The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเภทของวรรณกรรมและวรรณคดี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ray-129, 2020-07-22 21:52:48

ประเภทของวรรณกรรมและวรรณคดี

ประเภทของวรรณกรรมและวรรณคดี

วรรณกรรมและวรรณคดี

ประเภทของวรรณกรรมและวรรณคดี

เนือ่ งจาก วรรณคดี เป็นส่วนหน่งึ ของวรรณกรรม ตามทีไ่ ดก้ ล่าวมาแล้ว แม้จะมีความแตกตา่ งบา้ งก็ตาม
แตเ่ ม่ือกลา่ วถงึ ประเภทของวรรณกรรม ก็จะกล่าวถึง ประเภทของวรรณคดีด้วยเช่นกัน ซึง่ ได้มีผู้เขียนได้แบ่ง
ประเภท ตามเกณฑแ์ ละลกั ษณะต่าง ๆ มากมาย ซึ่งพอสรปุ ไดด้ งั น้ี

1) แบ่งตามลกั ษณะการประพนั ธ์ มี 2 ประเภท คือ
1. วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ คือ วรรณกรรมทไ่ี ม่กาหนดบงั คบั คาหรือฉันท

ลกั ษณ์ เป็นความเรียงทั่ว ไป การเขียนในลกั ษณะนีย้ ังแบ่งย่อยออกเปน็
1.1 บันเทิงคดี (Fiction) คือ วรรณกรรมที่มงุ่ ใหค้ วามเพลิดเพลินแกผ่ ูอ้ ่าน

เป็นประการสาคัญ และให้ข้อคิด คตนิ ยิ ม หรือ สอนใจ แกผ่ ูอ้ า่ นเปน็ วัตถปุ ระสงค์
รอง ดังท่ี ม.ล. บุญเหลอื เทพยสวุ รรณ (2518 : 9) กล่าวว่า บนั เทิงคดี
เป็นวรรณกรรมที่ผูป้ ระพันธ์มจี ดุ ประสงคท์ ีใ่ ห้ความเพลดิ เพลนิ แตท่ ง้ั นมี้ ไิ ด้
หมายความวา่ บนั เทงิ คดเี ปน็ วรรณกรรมที่ไร้สาระ บนั เทิงคดีอาจมีสาระในดา้ น
ปรชั ญา ด้านความเข้าใจการเมือง หรอื ประวัตศิ าสตรด์ กี วา่ หนังสือสารคดบี างเรอ่ื งก็
ได้ วรรณกรรม ประเภทนผี้ ู้ประพนั ธม์ ุง่ หมายใหค้ วามบนั เทิง ต้องกระทบอารมณ์ผู้อา่ น มใิ ชส่ าหรับใหผ้ อู้ า่ นได้
ความร้หู รอื ความคดิ เห็น บันเทิงคดีสามารถจาแนกย่อยได้ดังนี้

1.1.1 นวนิยาย ( Novel) คือ การเขยี นผูกเรอื่ งราวของชีวติ อันมีพฤตกิ รรมรว่ มกัน มี
ความสมั พนั ธ์กัน ในลักษณะจาลองสภาพชีวิตของสงั คมสว่ นหนง่ึ ส่วนใด โดยมคี วามมุ่งหมายใหค้ วามบันเทิงใจ
แกผ่ ู้อ่าน คือใหผ้ ู้อา่ นเกิดสะเทือนอารมณไ์ ปกับเนือ้ เรอื่ งอย่างมีศลิ ปะ

1.1.2 เร่อื งส้นั (Short Story) คอื การเขียนเรอ่ื งจาลองสภาพชวี ิตในชว่ งสนั้ คือมมุ หนึ่งของชวี ติ
หรอื เหตุการณห์ นึ่ง หรือช่วงระยะหน่งึ ของชวี ิต เพ่อื ให้เกิดอารมณส์ ะเทือนใจผอู้ า่ น หรือ นยิ ามอีกอย่างหน่งึ
ว่า เรื่องส้นั คือ วกิ ฤตการณ์ชุดหนงึ่ มีความสัมพนั ธ์สืบเนอ่ื งกัน และนาไปสจู่ ุดยอดหนึ่ง ( Climax) ( ธวชั บุณ
โณทก 2537 : 12)

1.1.3 บทละคร ( Drama) คอื การเขยี นทใ่ี ช้ประกอบการแสดงเพือ่ ให้เกดิ ความบันเทิง เชน่ บท
ละครวิทยุ บทละครพูด และบทละครโทรทศั น์ เป็นต้น

1.2 สารคดี ( Non-Fiction) คอื วรรณกรรมท่มี ุ่งให้ความรู้ หรือ ความคิด เป็นคณุ ประโยชน์สาคญั
อาจจะเขยี นเชงิ อธิบายเชิงวิจารณ์ เชิงพรรณนาส่งั สอน โดยอธิบายเร่ืองใดเรือ่ งหนงึ่ อยา่ งมรี ะบบมีศิลปะใน
การถ่ายทอดความรู้ เพือ่ มุ่งตอบสนองความอยากรอู้ ยากเหน็ ใหแ้ ก่ผูอ้ ่าน และกอ่ ให้เกดิ คณุ ค่าทางปญั ญาแก่
ผอู้ ่าน ซึ่ง ธวัช ปุณโณทก ( 2527 : 11 ) ไดแ้ บ่งยอ่ ยดงั นี้

1.2.1 ความเรยี ง ( Essay) คอื การถา่ ยทอดความรู้ อาจจะได้มาจากการประสบ หรือตารา
วิชาการ มาเป็นถอ้ ยความตามลาดับข้ันตอนเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจตามความรู้ ความคิดที่ผู้เขยี นเสนอมา บางครั้ง
มผี ู้เรยี กว่า "สารคดวี ชิ าการ"

1.2.2 บทความ ( Article) คือความคดิ เหน็ ของผูเ้ ขยี นตอ่ เร่ืองราวท่ปี ระสบมาหรอื ต่อข้อเขียน
ของผู้อื่น หรือต่อเหตุการณอ์ ยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด ในการเขยี นบทความผเู้ ขียนมุ่งทจ่ี ะบอกถึงความเห็น ความรู้สกึ
นึกคิดมากกวา่ ทจี่ ะถา่ ยถอดความร้เู หมือนความเรยี ง

12.3. สารคดที อ่ งเทย่ี ว ( Travelogue) คอื การบันทึกการท่องเทยี่ วและเร่ืองราวต่าง ๆ ที่
ประสบพบเหน็ ขณะทีท่ ่องเที่ยวไป โดยม่งุ ทจ่ี ะให้ความรแู้ กผ่ ูอ้ ่านและใหค้ วามเพลดิ เพลนิ ดว้ ย

1.2.4. สารคดีชีวประวตั ิ (Biography) คอื การบันทึกพฤติกรรมต่าง ๆ ของบคุ ลกิ ภาพหน่ึงมุ่งที่
จะใหเ้ ห็นสภาพชวี ติ ประสบการณ์ของบคุ ลกิ ภาพนน้ั ทกุ แงท่ กุ มุม แตไ่ มใ่ ชป่ ระวตั ศิ าสตร์ และนิยาย

