกชว่ งเวลา แลว้ ใหน้ กั เรียนอ่านตาม

点 diǎn นาฬกิ า

分 fēn นาที

早晨 zǎochén เช้ามดื

早上 zǎoshang เชา้

上午 shàngwǔ สาย

中午 zhōngwǔ เที่ยง

下午 xiàwǔ บ่าย

晚上 wǎnshàng เย็น

4. ใหน้ กั เรียนจบั คู่ฝกึ อ่านและแปลความหมายโดยใหเ้ พ่อื นช่วยฟงั และแกไ้ ขคำท่อี ่านผดิ จน
สามารถอา่ นถกู ต้องและแปลความหมายได้ครบทุกคำ

ขั้นท่ี 3 ขนั้ นำไปใช้

5.ใหน้ กั เรยี นทส่ี ามารถอ่านได้แลว้ สอบอ่านแบบเดย่ี วกับครูผู้สอน พร้อมท้ังแปลความหมาย
ของคำนน้ั ๆให้ถกู ต้อง และช่วยเหลอื เพือ่ นที่ยงั ไมส่ ามารถอา่ นได้
สอื่ /แหล่งเรยี นรู้

ส่อื การเรยี นรู้
1.power point
2.ใบความรู้
แหลง่ เรยี นรู้
1. www.google.com

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 11

รายวชิ า ภาษาจีนเบอ้ื งต้น 2 รหสั วิชา จ 30202 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 现在几点了? เวลา 8 ช่วั โมง

เร่ือง ตอนน้กี ี่โมงแล้ว เวลา 1 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวสุพรรษา จนิ ตบตุ ร โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคัญ
เนื่องจากการดำเนินชีวิตของคนเราเกี่ยวเนื่องผูกพันกับวันเวลา ดังนั้นนักเรียนจึงมีความ

จำเป็นต้องเรียนรู้วันเวลาเป็นภาษาจีน เพื่อที่จะสามารถใช้ในการสื่อสาร หรือนัดหมายวันเวลาได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเรอื่ งที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดง
ความคดิ เห็น
ตวั ชีว้ ดั
1. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆตามทีฟ่ ังหรอื อ่านจากส่ือที่เปน็
ความเรียงและไม่ใชค่ วามเรียงในรปู แบบต่างๆ
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอดและความคดิ เหน็ ในเรื่อง

ตา่ งๆโดยการพูดและการเขยี น

ตัวช้ีวัด
1. พดู หรือเขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพอื่ น ส่งิ แวดล้อม และเรือ่ งใกล้ตวั
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถอ่านออกเสยี งคำศพั ท์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2. นักเรยี นสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ได้
3. นักเรียนสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

1. คำศัพท์ทใ่ี ช้บอกเวลา

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

1. นกั เรยี นสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝเ่ รยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทูนสถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรมต่าง
กระบวนทัศน)์

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่อื )

 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู)้

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้  L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
ชน้ิ งาน

ตอบคำถาม ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมนิ ระดบั 4 ดเี ยี่ยม 4 คะแนน
สะทอ้ น สะทอ้ นความคิด ตามตัวชี้วัด
ความคดิ / ต่อไปนี้ การตอบคำถาม = ทำได้ทุกตวั ช้ีวดั
ทดสอบ 1. ความถูกต้องครอบคลมุ ส่งิ สะทอ้ นความคดิ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ที่ไดเ้ รยี นรู้
2. ความสมเหตุสมผล = ทำได้มาก
3. การต้ังคำถามทีอ่ ยากรู้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้น้อย

ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ

1 คะแนน

= ทำไมไ่ ดถ้ งึ ทำได้นอ้ ยมาก

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน

ทดสอบอา่ น/ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง/ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
สนทนา/ สนทนา/เขียนคำศพั ท์ การอ่าน/ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
สนทนา/เขียน ชดั เจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
เขยี นคำศพั ท์ คำศัพท์ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน
บางส่วน 1 คะแนน
ชิน้ งาน ประเมนิ ความสมบูรณข์ อง แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวม 6-10
ช้ินงาน ช้นิ งาน คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรวมตั้งแต่
0-5 คะแนน
ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมิน
ชัดเจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
บางส่วน 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 6-10
คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนนรวมตงั้ แต่
0-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมตวั ช้ีวดั แบบประเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอให้
ระหว่างเรียน ต่อไปน้ี คุณลกั ษณะอนั 3 คะแนน
พงึ ประสงค์ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ังให้ 2
- ซือ่ สัตย์สจุ รติ คะแนน
- ความมวี นิ ัย พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ังให้ 1 คะแนน
- ใฝเ่ รียนรู้ 8-10 ดี
- มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6-7 พอใช้
ต่ำกว่า6 ปรบั ปรงุ

