The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ray-129, 2020-07-22 21:21:08

ภาษาคืออะไร

ภาษาคืออะไร

ภาษา..พาเพลนิ

ภาษาคืออะไร ????

ความหมายอย่างกว้าง หมายถงึ กรยิ าอาการทแี่ สดงออกมาแลว้ สามารถทาความเข้าใจกนั ได้ ไมว่ า่ จะ
เปน็ ระหวา่ งมนุษยก์ ับมนุษย์ มนุษยก์ ับสัตว์ หรอื สัตวก์ ับสัตว์ ส่วนภาษาในความหมายอยา่ งแคบนน้ั หมายถึง
เสียงพูดที่มนษุ ย์ใช้สอื่ สารกันเทา่ น้นั หรือสัญลกั ษณ์ ที่กาหนดขึน้ เพ่อื ใช้เปน็ เครื่องมอื ท่ีสาคญั ทส่ี ุดในการส่ือ
ความเข้าใจ ระหว่างกนั ของคนในสงั คม ชว่ ยสรา้ งความเขา้ ใจอันดตี ่อกนั ชว่ ยสร้างความสัมพนั ธ์ของคน ใน
สังคม ถ้าคนในสังคมพูดกันดว้ ย ถอ้ ยคาทีด่ จี ะชว่ ยให้คนในสังคมอยกู่ ันอย่างปกติสขุ ถา้ พดู กนั ดว้ ยถอ้ ยคาไม่
ดี จะทาใหเ้ กิดความบาดหมางน้าใจกนั ภาษาจึงมสี ว่ นชว่ ยสรา้ งมนุษยสมั พนั ธ์ ของคนในสังคม ภาษา
เป็นสมบัตขิ องสังคม ภาษาท่ใี ช้ในการส่ือสารมี 2 ประเภท คือ วัจนภาษาและอวจั นภาษา

พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถานพ.ศ. 2542 ได้ให้คาจากดั ความของคาวา่ ภาษา ไวว้ า่ "ถ้อยคาท่ี
ใช้พูดหรือเขียนเพือ่ สอ่ื ความของชนกลมุ่ ใดกลุ่มหนงึ่ เชน่ ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพือ่ สื่อความเฉพาะวงการ
เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรม; เสยี ง ตัวหนงั สือ หรือกิริยา อาการ ท่ีสือ่ ความได้

คาว่า "ภาษา" ในภาษาไทยนน้ั มาจากภาษาบาลี ภาสา และ ภาษาสันสกฤต ภาษา อย่างไรกต็ าม
ในภาษากลุ่มไท-กะไดอน่ื ทมี่ ีคาศพั ทบ์ าลแี ละสนั สกฤตนอ้ ยกวา่ ภาษาไทยนน้ั มักใช้คาทีม่ ีรากศพั ทเ์ ดยี วกบั คา
วา่ "ความ" ในภาษาไทย เชน่ ภาษาไทใหญ่ใช้ กวา๊ ม "ภาษา, "คา" และ กวา๊ มลา๊ ว "ภาษาลาว", ภาษาถิ่น
พายัพใช้ กา (คา) "ภาษา, คา" และ กาไท (คาไธ) "ภาษาไทย", ภาษาไทดาใช้ กวา๊ ม "ภาษา, คา" และ กวา๊ ม
แกว "ภาษาเวยี ดนาม", และภาษาไทลอ้ื ใช้ กา "ภาษา, คา" และ กาไถ่ "ภาษาไทย" เป็นต้น ด่งั นั้น หากคาวา่
"ความ" ในภาษาไทยยงั มีการใช้เหมือนภาษาตระกูลไท-ไตดั่งกล่าว "ความไทย" ควรแปลวา่ "ภาษาไทย

ภาษาทใี่ ช้ในการสอ่ื สารมี 2 ประเภท คือ วจั นภาษาและอวัจนภาษา

1. วัจนภาษา (verbal language)