1.2.5. อนทุ ิน (Diary) คือการบนั ทึกประจาวันท่ีเกดิ ขึน้ แก่ตนเอง จะเป็นการบนั ทกึ ความรสู้ กึ นึก
คดิ ของตนเองในประจาวนั หรอื อาจจะบันทึกประสบการณใ์ นชวี ิตประจาวัน หรือบนั ทึกเหตกุ ารณ์ใน
ชวี ติ ประจาวัน โดยมจี ดุ มุง่ หมายเพอื่ เตอื นความจา

1.2.6. จดหมายเหตุ ( Archive) คือ การบันทึกเหตุการณ์สาคญั ๆ ของทางราชการ หรือบนั ทกึ
เหตกุ ารณส์ าคญั ๆ ของสถาบนั หน่วยงานหรือตระกลู โดยมีความมุง่ หมายเพอ่ื เก็บไวเ้ ปน็ หลกั ฐานเชิงประวัติ
เหตกุ ารณ์ของชาติ หรอื ของสถาบัน หรือหนว่ ยงานราชการ หรือของตระกลู

2. วรรณกรรม ร้อยกรอง คือ วรรณกรรมที่การเขยี นมีการบงั คบั รูปแบบดว้ ยฉนั ทลักษณต์ า่ งๆ เชน่
บงั คับคณะ บังคับคา และแบบแผนการสง่ สัมผสั ตา่ ง ๆ บางครั้งเรยี กงานเขยี นประเภทน้วี า่ กวีนพิ นธ์ หรือ คา
ประพนั ธ์ เชน่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลลิ ติ เปน็ ตน้ นอกจากนว้ี รรณกรรมร้อยกรองยงั แบง่ เป็นชนดิ ย่อย
ๆ ดงั น้ี

2.1. วรรณกรรมประเภทบรรยาย ( Narrative) คือ วรรณกรรมรอ้ ยกรองที่มีโครงเร่อื ง ตัวละคร และ
เหตุการณ์ต่าง ๆ ผกู เปน็ เรือ่ งราวตอ่ เนือ่ งกนั ไป เชน่ ขุนช้างขุนแผน พระอภยั มณี อิเหนา เปน็ ตน้

2.2. วรรณกรรมประเภทพรรณนา หรือ ราพงึ ราพัน ( Descriptive or Lyrical) มักเป็นบทร้อยกรองท่ี
ผู้แตง่ มุ่งแสดงอารมณส์ ว่ นตัวอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง ไมม่ โี ครงเรือ่ ง เชน่ นิราศ และเพลงยาว เป็นตน้ (ประทีป
เหมอื นนลิ . 2519 : 22-23.)

2.3. วรรณกรรมประเภทบทละคร (Dramatic) เป็นบทรอ้ ยกรองสาหรับการอ่านและใชเ้ ป็นบทสาหรบั
การแสดงด้วย เชน่ บทพากยโ์ ขน บทละครร้อง บทละครรา เป็นต้น

2) แบ่งตาม ลกั ษณะเนือ้ เรือ่ ง มี 2 ประเภท คอื
1. วรรณกรรมบรสิ ุทธิ์ ( Pure Literature) หมายถงึ วรรณกรรมท่แี ต่งขึน้ จากอารมณ์สะเทอื นใจตา่ ง ๆ

ไม่มจี ุดมุง่ หมายทจ่ี ะให้วรรณกรรมนั้น ทรงคุณคา่ ในทางใดเปน็ พเิ ศษ แต่วรรณกรรมน้นั อาจจะลา้ คา่ ในสายตา
ของนกั อา่ นรุ่นหลงั ๆ กเ็ ป็นได้ แตม่ ิไดเ้ ป็นเจตจานงแทจ้ ริงของผูแ้ ตง่ ผูแ้ ต่งเพียงแตจ่ ะแต่งขึ้นตามความ
ปรารถนาในอารมณข์ องตนเองเป็นสาคัญ

2. วรรณกรรมประยุกต์ ( Applied Literature) หมายถึงวรรณกรรมทแ่ี ต่งข้นึ โดยมีเจตจานงท่ีสนองสง่ิ
ใดส่ิงหนง่ึ อาจเกดิ ความบนั ดาลใจทจี่ ะสบื ทอดเรอื่ งราวความชนื่ ชมในวรี กรรมของผ้ใู ดผหู้ นงึ่ น่ันหมายถึงวา่ มี
เจตนาจะเขยี นเรอ่ื งราวขน้ึ เพือ่ ประโยชนอ์ ย่างหนง่ึ หรือมจี ุดมุง่ หมายในการเขียนชัดเจน มใิ ช่เพื่อสนองอารมณ์
อย่างเดยี ว เช่น วรรณกรรมประวตั ิศาสตร์ วรรณกรรมการละคร และอาจหมายรวมถึงพงศาวดารตา่ ง ๆ ด้วย
(สมพร มันตะสตู ร 2526 : 6)

3) แบง่ ตามลักษณะการถา่ ยทอด มี 2 ประเภท คือ
1. วรรณกรรมมขุ ปาฐะ หมายถึง วรรณกรรมท่ีถา่ ยทอดโดยการบอก การเลา่ และการขับรอ้ ง ไมว่ า่ จะ

เป็นในโอกาสหรือในวาระใด เชน่ ในการนอน การเต้น การรา หรือพิธีกรรมต่าง ๆ
วรรณกรรมมุขปาฐะมีปรากฏมานาน จงึ มีอย่ทู ุกภูมภิ าคของโลก การท่ีเปน็ เชน่ นีก้ ็เพราะวรรณกรรมประเภทนี้
เป็นผลสบื เน่อื งจากภาษาของมนุษย์ เม่ือมนษุ ย์มภี าษาพูดก็ย่อมมีโอกาสถา่ ยทอดจิตนาการและอารมณไ์ ด้มาก
ขึ้น ประกอบกบั ภาษาพูดสามารถทาความเขา้ ใจไดง้ ่ายและเรว็ กวา่ ภาษาเขยี น ดงั น้ันวรรณกรรมมขุ ปาฐะจงึ มี
มาก และมมี านานกวา่ วรรณกรรมประเภทอืน่

2. วรรณกรรมลายลกั ษณ์ หมายถึง วรรณกรรมทถ่ี า่ ยทอดโดยการเขยี น การจาร และการจารกึ ไมว่ า่
จะเป็นการกระทาลงบนวัสดใุ ด ๆ เช่น กระดาษ เยอ่ื ไม้ ใบไม้ แผน่ ดนิ เผา หรอื ศลิ า
วรรณกรรมลายลักษณ์เปน็ วรรณกรรมท่พี ัฒนาสบื ตอ่ มาจากวรรณกรรมมุขปาฐะ กลา่ วคอื เกดิ ขึน้ ในยคุ ที่
มนษุ ยเ์ ริม่ รจู้ กั ใช้สญั ลกั ษณห์ รอื ตัวอักษร เพ่อื บันทึกความในใจ ความรู้สึก และความคิดเหน็ ของตน เพ่อื ถา่ ย
ทอกให้ผอู้ น่ื รบั รู้น่ันเอง และเนือ่ งจากตวั อกั ษรเปน็ เครือ่ งมือบันทกึ ทีส่ ่อื สารกันไดก้ ว้างไกลและยง่ั ยืน มนุษย์จงึ
สรา้ งวรรณกรรมประเภทนกี้ นั อยา่ งกวา้ งขว้างในทุกภูมภิ าคของโลกขณะเดียวกันกพ็ ัฒนาเทคนคิ และรูปแบบ
การสร้างวรรณกรรมให้เจรญิ มาเป็นลาดับ วรรณกรรมลายลักษณ์จึงกลายเป็นมรดกทีม่ นุษยชาติไม่อาจปฏเิ สธ
ได้ (ฉตั รชยั ศกุ ระกาญจน์. 2525 : 25)