กจิ กรรมการเรียนรู้

ใช้กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ 3 P
ข้นั ท่ี 1 ขน้ั นำเสนอ

1. ครูถามนักเรยี นวา่ ตอนนี้กีโ่ มงแลว้ เมื่อนกั เรียนตอบแล้ว ครูเขียนเวลาที่นกั เรียนบอกลง
บนกระดาน

ขน้ั ที่ 2 ข้นั ฝึก

2. ครเู ขียนคำวา่ 点 ลงบนกระดาน พร้อมยกตัวอยา่ งโดยการใส่ตัวเลขลงหนา้ คำว่า 点
หลังจากนั้นให้นักเรยี นทายความหมายของคำศพั ท์

3. เมื่อนักเรยี นตอบครูไดแ้ ล้วว่าคำศพั ทด์ งั กล่าวมีความหมายว่าอยา่ งไร ครูจะยกตัวอย่างเพิ่มเติมเช่น

三点 Sān diǎn

十点 shí diǎn

十二点 Shí'èr diǎn

4. หลงั จากทนี่ กั เรยี นเขา้ ใจแล้ว ครจู ะเพิม่ ตวั เลขและคำหลงั จากคำว่านาฬิกา ซึ่งนกั เรยี นสามารถเดา
ได้ว่าคำนัน้ น่าจะเป็นคำว่านาทีทีว่ างไว้หลงั คำว่านาฬิกา เชน่

八点三十一分 Bā diǎn sānshíyī fēn

十点五十分 Shí diǎn wǔshí fēn

十二点十五分 Shí'èr diǎn shíwǔ fēn

ขั้นที่ 3 ข้นั นำไปใช้

5.ใหน้ กั เรยี นทีส่ ามารถอ่านได้แล้วสอบอ่านแบบเดี่ยวกบั ครูผู้สอน พร้อมทั้งแปลความหมาย
ของคำนนั้ ๆใหถ้ ูกต้อง และช่วยเหลือเพ่ือนทยี่ งั ไม่สามารถอ่านได้
สือ่ /แหลง่ เรียนรู้

ส่ือการเรยี นรู้
1.power point
2.ใบความรู้
แหล่งเรียนรู้
1. www.google.com

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 12

รายวชิ า ภาษาจีนเบอ้ื งต้น 2 รหสั วิชา จ 30202 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 现在几点了? เวลา 8 ช่วั โมง

เร่ือง ตอนน้กี ี่โมงแล้ว เวลา 1 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวสุพรรษา จนิ ตบตุ ร โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคัญ
เนื่องจากการดำเนินชีวิตของคนเราเกี่ยวเนื่องผูกพันกับวันเวลา ดังนั้นนักเรียนจึงมีความ

จำเป็นต้องเรียนรู้วันเวลาเป็นภาษาจีน เพื่อที่จะสามารถใช้ในการสื่อสาร หรือนัดหมายวันเวลาได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเรอื่ งที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดง
ความคดิ เห็น
ตวั ชีว้ ดั
1. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆตามทีฟ่ ังหรอื อ่านจากส่ือที่เปน็
ความเรียงและไม่ใชค่ วามเรียงในรปู แบบต่างๆ
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอดและความคดิ เหน็ ในเรื่อง

ตา่ งๆโดยการพูดและการเขยี น

ตัวช้ีวัด
1. พดู หรือเขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพอื่ น ส่งิ แวดล้อม และเรือ่ งใกล้ตวั
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถอ่านออกเสยี งคำศพั ท์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2. นักเรยี นสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ได้
3. นักเรียนสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

1. คำศัพท์ทใ่ี ช้บอกเวลา

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

1. นกั เรยี นสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝเ่ รยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทูนสถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรมต่าง
กระบวนทัศน)์

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่อื )

 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู)้

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้  L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
ชน้ิ งาน

ตอบคำถาม ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมนิ ระดบั 4 ดเี ยี่ยม 4 คะแนน
สะทอ้ น สะทอ้ นความคิด ตามตัวชี้วัด
ความคดิ / ต่อไปนี้ การตอบคำถาม = ทำได้ทุกตวั ช้ีวดั
ทดสอบ 1. ความถูกต้องครอบคลมุ ส่งิ สะทอ้ นความคดิ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ที่ไดเ้ รยี นรู้
2. ความสมเหตุสมผล = ทำได้มาก
3. การต้ังคำถามทีอ่ ยากรู้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้น้อย

ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ

1 คะแนน

= ทำไมไ่ ดถ้ งึ ทำได้นอ้ ยมาก

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน

ทดสอบอา่ น/ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง/ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
สนทนา/ สนทนา/เขียนคำศพั ท์ การอ่าน/ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
สนทนา/เขียน ชดั เจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
เขยี นคำศพั ท์ คำศัพท์ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน
บางส่วน 1 คะแนน
ชิน้ งาน ประเมนิ ความสมบูรณข์ อง แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวม 6-10
ช้ินงาน ช้นิ งาน คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรวมตั้งแต่
0-5 คะแนน
ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมิน
ชัดเจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
บางส่วน 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 6-10
คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนนรวมตงั้ แต่
0-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมตวั ช้ีวดั แบบประเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอให้
ระหว่างเรียน ต่อไปน้ี คุณลกั ษณะอนั 3 คะแนน
พงึ ประสงค์ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ังให้ 2
- ซือ่ สัตย์สจุ รติ คะแนน
- ความมวี นิ ัย พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ังให้ 1 คะแนน
- ใฝเ่ รียนรู้ 8-10 ดี
- มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6-7 พอใช้
ต่ำกว่า6 ปรบั ปรงุ

กิจกรรมการเรียนรู้

ใชก้ ระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนร้แู บบ 3 P
ข้นั ที่ 1 ขั้นนำเสนอ
1. ครเู ขียนโจทยเ์ วลาที่เปน็ ภาษาจีนบนกระดาน ใหน้ ักเรียนช่วยกนั อภิปรายโจทย์ขอ้ นน้ั
ข้ันท่ี 2 ขั้นฝึก
2. ครูวาดรูปนาฬกิ าลงบนกระดาน แล้วอธบิ ายวิธีการบอกเวลาภาษาจีน เนื่องจากประเทศ
จีนใชร้ อบเวลาเพยี งเลขสิบสองเท่านั้น ดงั นนั้ เวลา 13นาฬิกาของประเทศไทย ประเทศจีนจึงใช้เลข
หน่ึงแทนแต่จะนำหน้าด้วยช่วงเวลาของเวลานน้ั ๆเพ่ือปอ้ งกันการสับสน
3. ครูยกตวั อย่างเวลาที่ใชต้ วั เลขซำ้ ๆแตม่ ีการระบชุ ่วงเวลาเช่น
早上八点四十七分 Zǎoshang bā diǎn sìshíqī fēn เชา้ 8.47 น.
晚上八点四十七分 Wǎnshàng bā diǎn sìshíqī fēn ค่ำ 20.47 น.

4. ครูยกตวั อย่างหลายๆตวั อยา่ งแล้วให้นักเรยี นชว่ ยตอบเป็นภาษาไทยสลับกบั ยกตัวอยา่
ภาษาไทยแลว้ ใหน้ ักเรียนตอบเปน็ ภาษาจีน

1.08.30 2.12.54 3.19.12

4.早上七点四十分 5.下午三点三十九分

ขนั้ ที่ 3 ขั้นนำไปใช้

5. ครแู จกใบงานเวลาจำนวน 10 ขอ้ โดยใหน้ ักเรียนดูภาพแลว้ เขยี นตอบเวลาเปน็ ภาษาจนี

พรอ้ มตกแตง่ ให้สวยงาม

6. หลังจากทีน่ กั เรยี นทำใบงานเรยี บร้อยแล้วให้นักเรียนมาสง่ ทลี ะคนพรอ้ มกบั อ่านเวลาทคี่ รู

กำหนดคนละ 2ขอ้ ถ้าใครไม่สามารถอ่านไดใ้ ห้ทบทวนและสอบใหมอ่ ีกครงั้

ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้
สอื่ การเรยี นรู้

1.power point
2.ใบความรู้
แหล่งเรียนรู้
1. www.google.com

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 13

รายวชิ า ภาษาจีนเบอ้ื งต้น 2 รหสั วิชา จ 30202 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 现在几点了? เวลา 8 ช่วั โมง

เร่ือง ตอนน้กี ี่โมงแล้ว เวลา 1 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวสุพรรษา จนิ ตบตุ ร โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคัญ
เนื่องจากการดำเนินชีวิตของคนเราเกี่ยวเนื่องผูกพันกับวันเวลา ดังนั้นนักเรียนจึงมีความ

จำเป็นต้องเรียนรู้วันเวลาเป็นภาษาจีน เพื่อที่จะสามารถใช้ในการสื่อสาร หรือนัดหมายวันเวลาได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเรอื่ งที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดง
ความคดิ เห็น
ตวั ชีว้ ดั
1. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆตามทีฟ่ ังหรอื อ่านจากส่ือที่เปน็
ความเรียงและไม่ใชค่ วามเรียงในรปู แบบต่างๆ
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอดและความคดิ เหน็ ในเรื่อง

ตา่ งๆโดยการพูดและการเขยี น

ตัวช้ีวัด
1. พดู หรือเขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพอื่ น ส่งิ แวดล้อม และเรือ่ งใกล้ตวั
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถอ่านออกเสยี งคำศพั ท์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2. นักเรยี นสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ได้
3. นักเรียนสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

