รปู แบบ/วธิ ีปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลิศ (Best Practices)
ดา้ นการบรหิ ารจัดการศึกษาระดบั ปฐมวัย
“โกตา Smart Kid นักวทิ ยาศาสตร์น้อย”
นางรัตนา ดาทองเสน
ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านโกตาบารู
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รปู แบบ/วิธปี ฏบิ ัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการบริหารจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัย ก
คานา
สำนักงำนศกึ ษำธิกำรจงั หวัดยะลำ จัดให้มีกจิ กรรมกำรคดั เลอื กรปู แบบ/วธิ ปี ฏบิ ัติทีเ่ ป็นเลิศ (Best
Practices) ระดับปฐมวัย ภำยใต้โครงกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำปฐมวัยในระดับจังหวัด
ยะลำ ปงี บประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้สถำนพฒั นำเด็กปฐมวัยของหน่วยงำน
ทำงกำรศึกษำทุกสังกัดในพ้ืนที่ ได้มีเวทีในกำรนำเสนอผลงำนวิจัย นวัตกรรม หรือวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ
เกย่ี วกับกำรจดั กำรศึกษำระดับปฐมวยั โดยมีกำรคัดเลอื กผลงำน จำนวน ๒ ด้ำน คือ ๑) ด้ำนกำรบรหิ ำรจัด
กำรศึกษำระดับปฐมวัย (สำหรับผู้บริหำร) และ ๒) ด้ำนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ระดับปฐมวัย
(สำหรบั ครูผู้สอน)
ในกำรนผ้ี ู้นำเสนอได้จดั ทำเอกสำรเพื่อประกอบกำรพิจำรณำคัดเลือกผลงำน ด้ำนกำรบริหำรจัด
กำรศึกษำระดบั ปฐมวัย (สำหรบั ผบู้ ริหำร) ของโรงเรียนบ้ำนโกตำบำรู ภำยใต้รูปแบบ “ โกตำ Smart Kid
นักวิทยำศำสตร์น้อย” ซ่ึงประกอบไปด้วย ๑. ควำมสำคัญของผลงำน นวัตกรรมหรือแนวปฏิบัติ ๒.
จดุ ประสงคแ์ ละเปำ้ หมำยของกำรดำเนนิ งำน ๓. กระบวนกำรผลิตผลงำน หรือขั้นตอนกำรดำเนินงำน ๔.
ผลกำรดำเนินกำร ผลสัมฤทธิ์ และประโยชน์ที่ได้รับ ๕.ปัจจัยควำมสำเร็จ ๖. บทเรียนท่ีได้รับ ๗. กำร
เผยแพร่และกำรได้รบั กำรยอมรบั ๘. กำรขยำยผลต่อยอดหรอื ประยกุ ตใ์ ช้ผลงำน นวตั กรรมหรอื แนวปฏบิ ัติ
และ๙. เอกสำร/หลกั ฐำนประกอบ อกี ท้งั เพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทำงในกำรดำเนินกำรกำหนดกรอบและแนวทำงใน
กำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศึกษำสู่เปำ้ หมำยตำมมำตรฐำนทีส่ ถำนศึกษำกำหนด
ท้ังนี้ขอขอบคุณรองผู้อำนวยกำรสถำนศึกษำ คณะครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ นักเรียน
คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ผปู้ กครอง ศึกษำนิเทศก์ ผูท้ รงคุณวฒุ ทิ ุกทำ่ นและผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง
ทุกฝำ่ ยที่มีส่วนรว่ มในกำรจัดทำเอกสำรฉบับน้ี ให้มีควำมสมบูรณ์และสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี สำมำรถนำไป
ปฏิบตั งิ ำนได้อย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพและประสทิ ธผิ ลตอ่ ไป
รัตนำ ดำทองเสน
นางรตั นา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นโกตาบารู
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการบริหารจดั การศึกษาระดับปฐมวยั ข
สารบญั
เรื่อง หน้า
คานา........................................................................................................................................ ก
สารบญั ..................................................................................................................................... ข
๑. ควำมสำคญั ของผลงำน นวตั กรรมหรอื แนวปฏิบัต.ิ .............................................................. ๑