วจั นภาษา หมายถึง ภาษาถอ้ ยคา ได้แก่ คาพดู หรอื ตัวอกั ษรท่กี าหนดใชร้ ่วมกันในสังคม ซง่ึ
หมายรวมทั้งเสียง และลายลักษณอ์ กั ษร ภาษาถ้อยคาเป็นภาษาทมี่ นษุ ย์สร้างขน้ึ อย่างมรี ะบบ มีหลกั เกณฑ์
ทางภาษา หรอื ไวยากรณ์ซึง่ คนในสังคมตอ้ งเรียนรู้และใช้ภาษาในการฟัง พูด อา่ น เขียนและคดิ การใชว้ จั
นภาษาในการสอื่ สารตอ้ งคานงึ ถงึ ความชัดเจนถูกตอ้ งตามหลักภาษา และความเหมาะสมกับลักษณะ การ
สือ่ สาร ลักษณะงาน เปา้ หมาย ส่อื และผรู้ บั สาร
วจั นภาษาแบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คือ

1. ภาษาพูด ภาษาพูดเปน็ ภาษาท่มี นุษยเ์ ปลง่ เสียงออกมาเปน็ ถ้อยคาเพอื่ สอ่ื สารกับ
ผ้อู ่นื นักภาษาศาสตร์ถอื ว่าภาษาพูดเป็นภาษาทแี่ ท้จริงของมนษุ ย์ สว่ นภาษาเขยี นเปน็ เพียงวิวัฒนาการขัน้
หนึง่ ของภาษาเท่านน้ั มนุษยไ์ ดใ้ ช้ภาษาพูดติดต่อส่อื สารกับผูอ้ ่นื อยู่เสมอ ทัง้ ในเรื่องสว่ นตัว สังคม และ
หนา้ ท่กี ารงาน ภาษาพูดจงึ สามารถสรา้ งความรกั ความเขา้ ใจ และชว่ ยแก้ไขปัญหา
ต่าง ๆ ในสังคมมนุษย์ไดม้ ากมาย

2. ภาษาเขียน ภาษาเขยี นเป็นภาษาทีม่ นษุ ย์ใช้อักษรเปน็ เครื่องหมายแทนเสียงพดู ในการส่ือ
สาร ภาษาเขยี นเป็นสัญลักษณข์ องการพดู ภาษาเขยี นน้นั เป็นสิง่ ทม่ี นษุ ย์ประดิษฐข์ ้ึนมาเพ่ือใช้บนั ทึกภาษา
พดู เป็นตัวแทนของภาษาพดู ในโอกาสตา่ ง ๆ แมน้ ักภาษาศาสตรจ์ ะถือว่าภาษาเขยี นมใิ ช่ภาษาที่แทจ้ ริงของ
มนุษย์ แต่ภาษาเขียนเปน็ เคร่อื งมือสาคญั ในการสื่อสารของมนษุ ย์ มาเป็นเวลาชา้ นาน มนุษยใ์ ช้ภาษาเขยี น
สอ่ื สารทั้งในสว่ นตวั สงั คม และหน้าที่การงาน ภาษาเขยี นสรา้ งความรัก ความเขา้ ใจ และชว่ ยแกป้ ัญหา
ต่าง ๆ ในสงั คมมนษุ ย์ได้มากมายหากมนษุ ย์ร้จู กั เลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั บคุ คล โอกาส และสถานการณ์

2.อวัจนภาษา ( non-verbal language)

อวัจนภาษา หมายถึง เป็นการส่อื สารโดยไมใ่ ช้ถ้อยคา ทั้งทเ่ี ป็นภาษาพูดและภาษาเขียน เป็น
ภาษาที่มนษุ ย์ใชส้ ่ือสารกนั โดยใช้อากัปกริ ยิ า ท่าทาง น้าเสยี ง สายตาหรือ ใชว้ ตั ถุ การใช้สัญญาณ และ
สงิ่ แวดล้อมต่าง ๆ หรอื แสดงออกทางด้านอืน่ ทสี่ ามารถรับรู้กันได้ สามารถแปลความหมายได้และทาความ
เข้าใจตอ่ กันได้