1. คำศัพท์ทใ่ี ช้บอกเวลา

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

1. นกั เรยี นสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝเ่ รยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทูนสถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรมต่าง
กระบวนทัศน)์

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่อื )

 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู)้

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้  L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
ชน้ิ งาน

ตอบคำถาม ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมนิ ระดบั 4 ดเี ยี่ยม 4 คะแนน
สะทอ้ น สะทอ้ นความคิด ตามตัวชี้วัด
ความคดิ / ต่อไปนี้ การตอบคำถาม = ทำได้ทุกตวั ช้ีวดั
ทดสอบ 1. ความถูกต้องครอบคลมุ ส่งิ สะทอ้ นความคดิ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ที่ไดเ้ รยี นรู้
2. ความสมเหตุสมผล = ทำได้มาก
3. การต้ังคำถามทีอ่ ยากรู้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้น้อย

ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ

1 คะแนน

= ทำไมไ่ ดถ้ งึ ทำได้นอ้ ยมาก

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน

ทดสอบอา่ น/ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง/ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
สนทนา/ สนทนา/เขียนคำศพั ท์ การอ่าน/ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
สนทนา/เขียน ชดั เจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
เขยี นคำศพั ท์ คำศัพท์ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน
บางส่วน 1 คะแนน
ชิน้ งาน ประเมนิ ความสมบูรณข์ อง แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวม 6-10
ช้ินงาน ช้นิ งาน คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรวมตั้งแต่
0-5 คะแนน
ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมิน
ชัดเจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
บางส่วน 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 6-10
คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนนรวมตงั้ แต่
0-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมตวั ช้ีวดั แบบประเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอให้
ระหว่างเรียน ต่อไปน้ี คุณลกั ษณะอนั 3 คะแนน
พงึ ประสงค์ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ังให้ 2
- ซือ่ สัตย์สจุ รติ คะแนน
- ความมวี นิ ัย พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ังให้ 1 คะแนน
- ใฝเ่ รียนรู้ 8-10 ดี
- มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6-7 พอใช้
ต่ำกว่า6 ปรบั ปรงุ

กิจกรรมการเรยี นรู้

ใชก้ ระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ 3 P
ขน้ั ที่ 1 ข้นั นำเสนอ

1.ใหน้ กั เรียนทบทวนคำศัพท์ทีใ่ ช้ในการบอกเวลาในสถานการณต์ ่างๆ

点 diǎn นาฬกิ า

分 fēn นาที

早晨 zǎochén เชา้ มืด
早上 zǎoshang เชา้
上午 shàngwǔ สาย
中午 zhōngwǔ เที่ยง
下午 xiàwǔ บ่าย
晚上 wǎnshàng เยน็

ขัน้ ท่ี 2 ขน้ั ฝึก

2.สอนคำศัพท์ใหม่ในบทเรยี น โดยใหน้ กั เรียนลองสะกดอา่ นพนิ อนิ ดว้ ยตวั เอง ถา้ ผิดครชู ว่ ย
แก้ใหถ้ ูกต้อง พรอ้ มทัง้ ความหมายและวธิ ีการใช้คำเหล่านน้ั

1.现在 xiànzài ตอนนี้

2.点 diǎn โมง ,นาฬิกา

3.分 fēn นาที

4.半 bàn ครงึ่

5.教室 jiàoshì หอ้ งเรียน

6.吃 chī กิน

7.早饭 zǎofàn อาหารเชา้

8.起床 qǐchuáng ตื่นนอน

9.回 huí กลบั

10.宿舍 sùshè หอพกั

11.上课 shàngkè เขา้ เรยี น

12.了 le แลว้

3. ครูใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสยี งคำศพั ท์พรอ้ มกันหนึง่ คร้งั หลังจากนนั้ ใหน้ ักเรยี นอ่านออก
เสียงคำศพั ท์ทีละคน ครผู ู้สอนแก้คำผิดท่ีนักเรียนอา่ นผิดและใหน้ กั เรียนอ่านใหม่อีกครง้ั

ขั้นท่ี 3 ขั้นนำไปใช้

4. ให้นักเรียนอ่านรูปประโยคที่ควรจำ ที่มีแค่ความหมายและตัวอักษรภาษาจีนโดยการ
หาพินอนิ มาใส่เองและอ่านออกเสยี งใหค้ รฟู ัง
重点句型 รปู ประโยคทคี่ วรจำ

1.ตอนนี้กี่โมง 现在几点?

2.คณุ เข้าเรียนก่ีโมง 你几点上课?