๒. จุดประสงคแ์ ละเปำ้ หมำยของกำรดำเนนิ งำน...................................................................... ๓
๓. กระบวนกำรผลิตผลงำน หรอื ขนั้ ตอนกำรดำเนินงำน.......................................................... ๓
๔. ผลกำรดำเนนิ กำร ผลสมั ฤทธิ์ และประโยชน์ทไี่ ดร้ บั ............................................................ ๗
๕. ปัจจัยควำมสำเร็จ................................................................................................................ ๑๑
๖. บทเรยี นที่ไดร้ บั .................................................................................................................... ๑๑
๗. กำรเผยแพรแ่ ละกำรไดร้ บั กำรยอมรบั ................................................................................. ๑๒
๘. กำรขยำยผลตอ่ ยอดหรือประยกุ ต์ใชผ้ ลงำน นวัตกรรมหรอื แนวปฏบิ ัติ............................... ๑๓
๙. เอกสำร/หลกั ฐำนประกอบ.................................................................................................. ๑๔
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นโกตาบารู
สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รปู แบบ/วธิ ีปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) ด้านการบรหิ ารจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั 1
การบรหิ ารจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั
ชื่อผลงาน : “ โกตา Smart Kid นักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ”
ชอ่ื ผูน้ าเสนอผลงาน : นางรัตนา ดาทองเสน ตาแหน่ง ผ้อู านวยการสถานศึกษา
โทรศัพท์ ๐๘๙ – ๙๗๔๓๘๓๖ E-mail : [email protected]
โรงเรยี น บ้านโกตาบารู สังกัด สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑
ตาบล โกตาบารู อาเภอ รามัน จังหวดั ยะลา รหัสไปรษณีย์ ๙๕๑๔๐ โทรศพั ท์ ๐๗๓ – ๒๕๑๒๙๕
เว็บไซตโ์ รงเรยี น http://www.kotabaru.ac.th (Host สพฐ.)
๑. ความสาคญั ของผลงาน นวัตกรรมหรือแนวปฏิบตั ทิ ่ีนาเสนอ
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕และ
(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ และนโยบายการปฏริ ปู การศกึ ษา เหน็ ความสาคัญของการจดั การศึกษา จงึ กาหนด
ไว้ในหมวด ๔ มาตราที่ ๒๒ – ๓๐ ในส่วนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาให้ผู้เรียนมี
คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐ สอดคล้องกับหลักการ
แนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัย รวมทั้งสอดคล้องกับบริบทและสภาพความต้องการของท้องถ่ิน แนว
ทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาจงึ จาเป็นต้องอาศัยกระบวนการปฏิบัตอิ ยา่ งหลากหลาย ซ่ึงประกอบด้วย
กระบวนการที่สาคญั คือ กระบวนการบริหารจัดการและกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้อานวยการ
สถานศึกษาไดต้ ระหนกั เหน็ ความสาคญั และนาไปปฏบิ ัติในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพและได้ผลอย่างเป็น
รปู ธรรม
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน รว่ มกับมลู นธิ สิ มเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีและสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ดาเนนิ
โครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย” มาต้ังแตป่ ีการศกึ ษา ๒๕๕๔ จนถึงปจั จบุ ัน มีเป้าหมาย
เพอ่ื พัฒนาการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์สาหรบั ผเู้ รียนปฐมวัยโดยม่งุ ปลกู ฝงั ให้ผ้เู รยี นปฐมวัย
เป็นผู้มีเจตคติท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้วยกิจกรรมท่ีสร้างความสนุกความเพลิดเพลิน ความ
สนใจใคร่รแู้ ละความกระตือรือร้น ฝกึ ทักษะการสังเกต รจู้ กั ตงั้ คาถามและหาคาตอบดว้ ยตนเอง เพื่อเตรียม
ความพร้อมให้ผู้เรียนปฐมวยั เติบโตข้ึนเปน็ นักวทิ ยาศาสตรแ์ ละวศิ วกร หรือเป็นทรพั ยากรบคุ คลท่มี จี ิตวิทยา
ศาสตร์ มีความร้ทู างวิทยาศาสตร์ทีจ่ ะขับเคล่ือนเศรษฐกิจและสังคมไทยให้เจริญก้าวหน้าต่อไปในอนาคต
ซ่ึงการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ มีความสอดคล้องกับหลักการ แนวคิดของหลักสูตรการศึกษาป ฐมวัย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ที่ไดก้ าหนดแนวการจดั ประสบการณโ์ ดยเน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั โดยคานึงถึงพัฒนาการ
ด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญา รวมทั้งความสนใจ ความสามารถและสภาพแวดล้อมของ
ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ตลอดจนจัดกิจกรรมใหส้ อดคล้องกบั พฒั นาการของผเู้ รยี น โดยจัดให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรูผ้ า่ น
ประสาทสัมผสั ทงั้ หา้ มีโอกาสลงมือกระทา เคล่อื นไหว สารวจ สงั เกต ทดลอง เล่น สืบค้น คิดแกป้ ญั หาดว้ ย
ตนเอง (ค่มู อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐)
นางรตั นา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วธิ ีปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลิศ (Best Practice) ดา้ นการบริหารจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย 2
โครงการ “บา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย” มกี ิจกรรมการเรียนรู้ กระบวนการ สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย
ของพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕และ(ฉบับ
ท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ สอดคลอ้ งกับหลกั การ แนวคิดการจดั การศกึ ษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ปี พ.ศ.๒๕๖๐ นอกจากนถ้ี อื เป็นเครือ่ งมอื การจัดการเรียนรู้ที่ดีอย่างยิ่งสาหรับครูผู้สอน สามารถแสดงให้
เห็นถึงส่ิงต่าง ๆ ตั้งแต่แนวคิดในเรื่องแห่งความเป็นจริง การตั้งคาถามจากความสนใจที่แท้จริงและการ
ค้นหาคาตอบในเชงิ ลึกเกี่ยวกบั หัวขอ้ ในความเปน็ จริงที่ผู้เรียนมีความสนใจและพยายามสืบค้นด้วยตนเอง
ผ่านประสบการณ์ตรงท่ีหลากหลาย ตลอดจนการใช้ความคิดสร้างสรรค์ที่สรุปออกมาเป็นช้ินงานซึ่งได้
กาหนดให้ผู้เรียนปฐมวัยเรียนรู้เป็นหน่วยการเรียนรู้ โดยครูผู้สอนเป็นผู้แนะนาและอานวยความสะดวก
เทา่ นัน้ ซึ่งมีความสาคัญอย่างมากต่อการเรียนร้ขู องผู้เรยี น อกี ทงั้ โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อยเปน็ การ
จดั การเรยี นรู้ทีม่ ุ่งเน้นให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมและกระต้นุ ให้ผู้เรยี น ๆ ไดเ้ รียนรดู้ ้วยตัวเอง พร้อมเปิดโอกาสให้
ผเู้ รยี นเรียนร้ใู นสงิ่ ที่ผเู้ รยี นสนใจเก่ยี วกบั สิง่ แวดล้อมรอบ ตัวและตอบสนองตามความตอ้ งการทหี่ ลากหลาย
ของผู้เรียน โดยเป็นกิจกรรมเชิงปฏิบัติท่ีเน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ตลอดจนเป็นการสร้าง