4) แบ่งตามลักษณะของเน้อื หา (ซึง่ จะเน้นไปทางด้านวรรณคดีไทยเปน็ ส่วนใหญ่) มี 7 ประเภท คือ
1. วรรณคดนี ิราศ วรรณคดปี ระเภทนีม้ ีลักษณะเฉพาะตัว เปน็ การเขยี นในทานองบันทกึ การเดนิ ทาง

การพลดั พราก การคร่าครวญเม่ือต้องไกลท่อี ย่อู าศยั คนรักหรือสงิ่ รัก การเขยี นในเชิงนิราศนี้มีรปู แบบ
โดยเฉพาะ เปน็ วรรณคดที ีก่ วนี ยิ มเขยี นกนั มาก มวี รรณคดีมากมายหลายเรือ่ ง เช่น กาสรวลศรปี ราชญ์ ทวาทศ
มาส นิราศของสนุ ทรภู่ นิราศของพระยาตรงั นิราศนรนิ ทร์ เปน็ ตน้

2. วรรณคดีเฉลมิ พระเกียรติ เปน็ วรรณคดีในเชิงประวัติศาสตร์การบนั ทกึ เหตุการณ์แผ่นดินในทานอง
สรรเสรญิ พระเกียรติของพระมหากษัตรยิ ์ วรรณคดี ประเภทนี้มปี รากฏอยใู่ นวรรณคดีเป็นจานวนมากมาย เช่น
ลลิ ติ ยวนพ่าย ลลิ ิตตะเลงพา่ ย เพลงยาวเฉลมิ พระเกียตริ และโคลงเฉลมิ พระเกียรตติ ่าง ๆ รวมท้งั วรรณคดี
ประเภททต่ี ้องการบนั ทกึ เรอ่ื งราวสาคญั บางประการ เช่น โคลงชะลอพระพทุ ธไสยาสน์ เป็นต้น

3. วรรณคดศี าสนา วรรณคดีประเภทนเี้ ป็นเรื่องทเ่ี ก่ยี วกับพทุ ธศาสนาทงั้ โดยตรงและโดยทางออ้ ม คอื
มีอทิ ธพิ ลมาจากความเช่อื ทางศาสนา เช่น มหาชาตฉิ บับต่าง ๆ พระปฐมสมโพธิกถา ไตรภูมิพระร่วง ไตรภูมิ
ฉบบั ต่าง ๆ รวมทงั้ วรรณคดีจากชาดก ทั้งนบิ าตชาดกและปญั ญาสชาดก นันโทปทสูตรคาหลวง พระมาลยั คา
หลวง เปน็ ตน้

4. วรรณคดีท่ีเกยี่ วกับพธิ ีการขนบธรรมเนยี มประเพณี เนื้อหาของวรรณคดปี ระเภทน้เี กี่ยวกบั
ขนบธรรมเนยี มประเพณี หรือ พิธกี ารตา่ ง ๆ เช่น ตารานางนพมาศ พระราชพิธสี ิบสองเดอื น ฯลฯ

5. วรรณคดีสภุ าษิต วรรณคดปี ระเภทน้ี
เปน็ เรือ่ งเกี่ยวกบั คาสอน ขอ้ เตอื นใจ เชน่
กฤษณาสอนน้องคาฉนั ท์ สภุ าษิตพระรว่ ง โคลง
ราชสวสั ด์ิ อศิ รญาณภาษติ เปน็ ต้น

6. วรรณคดกี ารละครหรือนาฏวรรณคดี วรรณคดีประเภทน้นี าไปใช้แสดงละคร หรอื การแสดงทาง
นาฏศิลป์ในลกั ษณะอน่ื เชน่ เรอื่ งอิเหนา รามเกียรต์ิ สงั ข์ทอง ไกรทอง เปน็ ตน้

7. วรรณคดนี ิยาย วรรณคดีประเภทนถี้ า้ เขยี นเปน็ การประพนั ธป์ ระเภทกลอนจะเรยี กว่ากลอนประโลม
โลกย์ วรรณคดีนยิ ายน้มี ที งั้ ไม่เขยี นเปน็ กลอน เช่น ลลิ ิตพระลอ และทเ่ี ขียนเป็นกลอน เชน่ พระอภัยมณี เสภา
ขุนช้าง - ขนุ แผน เปน็ ต้น

5) แบ่งตามบง่ เกดิ หรอื ที่มาของวรรณกรรม มี 6 ประเภท คือ
1. วรรณกรรมอนั เกดิ จากการบอกเลา่ หมายถึง วรรณกรรมทบี่ นั ทกึ หรอื ถา่ ยทอดจากผรู้ ู้ ผคู้ งแก่เรยี น

หรือนักปราชญแ์ ต่ละสาขาของความรู้ วรรณกรรมจากบคุ คลเหล่านีจ้ ึงเปน็ วรรณกรรมทีเ่ รยี กกันวา่ "ตารา"
วรรณกรรมประเภทน้ีอาจจะสมบูรณ์ถูกตอ้ งหรอื ไม่ถูกต้องท้ังหมดกไ็ ด้ ขนึ้ อยกู่ ับความเชื่อถอื และการพสิ ูจน์
โดยกรรมวิธีต่าง ๆ แตโ่ ดยทวั่ ไปก็มักเชอ่ื โดยอนโุ ลมวา่ เป็นความรูท้ ่ถี ูกตอ้ ง นา่ เชอื่ ถือได้

2. วรรณกรรมอันเกดิ จากญาณทัศน์ หมายถึงวรรณกรรมที่เกิดจาการหยง่ั รูโ้ ดยญาณ ซ่งึ หมายถึง
ปญั ญา การหย่งั รู้ อาจจะเกิดจากการครุน่ คิด ไตร่ตรอง เพ่ือหาคาตอบ เร่อื งใดเร่ืองหน่งึ เพื่อให้พน้ สงสยั แล้วจู่
ๆ ก็เกิดความรู้ในเร่อื งนัน้ ผดุ ข้นึ ในความคิดและไดค้ าตอบโดยไม่คาดฝนั จากคาตอบน้นั จึงไดน้ ามาบนั ทึกเป็น
วรรณกรรม เราเรียกวรรณกรรมน้ีวา่ วรรณกรรมอันเกดิ จากญาณทัศนใ์ นบางกรณีเม่อื มีแรงดลใจหรอื
จินตนาการบางอยา่ ง ก็อาจเกดิ การหย่ังรู้ข้ึน ความรู้ทีเ่ กิดจากญาณทศั น์น้ี นับเปน็ จดุ กาเนิดจองความร้เู ชิง
ปรัชญา และพัฒนาไปเป็นทฤษฎีทางวทิ ยาศาสตรบ์ า้ ง สังคมศาสตรบ์ า้ ง และศลิ ปกรรมบ้าง จนในทส่ี ดุ ท่ี
กลายเป็นวรรณกรรมในสาขาวิชาต่าง ๆ ไป เช่น วรรณกรรมวิทยาศาสตร์ วรรณกรรมสงั คมศาสตร์ เปน็ ตน้