การแสดงออกด้วยอวัจนภาษา
อวัจนภาษาเปน็ สญั ลักษณท์ ี่มีแหลง่ แสดงออกด้วยอากปั กริ ิยา หรอื ทีเ่ กดิ การแสดงออก ในหลายแหลง่

ดว้ ยกัน ไดแ้ ก่

สญั ลักษณ์ท่แี สดงออกดว้ ยอากปั กริ ิยา มดี ังน้ี

1.1 เกิดขน้ึ ตามธรรมดาวสิ ัย เช่น การยิม้ การโบกมือ การส่ายหน้า การปดั เม่ือแมลง
ไต่ตอม เปน็ ตน้

1.2 เกิดจากอารมณ์แรงเป็นเครอ่ื งเรา้ เช่น เวลาทมี่ อี ารมณโ์ กรธเลือดจะสูบฉีด จน
หน้าแดง มอื เกร็ง กาหมดั เป็นต้น

2. สัญลักษณ์แสดงออกทร่ี า่ งกาย
เป็นการใชว้ ัตถุประกอบกับร่างกายแล้วบ่งบอกความหมาย ได้โดยไมไ่ ด้ แสดงกริ ิยา

อาการ เช่น การแต่งกาย เครอ่ื งประดบั ทรงผม เปน็ ต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความหมาย
ทงั้ สน้ิ

3. สญั ลักษณ์แสดงออกด้วยวตั ถุท่แี วดล้อม
เปน็ สง่ิ ทีบ่ ุคคลให้ความหมายหรอื ตกลงให้ สิ่งนั้นมีความหมายหนง่ึ ๆ เช่น ลักษณะ

และขนาดของบ้านเรือน สามารถบอกรสนิยม ฐานะ หรอื เชื้อชาติของเจ้าของบ้าน
ได้ สญั ลักษณ์บางอยา่ งตอ้ งการให้รู้ทวั่ กัน เชน่ ลกู ศรบอกทาง สี แสง เสียง เปน็ ตน้

4. สญั ลักษณแ์ สดงออกด้วยพฤตกิ รรมแวดลอ้ ม ได้แก่
สิ่งแวดล้อมท่ีเปน็ วตั ถุ หรือคนท่แี วดล้อมทีแ่ สดงพฤตกิ รรมต่าง ๆ เกยี่ วขอ้ งกบั

เรา ทาให้เราต้องแสดงพฤตกิ รรม ตอบสนอง เช่น การปฏบิ ัตติ ามประเพณีต่าง ๆ การ
ชนื่ ชมศิลปกรรม ซึ่งลว้ นแลว้ แตส่ ือ่ อารมณแ์ ละวฒั นธรรมได้

ประเภทของอวจั นภาษา

อวัจนภาษาที่ใช้สอ่ื สารโดยทั่วไปได้แก่

1. สายตา (เนตรภาษา) การแสดงออกทางสายตา เชน่ การสบตากนั ระหวา่ งผู้ส่ง
สารและผรู้ ับสารกม็ ีส่วนชว่ ยในการตคี วามหมาย เชน่ การสบตาแสดงออกถึงความ
จริงใจ การรตี่ าแสดงออกถงึ ความสงสัย ความไมแ่ นใ่ จ ฯลฯ การแสดงออกทาง
สายตาจะตอ้ งสอดคล้องกบั การแสดงออกทางสหี น้า การแสดงออกทางสีหนา้ และ
สายตาจะชว่ ยเสรมิ วจั นภาษาให้มีนา้ หนกั ย่งิ ขน้ึ และใชแ้ ทนวัจนภาษาได้อย่างดี

2. กิริยาท่าทาง (อาการภาษา) การแสดงกิรยิ าท่าทางของบุคคล สามารถส่ือ
ความหมายไดโ้ ดยไม่ต้องใชค้ าพดู หรอื ใชเ้ สรมิ คาพดู ใหม้ ีน้าหนกั มากขนึ้
ได้ ไดแ้ ก่ กริ ิยาท่าทาง การเคล่อื นไหวรา่ งกายและอากปั กิรยิ าท่าทางต่าง
ๆ สามารถสอ่ื ความหมายไดม้ ากมาย เชน่ การเคลือ่ นไหวมือ การโบกมือ การ
สา่ ยหนา้ การพยักหน้า การยกไหล่ การยิ้มประกอบ การพูด การยกั ไหล่ การยกั
คิ้ว อาการน่ิง ฯลฯ