ความสมั พันธ์ระหวา่ งครูผูส้ อนกับผู้เรียน ครูผู้สอนกับพ่อแม่ ผู้ปกครองและโรงเรียนกับครอบครัว ชุมชน
เนือ่ งจากพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ชุมชนจะเข้ามามีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือกับครูในการส่งเสริม สนับสนุน
การจัดการเรียนรู้ทุกรูปแบบ นับว่าเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เอื้อประโยชน์อย่างมากต่อการจัดการศึกษา
ปฐมวัยและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใชไ้ ด้ในชีวติ ประจาวัน
โรงเรยี นบา้ นโกตาบารเู ปดิ ทาการเรยี นการสอนตัง้ แต่ชั้นอนุบาลปที ่ี ๑ ถงึ ชั้นอนุบาลปีท่ี ๓ จานวน ๖
หอ้ งเรยี น มีจานวนนักเรียนทั้งหมด ๑๔๘ คน มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวน ๗ คน
ประกอบดว้ ย ขา้ ราชการครู จานวน ๔ คน พนักงานราชการจานวน ๒ คนและเจ้าหน้าท่ีอื่น จานวน ๑ คน
โดยมีครูที่จบวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ตรงตามวิชาเอกการศึกษาปฐมวัยและมีความ
ตระหนักและให้ความสาคัญในการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย โดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรยี นเป็นสาคญั ตลอดจนการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ครอบคลุม
พฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น ไดแ้ ก่ พฒั นาการดา้ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย
ให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. ๒๕๖๐และหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยของสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๒) สอดคล้องกับพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕และ(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
สอดคล้องกบั ชมุ ชนและท้องถน่ิ อีกท้ังการปรับประยกุ ต์ใช้ใหส้ อดคลอ้ งกับชว่ งสถานการณ์โควิด – ๑๙
นอกจากน้ีโรงเรียนบ้านโกตาบารูมีการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผู้สอนระดับปฐมวัยเน้นการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเตรียมความพร้อม ท่ีเป็นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมตามโครงการบ้าน
นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ท่เี นน้ การทดลอง ลงมือปฏิบตั แิ ละการใชท้ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการ
พัฒนาความรู้ ความสามารถทางวิทยาศาสตร์อย่างเหมาะสมตามวัย ตามความถนัดและความสนใจของ
ผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ โดยอาศัยความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถิ่น ในการจัดการศึกษา
ระดับปฐมวัย รวมทั้งมีการจดั ส่ิงอานวยความสะดวกเพือ่ พัฒนาผู้เรยี นให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์
จิตใจ สังคมและสติปัญญา ผู้อานวยการสถานศึกษาร่วมกับรองผู้อานวยการสถานศึกษา ครูผู้สอน
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานและผปู้ กครอง จงึ ได้นาโครงการ “บา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศ
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รปู แบบ/วธิ ปี ฏบิ ัติท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) ดา้ นการบรหิ ารจัดการศึกษาระดับปฐมวยั 3
ไทย” มาบูรณาการ ปรับประยกุ ต์ใชแ้ ละออกแบบให้เปน็ รปู แบบการบรหิ ารจดั การศึกษาระดับปฐมวัยของ