3.ฉนั เขา้ เรยี นแปดโมงครง่ึ 我八点半上课。

ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้
ส่ือการเรยี นรู้
1.power point
2.ใบความรู้
แหล่งเรยี นรู้
1. www.google.com

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 14

รายวชิ า ภาษาจีนเบอ้ื งต้น 2 รหสั วิชา จ 30202 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 现在几点了? เวลา 8 ช่วั โมง

เร่ือง ตอนน้กี ี่โมงแล้ว เวลา 1 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวสุพรรษา จนิ ตบตุ ร โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคัญ
เนื่องจากการดำเนินชีวิตของคนเราเกี่ยวเนื่องผูกพันกับวันเวลา ดังนั้นนักเรียนจึงมีความ

จำเป็นต้องเรียนรู้วันเวลาเป็นภาษาจีน เพื่อที่จะสามารถใช้ในการสื่อสาร หรือนัดหมายวันเวลาได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเรอื่ งที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดง
ความคดิ เห็น
ตวั ชีว้ ดั
1. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆตามทีฟ่ ังหรอื อ่านจากส่ือที่เปน็
ความเรียงและไม่ใชค่ วามเรียงในรปู แบบต่างๆ
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอดและความคดิ เหน็ ในเรื่อง

ตา่ งๆโดยการพูดและการเขยี น

ตัวช้ีวัด
1. พดู หรือเขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพอื่ น ส่งิ แวดล้อม และเรือ่ งใกล้ตวั
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถอ่านออกเสยี งคำศพั ท์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2. นักเรยี นสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ได้
3. นักเรียนสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

1. คำศัพท์ทใ่ี ช้บอกเวลา

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

1. นกั เรยี นสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝเ่ รยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทูนสถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทักษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรมต่าง
กระบวนทัศน)์

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่อื )

 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู)้

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้  L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
ชน้ิ งาน

ตอบคำถาม ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมนิ ระดบั 4 ดเี ย่ียม 4 คะแนน
สะทอ้ น สะทอ้ นความคิด ตามตัวชี้วัด
ความคดิ / ต่อไปนี้ การตอบคำถาม = ทำได้ทุกตัวช้ีวดั
ทดสอบ 1. ความถูกต้องครอบคลมุ ส่งิ สะทอ้ นความคดิ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ที่ไดเ้ รยี นรู้
2. ความสมเหตุสมผล = ทำไดม้ าก
3. การต้ังคำถามทีอ่ ยากรู้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำไดน้ ้อย

ระดบั 1 ตอ้ งปรบั ปรงุ

1 คะแนน

= ทำไมไ่ ด้ถงึ ทำได้นอ้ ยมาก

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน

ทดสอบอา่ น/ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง/ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
สนทนา/ สนทนา/เขียนคำศพั ท์ การอ่าน/ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
สนทนา/เขียน ชดั เจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
เขยี นคำศพั ท์ คำศัพท์ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน
บางส่วน 1 คะแนน
ชิน้ งาน ประเมนิ ความสมบูรณข์ อง แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวม 6-10
ช้ินงาน ช้นิ งาน คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรวมตั้งแต่
0-5 คะแนน
ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมิน
ชัดเจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
บางส่วน 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 6-10
คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนนรวมตงั้ แต่
0-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมตวั ช้ีวดั แบบประเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอให้
ระหว่างเรียน ต่อไปน้ี คุณลกั ษณะอนั 3 คะแนน
พงึ ประสงค์ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ังให้ 2
- ซือ่ สัตย์สจุ รติ คะแนน
- ความมวี นิ ัย พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ังให้ 1 คะแนน
- ใฝเ่ รียนรู้ 8-10 ดี
- มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6-7 พอใช้
ต่ำกว่า6 ปรบั ปรงุ

กิจกรรมการเรยี นรู้
ใช้กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ 3 P
ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั นำเสนอ
1.ให้นักเรียนทบทวนคำศัพท์ที่ใช้ในการบอกเวลาในสถานการณ์ต่างๆ และคำศัพท์ที่ใน

บทเรยี น
2.ให้นักเรียนชว่ ยกนั อ่านบทสนทนาที่ 1

A:现在几点了?Xiànzài jǐ diǎnle?
B:现在七点二十分了。Xiànzài qī diǎn èrshí fēnle.
A:你几点上课?Nǐ jǐ diǎn shàngkè?
B:我八点半上课。Wǒ bā diǎn bàn shàngkè.
A:你几点去教室?Nǐ jǐ diǎn qù jiàoshì?
B:我八点去教室。Wǒ bā diǎn qù jiàoshì.
A:你几点吃早饭?Nǐ jǐ diǎn chī zǎofàn?
B:我七点四十五分吃早饭。Wǒ qī diǎn sìshíwǔ fēn chī zǎofàn.
A:你几点起床?Nǐ jǐ diǎn qǐchuáng?
B:我六点起床。Wǒ liù diǎn qǐchuáng.
A:你几点回宿舍?Nǐ jǐ diǎn huí sùshè?
B:我下午四点回宿舍。Wǒ xiàwǔ sì diǎn huí sùshè.
A:你几点看书?Nǐ jǐ diǎn kànshū?
B:我晚上十点看书。Wǒ wǎnshàng shí diǎn kànshū.