3. วรรณกรรมอนั เกิดจากเหตผุ ล หมายถึง วรรณกรรมทีเ่ กิดจากการให้หลกั ของเหตผุ ล ซึง่ เปน็ วิธกี าร
ทางตรรกวทิ ยา วรรณกรรมประเภทนเี้ ป็นบนั ทึกความรู้ท่ีเกิดจากการอ้างอิงความเปน็ จรงิ หรือความรู้ทมี่ อี ยู่
แล้ว เพ่ือนาไปส่คู วามรใู้ หม่ วรรณกรรมทางคณิตศาสตร์นบั เป็นวรรณกรรมทเี่ กิดข้ึนจากกรณนี โ้ี ดยแทจ้ รงิ

4. วรรณกรรมอันเกิดจากคัมภีร์ หมายถงึ วรรณกรรมท่ีเกิดจากความเชอ่ื หรือวรรณกรรมทบี่ นั ทึกความ
เชื่อของมนษุ ย์ วรรณกรรมดงั กลา่ วนม้ี ีมูลฐานมาจากความเชอ่ื ทวี่ า่ เป็นควาามรู้ทพี่ ระผู้เปน็ เจ้าประทานใหแ้ ก่
ศาสดา เพื่อนาไปเผยแพรแ่ กม่ วลมนษุ ย์ สว่ นใหญ่จะเปน็ ความรทู้ ปี่ ระมวลไว้ในคมั ภรี ์ทางศาสนา เชน่ คมั ภีร์
พระไตรปิฏกของศาสนาพุทธ คัมภีรอ์ ุปนษิ ทั และภควัทคีตาของศาสนาฮนิ ดู คัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์
และคัมภรี ์อลั กรุอานของศาสนาอสิ ลาม เปน็ ต้น
เป็นท่ีน่าสงั เกตว่าศาสนาสาคญั ๆ ของโลก มักจะมคี ัมภีร์เป็นแหลง่ ประมวลคาสอนของศาสนา โดยถือว่าเปน็
พระวจั นะของศาสดา วรรณกรรมประเภทนีจ้ งึ ได้รบั การยอมรับจากศาสนิกชน หรอื ผู้นับถอื ศาสนานนั้ ๆ ว่า
เปน็ วรรณกรรมอนั เป็นสัจธรรม หรือความจรงิ อันแท้

5. วรรณกรรมอนั เกดิ จากการประจักษ์ หมายถึง วรรณกรรมที่บันทกึ ความรู้มาจากวธิ ีวิทยาศาสตร์ การ
สงั เกต การทดลอง การพสิ จู น์ความจริง โดยการเกบ็ รวบรวม วเิ คราะห์ และแปลความหมายของขอ้ มลู
วรรณกรรมประเภทน้นี บั เป็นรากฐานของวิชาการวิจัยในยคุ ปัจจุบัน เพราะในปัจจบุ ันวงการศึกษา และอาชีพ
ท้งั หลาย ต่างนาเอาวธิ กี ารวจิ ัยเขา้ ไปใช้ในการพฒั นางานของตนอยา่ งกวา้ งขวาง จงึ นับเปน็ วรรณกรรมทไี่ ดร้ บั
การยอมรับสูงทส่ี ดุ ในปัจจบุ ัน

6. วรรณกรรมอนั เกดิ จากวรรณศลิ ป์ หมายถงึ วรรณกรรมที่เกดิ จากศิลปะการประพนั ธ์
โดยมีสุนทรยี ภาพ จินตนาการ และสภาพแวดล้อมเปน็ ปัจจยั การผลิตส่ิงเรา้ ทส่ี ะท้อนเขา้ สู่จติ นน้ั มีหลายอย่าง
สุดแทแ้ ตว่ ่าบคุ คลอยู่ในสภาพแวดล้อมใดส่งิ เรา้ ทีน่ ับวา่ มอี ิทธิพล และเป็นปัจจัยในการสรา้ งวรรณกรรมมาก

ไดแ้ ก่ การเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ธรรมชาติ ศาสนา และความเชอื่ เปน็ ต้น (ฉตั รชยั ศุกระกาญจน์
2525 : 25-27)

6) แบ่งตามคณุ คา่ ท่มี ุ่งให้กบั ผูอ้ ่าน มี 3 ประเภท คือ
1. วรรณกรรมทใี่ หค้ วามรูห้ รอื ความคิด เช่น สารคดี รายงาน ตารา พระราชพิธพี งศาวดาร
2. วรรณกรรมม่งุ ใหค้ วามเพลิดเพลนิ เชน่ บทละคร นิทาน นยิ าย เรื่องสัน้
3. วรรณกรรมทีม่ งุ่ ผสมผสานความรู้ ความคดิ และความบันเทิงเขา้ ด้วยกัน ผลงานนี้อาจอยู่ในวรรณคดี

ประเภทตา่ ง ๆ ได้ (วภิ า กงกะนันทน์ 2523 : 32-34)
สาหรบั ฉัตรชัย ศุกระกาญจน์ (2525 : 28) แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนค้ี ือ

1. วรรณกรรมเชิงวชิ าการ หมายถงึ วรรณกรรมท่มี จี ุดประสงคห์ รือมพี นั ธกิจหลกั คอื การให้ความรู้
ความคิด อนั ได้จากการบอกเล่า จากญาณทศั น์ จากเหตผุ ล จากคัมภีร์ และจากการประจักษ์ วรรณกรรม
ประเภทนี้มงุ่ เสนอเนอื้ หาแก่ผู้อา่ นเปน็ สาคญั และไมส่ ้จู ะให้ความสาคัญในเรอ่ื งรูปแบบเทคนิค และกลวิธกี าร
ประพนั ธม์ ากนกั กลา่ วโดยสรปุ ก็คอื เปน็ วรรณกรรมท่ีมุง่ ให้ความรเู้ ชงิ วชิ าการนัน่ เอง

2. วรรณกรรมเชิงวรรณศลิ ป์ หมายถงึ วรรณกรรมที่แตง่ ขึน้ โดยเน้นรูปแบบ เทคนคิ และกลวิธีการ
ประพันธ์ ไมย่ ่งิ หย่อนไปกว่าเนอ้ื เรอ่ื ง แต่การเสนอความรคู้ วามคดิ น้ัน ไมเ่ นน้ ในเรอื่ งขอ้ มลู อนั เป็นขอ้ เทจ็ จรงิ
เทา่ กบั ความบันเทิง และสุนทรยี ภาพ กล่าวโดยสรปุ กค็ ือ เป็นวรรณกรรมทมี่ ่งุ ให้ความบนั เทิงและสนุ ทรยี ภาพ
นัน่ เอง