โรงเรียนบ้านโกตาบารูข้ึน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการระดับปฐมวัย อีกท้ังเป็นส่ิงหน่ึงที่มี
ความสาคญั ในการชว่ ยให้ครูผสู้ อนสามารถจัดการเรยี นร้แู ละสง่ เสริมพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ให้ดี
ขึน้ ได้ ภายใต้รปู แบบ “โกตา Smart Kid นกั วิทยาศาสตร์น้อย” ซึ่งเป็นรูปแบบการบริหารจัดการศึกษา
ระดบั ปฐมวัย โดยมกี ระบวนการการบรหิ ารและการจดั การสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม ประกอบกับการใช้
กระบวนการบรหิ ารตามวงจรคณุ ภาพของเดมม่ิง ( Deming Cycle : PDCA) เพื่อให้สามารถจัดการศึกษา
ระดบั ปฐมวยั ได้อย่างมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
๒. จุดประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนนิ งาน
๔.๑ เพ่อื การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สู่
ทักษะดา้ นต่าง ๆ ตามความถนดั และความสนใจของผู้เรียน ครอบคลมุ พฒั นาการทั้ง ๔ ด้าน
๔.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนผู้เรียนที่มีความรู้ความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ ให้เป็น “โกตา
Smart Kid นกั วิทยาศาสตรน์ ้อย”ตามโครงการบ้านนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ย
๔.๓ เพื่อสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหค้ รผู ้สู อนระดบั ปฐมวยั สามารถจัดการจดั การเรียนรผู้ า่ นกจิ กรรม
ตามโครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ยได้อย่างมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
๔.๔ เพ่อื การบริหารจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั ภายใตร้ ปู แบบ “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์
น้อย” โดยอาศยั ความรว่ มมอื กบั ผปู้ กครอง ชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและยง่ั ยืน
๓. กระบวนการผลิตผลงาน หรือข้ันตอนการดาเนนิ งาน
การบรหิ ารจัดการศึกษาระดบั ปฐมวยั ภายใต้รูปแบบ “โกตา Smart Kid นกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย” เปน็
รปู แบบการบริหารจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัย มาใช้เป็นกลไกหลักในการบริหารงาน การกาหนดรูปแบบ
การบริหารงานโดยการจัดกิจกรรมด้วยหลักการ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สู่ทักษะด้านต่าง ๆ
ครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ ๔ ดา้ น เพอ่ื การเรยี นร้ตู ามโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ประกอบกับการใช้
ทฤษฎรี ะบบ (system theory) กระบวนการบริหารตามวงจรเดมมง่ิ (Deming Cycle) ในการดูแล ควบคุม
และกากบั ตดิ ตามการดาเนินงาน โดยยดึ หลกั การบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาล
ส่งผลใหก้ ารดาเนินการบริหารจดั การศกึ ษาบรรลุตามเป้าหมาย มีรายละเอียดของขั้นตอนการดาเนินงาน
ดงั น้ี
๓.๑ ปัจจัยนาเข้า (INPUT) การบริหารงานของโรงเรียนบ้านโกตาบารูมีปัจจัยนาเข้าที่สาคัญ ๔
ประการ ที่เรียกว่า ๔ M’s ซึ่งถือว่าเป็นทรัพยากรในการบริหารและทรัพยากรการศึกษา ที่จะเป็น
เคร่ืองช่วยและเป็นการนาทรัพยากรท่ีมีอยู่มาใช้ในการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
สูงสดุ แก่สถานศึกษา ดังนี้
๓.๑.๑ คน (Man) โดยยึดหลักการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม ในกระบวนการบริหาร
โรงเรียนบา้ นโกตาบารเู ปิดโอกาสใหผ้ ้มู ีส่วนเกย่ี วข้องกบั การจดั การศึกษาได้เข้ามามีส่วนคิด ตัดสินใจ ร่วม