ขัน้ ท่ี 2 ขั้นฝกึ

3. ครใู ห้นกั เรียนออกเสยี งทีถ่ ูกตอ้ งตามครหู นึ่งรอบ หลังจากน้นั แบ่งนกั เรยี นออกเป็นกลมุ่ เอ
และบแี ลว้ ใหน้ กั เรียนสนทนาโตต้ อบกนั ตามบทสนทนา สลบั กันระหวา่ งเอและบี

4. เลอื กตวั แทนนกั เรยี นออกมาหน้าชนั้ เรยี นอ่านบทสนทนาโต้ตอบกัน

5. ชว่ ยกันแปลความหมายของประโยคแตล่ ะประโยคและวเิ คราะห์หลกั ไวยกรณ์ของรปู
ประโยคที่ควรจำ เชน่

A:你几点上课?Nǐ jǐ diǎn shàngkè?

B:我八点半上课。Wǒ bā diǎn bàn shàngkè.

ประธาน+เวลา+กรยิ า(กิจกรรม)

ข้นั ท่ี 3 ข้นั นำไปใช้

6. ให้นักเรียนใช้รูปประโยคแต่งประโยคของตนเองโดยมี ประธาน+เวลา+กริยา(กิจกรรม)
เพ่อื เป็นการบอกกิจวัตรประจำวันของตนเอง

7. แบ่งนักเรียนออกเป็นสองกลุ่มแล้วแจกบัตรคำให้นักเรียนช่วยกนั ต่อเป็นบทสนทนาที่ 1
กลุ่มใดต่อเสรจ็ และถกู ต้องท่สี ดุ ไดร้ บั รางวลั

สอื่ /แหล่งเรียนรู้
สือ่ การเรยี นรู้
1.power point
2.ใบความรู้
แหลง่ เรยี นรู้
1.www.google.com

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 15

รายวชิ า ภาษาจีนเบอ้ื งต้น 2 รหสั วิชา จ 30202 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 现在几点了? เวลา 8 ช่วั โมง

เร่ือง ตอนน้กี ี่โมงแล้ว เวลา 1 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวสุพรรษา จนิ ตบตุ ร โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคัญ
เนื่องจากการดำเนินชีวิตของคนเราเกี่ยวเนื่องผูกพันกับวันเวลา ดังนั้นนักเรียนจึงมีความ

จำเป็นต้องเรียนรู้วันเวลาเป็นภาษาจีน เพื่อที่จะสามารถใช้ในการสื่อสาร หรือนัดหมายวันเวลาได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเรอื่ งที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดง
ความคดิ เห็น
ตวั ชีว้ ดั
1. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆตามทีฟ่ ังหรอื อ่านจากส่ือที่เปน็
ความเรียงและไม่ใชค่ วามเรียงในรปู แบบต่างๆ
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอดและความคดิ เหน็ ในเรื่อง

ตา่ งๆโดยการพูดและการเขยี น

ตัวช้ีวัด
1. พดู หรือเขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพอื่ น ส่งิ แวดล้อม และเรือ่ งใกล้ตวั
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถอ่านออกเสยี งคำศพั ท์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2. นักเรยี นสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ได้
3. นักเรียนสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

1. คำศัพท์ทใ่ี ช้บอกเวลา

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

1. นกั เรยี นสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝเ่ รยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทูนสถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรมต่าง
กระบวนทัศน)์

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่อื )

 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู)้

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้  L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
ชน้ิ งาน

ตอบคำถาม ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมนิ ระดบั 4 ดเี ยี่ยม 4 คะแนน
สะทอ้ น สะทอ้ นความคิด ตามตัวชี้วัด
ความคดิ / ต่อไปนี้ การตอบคำถาม = ทำได้ทุกตวั ช้ีวดั
ทดสอบ 1. ความถูกต้องครอบคลมุ ส่งิ สะทอ้ นความคดิ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ที่ไดเ้ รยี นรู้
2. ความสมเหตุสมผล = ทำได้มาก
3. การต้ังคำถามทีอ่ ยากรู้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้น้อย

ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ

1 คะแนน

= ทำไมไ่ ดถ้ งึ ทำได้นอ้ ยมาก

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน

ทดสอบอา่ น/ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง/ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
สนทนา/ สนทนา/เขียนคำศพั ท์ การอ่าน/ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
สนทนา/เขียน ชดั เจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
เขยี นคำศพั ท์ คำศัพท์ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน
บางส่วน 1 คะแนน
ชิน้ งาน ประเมนิ ความสมบูรณข์ อง แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวม 6-10
ช้ินงาน ช้นิ งาน คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรวมตั้งแต่
0-5 คะแนน
ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมิน
ชัดเจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
บางส่วน 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 6-10
คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนนรวมตงั้ แต่
0-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมตวั ช้ีวดั แบบประเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอให้
ระหว่างเรียน ต่อไปน้ี คุณลกั ษณะอนั 3 คะแนน
พงึ ประสงค์ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ังให้ 2
- ซือ่ สัตย์สจุ รติ คะแนน
- ความมวี นิ ัย พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ังให้ 1 คะแนน
- ใฝเ่ รียนรู้ 8-10 ดี
- มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6-7 พอใช้
ต่ำกว่า6 ปรบั ปรงุ