3. น้าเสียง (ปริภาษา) เปน็ อวจั นภาษาที่แฝงอยใู่ นภาษาพูด ได้แก่ สาเนียงของผู้
พูด ระดับเสียงสงู ต่า การเปล่งเสียง จงั หวะการพูด ความดังความค่อยของ
เสยี งพดู การตะโกน การกระซิบ นา้ เสยี งชว่ ยบอกอารมณแ์ ละความร้สู ึก นอกจากนี้
ยงั ช่วยแปลความหมายของคาพูด เชน่ การใชเ้ สยี งเนน้ หนกั เบา การเวน้
จังหวะ การทอดเสยี ง สง่ิ เหลา่ นที้ าใหค้ าพดู เดน่ ชดั ข้ึน การพูดเร็ว ๆ รวั ๆ การพูด
ที่หยดุ เป็นชว่ ง ๆ แสดงให้เห็นถึงอารมณ์กลวั หรือต่ืนเต้นของผพู้ ดู เปน็ ตน้

4. สงิ่ ของหรอื วัตถุ (วัตถภุ าษา) สิ่งของหรอื วตั ถุต่าง ๆ ทบ่ี คุ คลเลือกใช้ เช่น ของ
ใช้เครื่องประดบั เส้อื ผ้า กระเปา๋ รองเทา้ นาฬกิ า ปากกา แวน่ ตา เป็นต้น สงิ่
เหลา่ นี้เป็นอวจั นภาษาทสี่ อ่ื ความหมายไดท้ ้งั สน้ิ

5. เนอื้ ทีห่ รือช่องวา่ ง (เทศภาษา) ชอ่ งว่างของสถานท่หี รอื ระยะใกล้ไกลทีบ่ คุ คล
ส่ือสารกนั เป็นอวจั นภาษาทีส่ ่ือสารใหเ้ ขา้ ใจได้ เชน่ ระยะห่างของหญิงชาย พระ
กับสตรี คนกบั สิง่ ศกั ดิ์สทิ ธ์ิ คนสองคนนง่ั ชดิ กันบนม้านงั่ ตวั เดยี วกัน ยอ่ มส่ือสาร
ให้เข้าใจไดว้ า่ ทงั้ สองคนมีความสนิทสนมเปน็ พิเศษ เปน็ ต้น

6. กาลเวลา (กาล ภาษา) หมายถงึ การสื่อความหมายโดยให้เวลามีบทบาท
สาคัญ เวลาแตล่ ะชว่ งมีความหมายในตัว คนแต่ละคน และคนตา่ งวัฒนธรรมจะมี
ความคดิ และความหมายเก่ยี วกบั เวลาแตกตา่ งกนั เช่น การตรงตอ่ เวลาวฒั นธรรม
ตะวนั ตกถอื วา่ มคี วามสาคญั มาก การไม่ตรงตอ่ เวลานัดหมายเปน็ การแสดงความดู
ถูก เปน็ ตน้

7. การสัมผสั (สัมผัสภาษา) หมายถึง อวัจนภาษาท่แี สดงออกโดยการสมั ผส้ เพื่อส่อื
ความรสู้ กึ อารมณ์ ความปรารถนาในใจของผู้ส่งสารไปยังผูร้ บั สาร เช่น การจับมือ
การ แลบลนิ้ การลูบศีรษะ การโอบกอด การตบไหล่ ซ่งึ สัมพันธ์กบั วัฒนธรรมของ
แต่ละสงั คม เชน่ คนไทยถือมใิ หเ้ ดก็ สมั ผสั ส่วนหวั ของผู้ใหญ่ เปน็ ต้น

ท่มี า : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter2-1.html


Click to View FlipBook Version