วางแผน รว่ มทางานและตกลงใจร่วมกันในการบรหิ ารโรงเรยี นให้บรรลตุ ามเปา้ หมาย ดังนี้
นางรตั นา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นโกตาบารู
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วิธปี ฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ดา้ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษาระดับปฐมวัย 4
๑) ฝา่ ยกาหนดโยบาย ประกอบด้วย ผู้อานวยการสถานศึกษา รองผู้อานวยการสถานศึกษา
หวั หนา้ งาน ๔ ฝ่าย หวั หนา้ สายช้นั ระดบั ปฐมวยั คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐานและผูท้ ีม่ ีสว่ นข้องกบั
การจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั เป็นการเปิดโอกาสใหม้ สี ว่ นร่วมและมบี ทบาทสาคัญในการกาหนดนโยบาย
และทศิ ทางของสถานศึกษา และเปน็ การสร้างความเขา้ ใจตรงกันของการจัดการบริหารจัดการศึกษาระดับ
ปฐมวัย ภายใต้รูปแบบ “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตรน์ ้อย” อีกทัง้ การบริหารจดั การศึกษาและการจดั
ประสบการณ์ ในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙)
๒) ฝ่ายปฏิบัติการ ประกอบด้วย หัวหน้าสายชน้ั ระดบั ปฐมวัยและคณะครูผู้สอนในระดับปฐม
เปน็ การบรหิ ารโดยให้ครูผู้สอนมีสว่ นร่วม เปน็ การเปดิ โอกาสให้ร่วมคดิ รว่ มทา รว่ มกาหนดรูปแบบ วิธีการ
นวตั กรรมและเคร่ืองมอื การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ภายใตร้ ปู แบบ “โกตา Smart Kid นกั วทิ ยาศาสตร์
น้อย” ตามโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย เพ่ือนามาสร้างแผนการจัดประสบการณ์ สร้างส่ือเพ่ือใช้ใน
การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรูส้ ถานการณป์ กตแิ ละ ในช่วงสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) หลังจากได้รบั การอบรมข้นั ที่ ๑ และข้ันท่ี ๒ ตามโครงการไปแล้ว อีกทัง้ รว่ ม
ประเมินผลและรว่ มพฒั นาผลงานเพ่ือปรับปรงุ งานให้ดขี น้ึ โดยให้ครูมีสว่ นร่วมในรูปองค์คณะบุคคล ได้แก่
การจัดใหม้ ีครูเปน็ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น คณะกรรมการบรหิ ารวิชาการ เพอื่ ใหค้ ณะครูมีสว่ นรว่ มใน
การบริหาร คณะกรรมการ พัฒนาครูและบุคลากร เพ่ือให้ครูได้มีส่วนร่วมคิด ร่วมทา เพ่ือการพัฒนาครู
พฒั นางาน เพอ่ื ความก้าวหน้าของครูผสู้ อน
๓) ฝา่ ยสนับสนนุ ประกอบดว้ ย ผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ชุมชนรอบ
โรงเรียน องค์กร หน่วยงานราชการและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย เป็นการ
บรหิ ารโดยการแบง่ หนา้ ท่ี แต่งต้งั คณะทางาน ดาเนินการ ประสานงานตา่ ง ๆ จัดทาปฏทิ ินปฏิบตั งิ าน โดยมี
ส่วนรว่ มแสดงความคิดเห็นในการประชุมร่วมกันอย่างเป็นทางการและสนทนาหารือแบบไม่เป็นทางการ
การเป็นวิทยากรพเิ ศษ ตลอดจนการรว่ มกจิ กรรมต่าง ๆ ทโ่ี รงเรยี นจดั ข้ึน มสี ว่ นร่วมและมบี ทบาทในการให้
คาปรึกษา แนะนา นเิ ทศด้านการบริหารแก่ผ้อู านวยการสถานศึกษา รองผู้อานวยการสถานศึกษาและด้าน
การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้แกค่ รผู สู้ อนในระดบั ปฐมวยั
๓.๑.๒ งบประมาณ (Money) เป็นการบริหารงบประมาณโดยยึดหลักหลักธรรมาภิบาล ซึ่ง
โรงเรียนไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณจากเงินอุดหนุนรายหัวนักเรียนนั้นไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการ
ดังนั้นจึงเกิดความร่วมมือร่วมใจจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ชุมชนรอบโรงเรียน องค์กร