กจิ กรรมการเรียนรู้
ใชก้ ระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ บบ 3 P
ข้นั ที่ 1 ขัน้ นำเสนอ
1.ใหน้ ักเรียนชมคลปิ การเขียนตวั อักษรจนี แบธรรมดา การเขียนตวั อักษรจีนตวั เต็มและการ

เขยี นตัวอักษรจนี ทม่ี ลี ำดบั เส้นขีดมากที่สุดจาก youtube
ขนั้ ที่ 2 ข้ันฝกึ
2. ให้นกั เรยี นฝึกการเขียนตัวอกั ษรจนี ตัวเต็มและอักษรที่มีลำดบั ขดี มากถงึ 56 เสน้ ตาม

ตวั อย่างทีค่ รใู ห้ดูคนละ 1คำ เมอ่ื เขียนเสรจ็ แลว้ ให้เอาตัวอักษรของตนเองมาตดิ ไว้บนกระดานหนา้ ชนั้
เรยี นแล้วให้นกั เรียนเลือกคนที่เขียนสวยท่ีสุด และรับรางวลั จากครู

ขั้นท่ี 3 ข้นั นำไปใช้
3. เมอ่ื นักเรียนเขยี นตัวอักษรจนี ทีม่ อบหมายเสรจ็ แล้วให้นกั เรียนคดั คำศัพท์ภาษาจนี ใน
บทเรยี นตามลำดบั ขีดและหลกั การเขยี นคำศัพท์

4. เมอื่ นักเรยี นคดั คำศัพท์เสรจ็ ทกุ คำแล้วใหน้ ำสมุดส่งครู
สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้

สอื่ การเรียนรู้
1.power point
2.ใบความรู้
แหล่งเรียนรู้
1.www.google.com
2.www.an2.net

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 16

รายวชิ า ภาษาจีนเบอ้ื งต้น 2 รหสั วิชา จ 30202 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 7 现在几点了? เวลา 8 ช่วั โมง

เร่ือง ตอนน้กี ี่โมงแล้ว เวลา 1 ชวั่ โมง

ผสู้ อน นางสาวสุพรรษา จนิ ตบตุ ร โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สุราษฎร์ธานี

แนวคิดสำคัญ
เนื่องจากการดำเนินชีวิตของคนเราเกี่ยวเนื่องผูกพันกับวันเวลา ดังนั้นนักเรียนจึงมีความ

จำเป็นต้องเรียนรู้วันเวลาเป็นภาษาจีน เพื่อที่จะสามารถใช้ในการสื่อสาร หรือนัดหมายวันเวลาได้
อยา่ งถูกตอ้ ง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตีความเรอื่ งที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดง
ความคดิ เห็น
ตวั ชีว้ ดั
1. บอกความหมายของคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อความสั้นๆตามทีฟ่ ังหรอื อ่านจากส่ือที่เปน็
ความเรียงและไม่ใชค่ วามเรียงในรปู แบบต่างๆ
มาตรฐาน มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอดและความคดิ เหน็ ในเรื่อง

ตา่ งๆโดยการพูดและการเขยี น

ตัวช้ีวัด
1. พดู หรือเขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพอื่ น ส่งิ แวดล้อม และเรือ่ งใกล้ตวั
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรยี นสามารถอ่านออกเสยี งคำศพั ท์ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
2. นักเรยี นสามารถบอกความหมายของคำศัพท์ได้
3. นักเรียนสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

สาระการเรยี นรู้

ดา้ นความรู้

1. คำศัพท์ทใ่ี ช้บอกเวลา

ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

1. นกั เรยี นสามารถเขยี นและบอกเวลาเป็นภาษาจีนได้

ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  5. อยู่อย่างพอเพียง

 2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 3. มวี ินยั  7. รักความเป็นไทย

 4. ใฝเ่ รยี นรู้  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทูนสถาบนั
 2. กตญั ญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวินัย
 5. ให้เกยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคัญของผู้เรยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

จุดเนน้ สกู่ ารพฒั นาผ้เู รยี น
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1– Reading (อา่ นออก)  R2– (W)Riting (เขียนได)้  R3 – (A)Rithmetics (คดิ

เลขเป็น)

 C1 - Critical Thinking and Problem Solving ( ทกั ษะด้านการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ปัญหา)