7) แบง่ ตามต้นกาเนดิ ของวรรณกรรม แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทคอื
1. วรรณกรรมปฐมภูมิ ( Primary Source) เป็นวรรณกรรมทเ่ี กดิ จากความคดิ ความริเรม่ิ การคน้ พบ

และ ประสบการณ์ของผู้ผลิตเองสาหรบั นาไปใชง้ านหรือเผยแพรแ่ ก่สาธารณชน เชน่ เอกสารจดหมายเหตุ
วิทยานพิ นธ์ รายงานการวจิ ยั และเอกสารส่วนบคุ คล เปน็ ต้น

2. วรรณกรรมทุตยิ ภูมิ ( Secondary Source) เปน็ วรรณกรรมท่ีเกิดจากการรวบรวม วเิ คราะห์
เลอื กสรร ประมวล และเรยี บเรยี งขอ้ มลู มาจากวรรณกรรมปฐมภมู ิ เช่น หนงั สือตาราต่าง ๆ หนงั สือ
พจนานกุ รม และหนงั สือสารานกุ รม เปน็ ต้น

3. วรรณกรรมตติยภมู ิ (Tertiary Source) เป็นวรรณกรรมทีเ่ กิดจาก การรวบรวม วิเคราะห์ เลือกสรร
ประมวล และเรยี บเรยี งขอ้ มูลจากวรรณกรรมทตุ ิยภูมิเปน็ หลกั เชน่ เอกสารคาสอน รายงานของนกั ศกึ ษา
และคูม่ ือศึกษากระบวนวิชาตา่ ง ๆ เปน็ ตน้
จากทัศนะต่าง ๆ ที่มีผูจ้ าแนกประเภท ของวรรณกรรมนัน้ จะทาให้ผู้ทศ่ี ึกษาวรรณกรรม สามารถทจ่ี ะเข้าใจถงึ
รูปแบบต่าง ๆ ของวรรณกรรมได้ชดั เจนยงิ่ ข้นึ โดยเฉพาะการแบ่งตามคุณค่าทม่ี ุง่ ให้กบั ผู้อา่ น และตามรปู แบบ
หรือวสั ดแุ ละสอ่ื ของการเสนอวรรณกรรม จะช่วยให้ผศู้ กึ ษาวรรณกรรมสามารถศึกษารปู แบบวรรณกรรมใน
ศาสตรต์ ่าง ๆ เชิงวิจารณ์

ประวัตคิ วามเป็นมาในการศกึ ษาวรรณกรรมทอ้ งถนิ่

การศึกษาวรรณกรรมไทย (รวมทั้งวรรณคดี หรอื วรรณกรรมแบบฉบบั ) เร่มิ ศกึ ษาเมอ่ื สมยั รชั กาลที่
๕ โดยมกี ารตงั้ โบราณคดสี โมสร เมือ่ พ.ศ. ๒๔๕๐ ได้รวบรวม ชาระ ซอ่ มแซมวรรณกรรมทกี่ ระจัดกระจาย
โดยผรู้ วบรวมคือ นักปราชญ์ ราชบัณฑติ ขนุ นาง ซง่ึ รจู้ กั แตว่ รรณคดีหรือวรรณกรรมในราชสานักเท่านนั้
ตอ่ มาในสมัยรชั กาลท่ี ๖ มกี ารตงั้ วรรณคดีสโมสร เม่อื พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยดาเนินการตอ่ จากโบราณคดีสโมสร
โดยไดจ้ ดั ประเภทของวรรณกรรมและพจิ ารณาวา่ วรรณกรรมใดสมควรยกยอ่ ง แต่การศึกษากอ็ ยูใ่ นวงจากดั
การศกึ ษาจงึ จากดั อยู่เพยี งในวรรณกรรมท่ีชาระไดใ้ นครง้ั นัน้ เท่านน้ั ไม่ไดศ้ ึกษาวรรณกรรมอน่ื ๆ ใหก้ วา้ งขวาง
ออกไป วรรณกรรมชาวบา้ น ชาววัดจงึ ถูกทอดทงิ้ อยเู่ ปน็ นาน เม่อื ราว พ.ศ. ๒๕๐๒ สถาบันการศกึ ษาระดับ
อดุ มได้นา
ศกึ ษา ไดแ้ นวคิดจาสกตะวันตกทน่ี ยิ มศกึ ษาเรอ่ื งราวทางพน้ื บา้ น และเสนอเป็นวิทยาการในหลักสตู ร ที่
เรยี กชอื่ วา่ Folklore ใชช้ อ่ื วา่ “คติชาวบ้าน” บ้าง “คตชิ นวทิ ยา” บ้าง จากการศึกษาทาใหท้ ราบถงึ แนวคิด
คตินิยม ปรชั ญาชวี ิตของสงั คมในท้องถ่นิ ต่าง ๆ ของไทย มีความแตกตา่ งจากปรัชญาชวี ิตและสงั คมของภาค
กลางเกอื บสิ้นเชิง จึงทาใหม้ กี ารหนั มาศกึ ษาวรรณกรรมในแตล่ ะท้องถิ่นมากข้นึ จนต่อมาได้มีการจัดรายวชิ า
วรรณกรรมทอ้ งถ่ินในหลักสูตรมัธยมศกึ ษาตอนปลาย พ.ศ.๒๕๒๔ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓)

ความหมายของวรรณกรรมท้องถ่ิน

วรรณกรรมท้องถิน่ หมายถึง วรรณกรรมทีเ่ ป็นมุขปาฐะ (ใช้ถอ้ ยคาเลา่ สืบตอ่ ๆ กันมา) และลาย
ลักษณ์ (บันทกึ ในวสั ดุตา่ ง ๆ เช่น ในใบลาน และบนั ทึกในกระดาษทเ่ี รียกวา่ สมดุ ไทย สมุดขอ่ ย เปน็ ตน้ )
วรรณกรรมเหลา่ น้ปี รากฏอยู่ในท้องถิ่นภาคตา่ ง ๆ ของไทย โดยคนทอ้ งถิน่ นน้ั เปน็ ผูส้ ร้างสรรคข์ ึน้ มา รูปแบบ
ฉันทลกั ษณเ์ ป็นไปตามความนยิ มของคนท้องถ่นิ ภาษาท่ีใช้เปน็ ภาษาของท้องถ่นิ นน้ั ๆ วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ มีอยู่
ในทุกท้องถน่ิ ของประเทศไทย เช่น ท้องถนิ่ ใต้ ท้องถิน่ เหนอื ทอ้ งถน่ิ อสี าน ทอ้ งถ่นิ ภาคกลาง