หนว่ ยงานราชการและผู้ที่มสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาระดับปฐมวัย ในการระดมงบประมาณ เพอ่ื ใช้
พฒั นาการจดั การศึกษาของโรงเรียนให้มคี วามเจริญก้าวหน้า
๓.๑.๓ วัสดุอุปกรณ์ (Materials) เป็นส่ือ รวมถึงส่ือในท้องถิ่น ส่ือจากธรรมชาติ วัสดุอุปกรณ์
เครื่องมือ เทคโนโลยีต่างๆและรูปแบบท่ีจาเป็นต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามโครงการบ้าน
นกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ซง่ึ มีทงั้ การจดั ซ้อื จดั หาใหม้ คี วามเหมาะสม หลากหลายและเพียงพอกับความต้องการ
ของครผู ู้สอนและผ้เู รยี น การประยกุ ตใ์ ช้วสั ดใุ นทอ้ งถิ่นและวัสดุเหลอื ใชไ้ ดม้ ากกว่า รอ้ ยละ ๕๐ เชน่ ใช้ขวด
ท่ใี ชแ้ ล้ว ใช้วสั ดจุ ากห้องวิทยาศาสตร์
๓.๑.๔ การบริหารจัดการ (Management) เป็นการบริหารโดยมีการวางแผน การจัดองค์การ
การจดั คน การสง่ั การ การประสานความร่วมมอื การรายงานและงบประมาณ การควบคุมและกากับดูแล
นางรตั นา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วธิ ีปฏิบัติทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) ดา้ นการบริหารจดั การศึกษาระดบั ปฐมวยั 5
การดาเนินงานภายในของโรงเรียน โดยยึดแนวทางการบริหารจัดการท่ีดี (Good Governance)
กระบวนการบริหารตามวงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) ในการดูแล ควบคุม และกากับติดตามการ
ดาเนนิ งานและยดึ หลกั การบริหารแบบมีสว่ นร่วม ภายใตร้ ูปแบบ “โกตา Smart Kid นักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย”
๓.๒ กระบวนการ (PROCESS) เป็นการกระบวนการบริหารตามวงจรเดมม่ิง (Deming Cycle)
และภายใตร้ ปู แบบ “โกตา Smart Kid นกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย” ในการวางแผน การดาเนินงาน ควบคุม ดูแล
และการกากับตดิ ตาม ดังน้ี
๓.๒.๑ ขั้นการวางแผน (Plan) เป็นขั้นตอนสาคัญที่สาคัญท่ีสุด เนื่องจากเป็นขั้นท่ีเสมือน
ตัวกาหนดทิศทางของโรงเรียน เป็นการศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหา บริบท ปัจจัยต่างๆและผลการจัด
ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ยทผ่ี า่ นมา โดยเฉพาะในช่วงสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ทาให้ครูผู้สอนมีความวิตกกังวลในการจัด
ประสบการณ์การเรยี นรู้ โรงเรียนไดจ้ ดั ให้มีการประชุมแบบมีสว่ นร่วมและประชุมแบบออนไลน์ เพ่ือชี้แจง
นโยบายและซกั ซอ้ มความเขา้ ใจในการเตรยี มความพร้อมรบั ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามโครงการบ้าน
นกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ย โดยมุง่ หวงั ใหเ้ กิดการพัฒนา ส่งเสรมิ และลดชอ่ งวา่ งทางการเรียนรู้
๓.๒.๒ ขั้นดาเนนิ การ (DO) เป็นขนั้ ตอนของการดาเนินงานบริหารจัดการ โดยการนารูปแบบ
“โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์น้อย” มาดาเนนิ การ ดังนี้
S Scientific to Skills การใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์สู่ทักษะด้านต่าง ๆ ครอบคลุม
พัฒนาการท้งั ๔ ด้าน เป็นการให้ครูผู้สอน สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ที่ได้ปฏิบัติจริง
สัมผสั จริง มกี ระบวนการสารวจ ทดลอง ตรวจสอบด้วยเครื่องมือ แลกเปลี่ยนความเห็น ทางานร่วมกัน มี
ความรบั ผิดชอบ กล้าคดิ กล้าแสดงออก เพือ่ คน้ หาความรู้ รวมทัง้ การแก้ปัญหาต่าง ๆ กระบวนการคิดและ