 C2 - Creativity and Innovation (ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม)

 C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะดา้ นความเขา้ ใจตา่ งวัฒนธรรมต่าง
กระบวนทัศน)์

 C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การ
ทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศและรู้เท่าทนั ส่อื )

 C6 - Computing and ICT Literacy (ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอ่ื สาร)

 C7 - Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู)้

 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนร)ู้  L2 – Leadership (ทกั ษะความเป็นผู้นำ)

การวัดและประเมนิ ผล

ดา้ นความรู้

ภาระงาน/ วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑท์ ีใ่ ช้
ชน้ิ งาน

ตอบคำถาม ตรวจคำตอบของคำถาม แบบประเมนิ ระดบั 4 ดเี ยี่ยม 4 คะแนน
สะทอ้ น สะทอ้ นความคิด ตามตัวชี้วัด
ความคดิ / ต่อไปนี้ การตอบคำถาม = ทำได้ทุกตวั ช้ีวดั
ทดสอบ 1. ความถูกต้องครอบคลมุ ส่งิ สะทอ้ นความคดิ ระดบั 3 ดี 3 คะแนน
ที่ไดเ้ รยี นรู้
2. ความสมเหตุสมผล = ทำได้มาก
3. การต้ังคำถามทีอ่ ยากรู้
ระดบั 2 พอใช้ 2 คะแนน
= ทำได้น้อย

ระดับ 1 ต้องปรบั ปรงุ

1 คะแนน

= ทำไมไ่ ดถ้ งึ ทำได้นอ้ ยมาก

ด้านทักษะ/กระบวนการ

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครื่องมอื เกณฑ์ที่ใช้
ช้ินงาน

ทดสอบอา่ น/ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง/ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละ 60 ขึ้นไป
สนทนา/ สนทนา/เขียนคำศพั ท์ การอ่าน/ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
สนทนา/เขียน ชดั เจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
เขยี นคำศพั ท์ คำศัพท์ พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมิน
บางส่วน 1 คะแนน
ชิน้ งาน ประเมนิ ความสมบูรณข์ อง แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนนรวม 6-10
ช้ินงาน ช้นิ งาน คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนนรวมตั้งแต่
0-5 คะแนน
ผ่านเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ 60 ข้ึนไป
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมิน
ชัดเจนสมบรู ณ์ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ
บางส่วน 1 คะแนน
ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนนรวม 6-10
คะแนน
ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนนรวมตงั้ แต่
0-5 คะแนน

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

ภาระงาน/ วิธกี ารวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์ท่ีใช้
ชน้ิ งาน

พฤติกรรม สังเกตพฤตกิ รรมตวั ช้ีวดั แบบประเมนิ พฤติกรรมที่ปฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอให้
ระหว่างเรียน ต่อไปน้ี คุณลกั ษณะอนั 3 คะแนน
พงึ ประสงค์ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยคร้ังให้ 2
- ซือ่ สัตย์สจุ รติ คะแนน
- ความมวี นิ ัย พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างคร้ังให้ 1 คะแนน
- ใฝเ่ รียนรู้ 8-10 ดี
- มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 6-7 พอใช้
ต่ำกว่า6 ปรบั ปรงุ

กิจกรรมการเรียนรู้

ใช้กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบ 3 P
ข้ันท่ี 1 ขั้นนำเสนอ
1. นักเรียนตอบคำถามทคี่ รนู ำเสนอในกระดาน(หน้าจอ)เปน็ ภาษาจนี
2. ครูยกตัวอย่างคำพดู เป็นภาษาไทยแลว้ ถามนกั เรยี นว่าถ้าเป็นภาษาจีนจะสามารถพูดได้ว่า
อย่างไร

ขั้นที่ 2 ขน้ั ฝกึ
3. ใหน้ กั เรียนทำใบงานโดยมีรูปภาพและให้นักเรียนเขยี นกจิ วัตรของตนเองเปน็ ภาษาจีน
พรอ้ มทั้งเขยี นพินอนิ กำกบั เสียง ท้งั หมด 5 ข้อ
เขียนเวลาและกิริยาตามภาพท่ีกำหนด

ขั้นที่ 3 ขน้ั นำไปใช้

4. เมื่อนักเรียนทำเสร็จแลว้ ให้นำใบงานของตนเองมาอ่านให้เพื่อนฟังหน้าช้ันเรียน เมื่ออ่าน
เสร็จแล้วครูจะเปน็ ผู้ตงั้ คำถามเก่ยี วกบั กจิ วตั รประจำวันของเพ่อื นเพอื่ ฝึกการฟงั ของเพือ่ นในช้ันเรียน

สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้
สอื่ การเรยี นรู้
1.power point
2.ใบความรู้
แหล่งเรียนรู้
1.www.google.com


Click to View FlipBook Version