ลักษณะของวรรณกรรมท้องถน่ิ

วรรณกรรมท้องถิน่ มีลกั ษณะทีส่ รุปได้ ดงั นี้
๑. ชาวบา้ นในท้องถน่ิ เป็นผสู้ ร้างสรรค์ คัดลอกและเผยแพร่
๒. กวีผู้ประพนั ธ์ ส่วนมากคอื พระภิกษุและชาวบ้าน โดยมีวดั เปน็

ศนู ยก์ ลาง
๓. ภาษาที่ใชเ้ ป็นภาษาประจาถิ่น เปน็ ภาษาที่เรยี บงา่ ยมุ่งการสอ่ื

ความหมายกับผอู้ ่าน
สานวนโวหารเปน็ ของทอ้ งถนิ่

๔. เนอื้ เร่อื งมุ่งใหค้ วามบนั เทิงใจ บางครง้ั ได้สอดแทรกคตธิ รรมของพุทธศาสนา
๕. คา่ นยิ มยึดปรัชญาแบบชาวพทุ ธ

การเปรียบเทียบวรรณกรรมแบบฉบับกับวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ

วรรณกรรมแบบฉบบั (วรรณคดี)
๑. ชนช้ันสูง เจ้านาย ขา้ ราชสานกั มีสทิ ธมิ สี ว่ นเป็นเจา้ ของ
๑.๑ ผู้สร้างสรรค์ รวมถงึ จดบันทึก คดั ลอก
๑.๒ ผใู้ ช้(อ่าน ฟัง)
๑.๓ อนรุ ักษ์
๑.๔ แพร่หลายในราชสานกั
๒. กวี ผปู้ ระพนั ธ์ เปน็ นักปราชญ์ราชบณั ฑิต หรอื เจา้ นาย ฉะนั้นมโนทศั น์ ค่านยิ มและทศั นะทีเ่ ห็น

สงั คมสมัยนัน้ จึงจากดั อยใู่ นร้วั ในวัง หรือมีการสอดแทรกสภาวะสงั คมก็เปน็ แบบมองเห็นสังคมอยา่ งเบ้อื งบน
มองลงมา

๓. ภาษาและกวโี วหารนิยมการใช้คาศพั ท์อดุ มไปด้วย คาบาลีสันสกฤต โดยเชื่อวา่ เป็นการแสดงภูมิ
ปญั ญาของกวี แพรวพราวไปดว้ ยกวโี วหารทีเ่ ข้าใจยาก

๔. เน้อื หาส่วนใหญจ่ ะมุ่งในการยอพระเกยี รติ ทั้งทางตรงและทางอ้อม แตต่ า่ งก็มีเนื้อหาท่เี ก่ยี วกบั การ
ผ่อนคลาย ทางด้านอารมณ์และศาสนาอยไู่ ม่น้อย

๕. ค่านยิ มอดุ มคตยิ ดึ ปรชั ญาชวี ติ แบบสงั คมชาวพุทธ และยกยอ่ งสถาบันกษตั รยิ อ์ กี ด้วย

วรรณกรรมทอ้ งถิ่น

๑. ชาวบ้านทวั่ ไปมีสทิ ธเิ ป็นเจา้ ของ คือ
๑.๑ ผูส้ รา้ งสรรค์ ผ้ใู ช้
๑.๒ อนรุ กั ษ์
๑.๓ แพร่หลายในหมชู่ าวบา้ น

๒. กวผี ้ปู ระพนั ธ์ เป็นชาวพน้ื บ้าน หรือ
พระภิกษุสร้างสรรคว์ รรณกรรมข้นึ มา ด้วยใจรักมากกวา่ “บาเรอท้าวไท้ ธิราช ผู้มีบุญ ” ฉะนนั้ มโนทศั น์
เกีย่ วกับสภาวะของสังคมจึงเป็นสังคมชาวบ้านแบบประชาคมทอ้ งถ่นิ

๓. ภาษาท่ใี ชเ้ ป็นภาษางา่ ย ๆ เรียบ ๆ ม่งุ การสือ่ ความหมายเป็นสาคัญ ส่วนใหญเ่ ป็นภาษาของ
ทอ้ งถิน่ นัน้ ละเว้นคาศัพท์บาลสี ันสกฤต โวหารนิยมสานวนท่ีใช้ในท้องถ่นิ

๔. เนื้อหา สว่ นใหญ่มุ่งในทางระบายอารมณ์ บนั เทิงใจ แตแ่ ฝงคตธิ รรมทางพทุ ธศาสนา แม้วา่ ตวั
เอกของเร่ืองจะเป็นกษตั รยิ ์ก็ตาม แตม่ ไิ ด้มงุ่ ยอพระเกยี รติมากนัก

๕. คา่ นยิ มและอดุ มคติโดยทัว่ ไปเหมือนกบั วรรณกรรมแบบฉบับ ยกยอ่ งสถาบนั กษตั ริย์แตไ่ ม่เนน้
มากนกั

คณุ ค่าของวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน

วรรณกรรมท้องถ่นิ มีประโยชน์มากมายหลายประการดงั น้ี
๑. ให้ความบันเทิงใจแก่ชมุ ชน เช่น ขบั เสภาในภาคกลาง เลา่ ค่าวหรอื ขบั ลานาภาคเหนอื อ่าน

หนงั สือในบญุ เงือนเฮือนดใี นภาคอสี าน การสวดหนังสือและสวดด้านของภาคใต้
๒. ใหเ้ ขา้ ใจในค่านิยม โลกทัศนข์ องแต่ละทอ้ งถิน่ โดยผา่ นทางวรรณกรรม
๓. เข้าใจวฒั นธรรมของชาวบา้ นในท้องถิ่นน้นั
๔. กอ่ ให้เกดิ ความรักถิน่ หวงแหนมาตุภมู ิ และรกั สามัคคใี น

ทอ้ งถิ่นของตน
(ท่มี า : ธวชั ปณุ โณทก วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ สานกั พิมพ์โอเดียนสโตร์
,๒๕๒๕)

วรรณกรรมและวรรณคดี

เรียนภาษาไทยในคอมกบั ครูปยิ ะฤกษใ์ นวนั นี้ เรามาทาความรจู้ ักกบั “วรรณกรรม” และ “วรรณคดี” กนั
นะครับ ว่าคาสองคาน้มี ีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร

วรรณกรรม ความหมายตรงกบั คาในภาษาองั กฤษ คือคาวา่ Literature หมายถึง วรรณคดหี รอื

ศิลปะ ทเ่ี ปน็ ผลงานอนั เกิดจากการคดิ และจนิ ตนาการ แล้วเรียบเรยี ง นามาบอกเลา่ บันทกึ ขบั รอ้ ง หรือส่ือ
ออกมาด้วยกลวิธตี ่าง ๆ โดยทั่วไปแลว้ จะแบง่ วรรณกรรมเปน็ ๒ ประเภท คอื วรรณกรรมลายลักษณ์ คอื
วรรณกรรมที่บันทึกเปน็ ตัวหนังสือ และวรรณกรรมมขุ ปาฐะ อันไดแ้ ก่ วรรณกรรมทเี่ ลา่ ดว้ ยปาก ไม่ไดจ้ ด
บันทึก
ดว้ ยเหตนุ ้ี วรรณกรรมจึงมคี วามหมายครอบคลุมกว้าง ถงึ ประวัติ นทิ าน ตานาน เรื่องเลา่ ขาขัน เรอ่ื งส้นั นว
นิยาย บทเพลง คาคม เปน็ ต้น
วรรณกรรม เปน็ ผลงานศลิ ปะท่ีแสดงออกดว้ ยการใชภ้ าษา เพอื่ การส่อื สารเร่ืองราวให้เขา้ ใจระหวา่ งมนษุ ย์
ภาษาเปน็ สง่ิ ท่มี นุษย์คดิ คน้ และสร้างสรรคข์ ้ึนเพอ่ื ใชส้ ่ือความหมาย เร่อื งราวต่าง ๆ ภาษาทม่ี นษุ ย์ใช้ในการ
สอ่ื สาร ได้แก่
ภาษาพดู โดยการใช้เสยี ง
ภาษาเขยี น โดยการใชต้ วั อักษร ตวั เลข สญั ลกั ษณ์ และภาพ
ภาษาทา่ ทาง โดยการใช้กริ ยิ าทา่ ทาง หรอื ประกอบวสั ดอุ ยา่ งอืน่
ความงามหรอื ศลิ ปะในการใชภ้ าษาขน้ึ อยู่กับ การใช้ภาษาใหถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน และ เหมาะสมกับเวลา โอกาส
และบุคคล นอกจากน้ี ภาษาแตล่ ะภาษายงั สามารถปรงุ แตง่ ให้เกิดความเหมาะสม ไพเราะ หรือสวยงามได้
นอกจากนี้ ยงั มกี ารบัญญัตคิ าราชาศพั ท์ คาสภุ าพ ขึน้ มาใช้ได้อย่างเหมาะสม แสดงให้เห็นวฒั นธรรมท่ีเป็นเลศิ
ทางการใชภ้ าษาทค่ี วรดารงและยดึ ถือต่อไป ผู้สรา้ งสรรคง์ านวรรณกรรม เรียกว่า นกั เขยี น นกั ประพนั ธ์ หรือ
กวี (Writer or Poet)
วรรณกรรมไทย แบ่งออกได้ ๒ ชนดิ คอื
๑. ร้อยแกว้ เปน็ ขอ้ ความเรยี งท่ีแสดงเนือ้ หา เรือ่ งราวตา่ ง ๆ
๒. รอ้ ยกรอง เป็นขอ้ ความทีม่ กี ารใช้คาทสี่ ัมผสั คล้องจอง ทาใหส้ ัมผัสได้ถงึ ความงามของภาษาไทย ร้อย
กรองมีหลายแบบ คือ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน และรา่ ย

วรรณคดี หมายถึง วรรณกรรมหรืองานเขียนทีย่ กยอ่ งกนั วา่ ดี มสี าระ และมีคณุ คา่ ทาง

วรรณศลิ ป์ การใช้คาวา่ วรรณคดีเพ่อื ประเมินค่าของวรรณกรรมเกิดขน้ึ ในพระราชกฤษฎีกาตง้ั วรรณคดีสโมสร
ในสมยั รชั กาลท่ี ๖ วรรณคดี เป็นวรรณกรรมที่ถกู ยกย่องวา่ เขียนดี มคี ุณคา่ สามารถทาใหผ้ ู้อ่านเกิดอารมณ์
สะเทอื นใจ มคี วามคิดเปน็ แบบแผน ใชภ้ าษาที่ไพเราะ เหมาะแก่การใหป้ ระชาชนไดร้ ับรู้ เพราะ สามารถ
ยกระดบั จติ ใจใหส้ งู ขนึ้ รู้วา่ อะไรควรหรือไมค่ วร
วรรณคดแี บง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท
๑. วรรณคดีมขุ ปาฐะ
คือ วรรณคดี แบบท่เี ลา่ กันมาปากต่อปาก ไม่ไดบ้ ันทกึ ไว้ เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร เชน่ เพลงพน้ื บา้ น นทิ าน
ชาวบ้าน บทร้องเลน่
๒. วรรณคดีราชสานกั หรอื วรรรคดีลายลักษณ์ เช่น ไตรภูมพิ ระรว่ ง พระอภัยมณี อเิ หนา ลิลติ ตะเลง
พ่าย งานเขียนในสมัยใดสมยั หนง่ึ งานประพันธท์ ีไ่ ดร้ บั การยกยอ่ งจากนกั วจิ ารณ์ และผอู้ า่ นทว่ั ไป
สาหรับในภาษาไทย วรรณคดี ปรากฏครั้งแรกในหนังสอื พระราชกฤษฎกี าตง้ั วรรณคดีสโมสร วันท่ี ๒๓
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๕๗ โดยมีความหมายคือ หนงั สอื ทีไ่ ด้รับยกยอ่ งวา่ แตง่ ดี นัน้ คือมีการใช้ภาษาอย่างดี มี
ศิลปะการแต่งที่ยอดเยีย่ มทง้ั ด้านศิลปะการใช้คา ศลิ ปะการใช้โวหารและถูกตอ้ งตามหลักไวยากรณ์ และภาษา
นั้นให้ความหมายชัดเจน ทาให้เกิดการโน้มน้าวอารมณผ์ ูอ้ ่านให้คล้องตามไปด้วย กล่าวงา่ ย ๆ คือ เมื่อผูอ้ ่าน ๆ
แล้วทาให้เกิดความรสู้ ึกซาบซง้ึ ต่ืนเตน้ ด่ืมด่า หนังสอื เล่มใดอ่านแลว้ มีอารมณ์เฉย ๆ ไมซ่ าบซง้ึ ตรึงใจและทาให้
น่าเบ่ือถือว่าไม่ใชว่ รรณคดี หนังสือที่ทาให้เกดิ ความรสู้ ึกดม่ื ด่าดงั กลา่ วน้จี ะตอ้ งเป็นความร้สู กึ ฝา่ ยสงู คือทาให้
เกดิ อารมณ์ความนึกคิดในทางที่ดีงาม ไม่ชกั จูงในทางทไี่ ม่ดี

การศกึ ษาวรรณคดีโดยวเิ คราะหต์ ามประเภท สามารถแบง่ ไดเ้ ป็นประเภทต่างๆ ไดด้ งั ต่อไปน้ี
วรรณคดคี าสอน
วรรณคดศี าสนา
วรรณคดนี ทิ าน
วรรณคดีลลิ ติ
วรรณคดีนริ าศ
วรรณคดีเสภา
วรรณคดีบทละคร
วรรณคดีเพลงยาว
วรรณคดีคาฉันท์
วรรณคดียอพระเกยี รติ
วรรณคดคี าหลวง
วรรณคดปี ลกุ ใจ

วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ หมายถึง วรรณกรรมทีเ่ ป็นมขุ ปาฐะ (ใชถ้ ้อยคาเล่าสืบต่อ ๆ กนั มา) และ

ลายลักษณ์ (บนั ทกึ ในวสั ดุต่าง ๆ เช่น ในใบลาน และบันทึกในกระดาษทีเ่ รยี กวา่ สมุดไทย สมดุ ขอ่ ย เป็นต้น)
วรรณกรรมเหลา่ นีป้ รากฏอยูใ่ นทอ้ งถน่ิ ภาคตา่ ง ๆ ของไทย โดยคนท้องถิ่นน้ันเป็นผูส้ ร้างสรรคข์ ้นึ มา รปู แบบ
ฉันทลกั ษณเ์ ปน็ ไปตามความนยิ มของคนทอ้ งถนิ่ ภาษาทใี่ ช้เปน็ ภาษาของทอ้ งถน่ิ นั้น ๆ วรรณกรรมท้องถน่ิ มอี ยู่
ในทุกท้องถน่ิ ของประเทศไทย เชน่ ท้องถนิ่ ใต้ ท้องถิ่นเหนอื ทอ้ งถิ่นอีสาน ท้องถิน่ ภาคกลาง

ลกั ษณะของวรรณกรรมทอ้ งถนิ่

วรรณกรรมท้องถิน่ มีลกั ษณะทีส่ รุปได้ ดงั นี้
๑. ชาวบ้านในทอ้ งถิ่นเปน็ ผสู้ ร้างสรรค์ คัดลอกและเผยแพร่
๒. กวีผ้ปู ระพันธ์ สว่ นมากคอื พระภิกษแุ ละชาวบา้ น โดยมวี ดั เปน็ ศูนย์กลาง
๓. ภาษาที่ใชเ้ ป็นภาษาประจาถน่ิ เปน็ ภาษาที่เรียบงา่ ยม่งุ การสือ่ ความหมายกับผู้อ่าน
สานวนโวหารเป็นของทอ้ งถนิ่
๔. เน้อื เร่ืองมุ่งใหค้ วามบนั เทงิ ใจ บางครั้งได้สอดแทรกคตธิ รรมของพุทธศาสนา
๕. ค่านิยมยึดปรชั ญาแบบชาวพทุ ธ

การเปรยี บเทียบวรรณกรรมแบบฉบบั กับวรรณกรรมท้องถน่ิ

วรรณกรรมแบบฉบับ(วรรณคดี)
๑. ชนชัน้ สูง เจ้านาย ข้าราชสานักมสี ิทธมิ ีสว่ นเปน็ เจ้าของ
๑.๑ ผู้สร้างสรรค์ รวมถึงจดบันทึก คัดลอก
๑.๒ ผู้ใช้(อ่าน ฟงั )
๑.๓ อนรุ กั ษ์
๑.๔ แพรห่ ลายในราชสานัก
๒. กวี ผู้ประพันธ์ เปน็ นักปราชญ์ราชบณั ฑิต หรอื เจ้านาย ฉะน้นั มโนทศั น์
ค่านยิ มและทัศนะทเี่ หน็ สงั คมสมัยน้นั จงึ จากดั อยู่ในรัว้ ในวงั หรือมีการสอดแทรกสภาวะสังคมกเ็ ปน็ แบบ
มองเห็นสังคมอย่างเบอ้ื งบนมองลงมา
๓. ภาษาและกวโี วหารนิยมการใชค้ าศัพทอ์ ดุ มไปดว้ ย คาบาลีสันสกฤต โดยเชื่อวา่ เป็นการแสดงภมู ปิ ัญญาของ
กวี แพรวพราวไปดว้ ยกวโี วหารทเ่ี ขา้ ใจยาก
๔. เนอ้ื หาสว่ นใหญจ่ ะมงุ่ ในการยอพระเกยี รติ ท้งั ทางตรงและทางอ้อม แตต่ า่ งก็มีเนื้อหาท่เี กี่ยวกบั การผอ่ น
คลาย ทางดา้ นอารมณแ์ ละศาสนาอยูไ่ มน่ อ้ ย
๕. ค่านยิ มอดุ มคติยึดปรชั ญาชีวิตแบบสังคมชาวพุทธ และยกย่องสถาบนั กษัตรยิ อ์ ีกด้วย

วรรณกรรมทอ้ งถิน่

๑. ชาวบา้ นทั่วไปมีสทิ ธเิ ปน็ เจา้ ของ คือ
๑.๑ ผูส้ ร้างสรรค์ ผใู้ ช้
๑.๒ อนุรกั ษ์
๑.๓ แพรห่ ลายในหม่ชู าวบา้ น
๒. กวผี ปู้ ระพันธ์ เป็นชาวพ้ืนบ้าน หรือพระภิกษุสร้างสรรค์วรรณกรรมขึน้ มา ดว้ ยใจรักมากกว่า “บาเรอทา้ ว
ไท้ ธิราช ผมู้ บี ุญ” ฉะนั้นมโนทัศนเ์ ก่ยี วกับสภาวะของสงั คมจงึ เปน็ สังคมชาวบา้ นแบบประชาคมทอ้ งถนิ่
๓. ภาษาทใ่ี ชเ้ ป็นภาษาง่าย ๆ เรยี บ ๆ มงุ่ การสือ่ ความหมายเป็นสาคัญ ส่วนใหญเ่ ปน็ ภาษาของท้องถ่ินน้นั ละ
เวน้ คาศพั ทบ์ าลสี นั สกฤต โวหารนิยมสานวนท่ใี ช้ในทอ้ งถน่ิ
๔. เนอื้ หา สว่ นใหญม่ งุ่ ในทางระบายอารมณ์ บนั เทงิ ใจ แต่แฝงคตธิ รรมทางพทุ ธศาสนา แมว้ า่ ตัวเอกของเรอื่ ง
จะเปน็ กษตั รยิ ก์ ต็ าม แตม่ ไิ ดม้ ่งุ ยอพระเกยี รตมิ ากนัก
๕. คา่ นิยมและอุดมคตโิ ดยท่ัวไปเหมือนกับวรรณกรรมแบบฉบบั ยกยอ่ งสถาบนั กษัตริยแ์ ตไ่ ม่เนน้ มากนกั

คณุ คา่ ของวรรณกรรมทอ้ งถิน่

วรรณกรรมท้องถิน่ มปี ระโยชน์มากมายหลายประการดงั นี้
๑. ใหค้ วามบันเทิงใจแก่ชมุ ชน เช่น ขับเสภาในภาคกลาง เลา่ คา่ วหรือขบั ลานาภาคเหนือ อา่ นหนงั สอื
ในบุญเงอื นเฮือนดใี นภาคอีสาน การสวดหนังสอื และสวดดา้ นของภาคใต้
๒. ให้เขา้ ใจในค่านิยม โลกทัศนข์ องแตล่ ะทอ้ งถ่ินโดยผ่านทางวรรณกรรม
๓. เขา้ ใจวัฒนธรรมของชาวบา้ นในท้องถน่ิ นัน้
๔. ก่อให้เกดิ ความรกั ถิน่ หวงแหนมาตุภูมิ และรักสามัคคใี นทอ้ งถิน่ ของตน
(ทีม่ า : ธวัช ปุณโณทก วรรณกรรมท้องถนิ่ สานกั พิมพ์โอเดียนสโตร์,๒๕๒๕)


Click to View FlipBook Version