จินตนาการ เป็นการพัฒนาสมองทั้งซีกซ้ายและซีกขวา โดยใช้วิธีการและทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เป็นหัวใจที่สาคญั ของพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีพัฒนาการท้งั ๔ ดา้ น
M Methods for learning การใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือการเรียนรู้ เป็นการ
ใหค้ รผู สู้ อนมีการวางแผน จดั ทาแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรูโ้ ดยสอดแทรกความรู้ตามโครงการบา้ น
นักวิทยาศาสตร์น้อย คือ การกระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญ การให้ความรู้ของโครงการบ้าน
นักวิทยาศาสตร์น้อย มุ่งเน้นให้ผู้เรียนลงมือกระทาในการสร้างความรู้ ความสามารถในการใช้ประสาท
สมั ผสั อย่างใดอย่างหน่งึ หรือหลายอย่างรวมกนั ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ลิ้น และผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับ
วัตถุหรือปรากฏการณต์ า่ งๆ เป็นวิธีการพ้ืนฐานที่จะได้ข้อมูลมาตามความต้องการ หรือเรียกว่า Actively
construct มิใช่ Passive receive ท่ีเป็นการรบั ขอ้ มลู หรอื สารสนเทศ และพยายามจดจาเทา่ นนั้
A Activities on Projects การจัดกิจกรรมตามโครงงานบ้านวิทยาศาสตร์น้อย เป็นการ
จดั ประสบการณ์การเรียนรโู้ ดยใช้วิธีการหรือทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยนาการทดลอง ๒๐
กจิ กรรมโครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย แบ่งเป็น ๓ ระยะ ดังน้ี
ระยะท่ี ๑ เร่ิมต้นโครงงาน เป็นระยะท่ีครูผู้สอนสังเกต/ สร้างความสนใจในเรื่องท่ีจะ
เรียนรู้
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นโกตาบารู
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วิธปี ฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) ด้านการบรหิ ารจัดการศึกษาระดบั ปฐมวยั 6
ระยะท่ี ๒ ขัน้ พัฒนาโครงงาน เป็นข้นั ท่ีผ้เู รียนกาหนดหัวข้อคาถาม หรือประเด็นปัญหาท่ี
ผเู้ รยี นอยากรเู้ กยี่ วกบั เรื่องที่สนใจท่ีรว่ มกนั กาหนดเปน็ หวั ข้อเรือ่ ง แล้วตงั้ สมมตุ ฐิ านมาตอบคาถามเหลา่ นั้น
ทดสอบสมมตุ ฐิ านด้วยการลงมือปฏิบตั ิ จนค้นพบคาตอบด้วยตนเอง โดยครูผ้สู อนใช้เทคนคิ การต้ังคาถาม
ระยะที่ ๓ ข้ันรวบรวมสรุป เป็นระยะสุดท้ายของโครงงานที่ผู้เรียนค้นพบคาตอบของ
ปัญหาแลว้ และผเู้ รยี นได้แสดงใหค้ รูผสู้ อนเหน็ ว่าได้สนิ้ สดุ ความสนใจในหัวข้อโครงงานเดิม และเริ่มหันเห
ความสนใจออกไปสู่เรื่องใหม่ ซ่ึงนาไปสู่การจัดทาโครงงาน “ขยะแปลงร่าง”และโครงงาน : ดินดีของ
ต้นหอมและการทดลองเกยี่ วกบั เรื่องอื่น ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ งกับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
ช้นั อนบุ าลปีท่ี ๓ โรงเรยี นบ้านโกตาบารู
R Research by Action การศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลจากความสนใจเก่ียวกับเร่ือง
น้ันๆ ของตัวผู้เรียนเอง ท่ีเน้นการทดลองและลงมือปฏิบัติ เริ่มจากสังเกตสิ่งต่างๆ รอบตัวแล้วเกิดความ
สงสัยนาไปสูก่ ารตั้งคาถาม คน้ หาคาตอบด้วยการสารวจ ตรวจสอบ เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล สรุปและนาเสนอผล
โดยมีระยะเวลาในการจัดทาหลายวัน หลายสัปดาห์หรอื หลายเดือน
T Talent of development การพัฒนาความรู้ ความสามารถทางวิทยาศาสตร์อย่าง
เหมาะสมตามวัยเตม็ ตามศักยภาพ ดว้ ยทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๑๓ ทักษะ ประกอบด้วยทกั ษะ
กระบวนการวิทยาศาสตร์ขั้นพ้ืนฐาน ๘ ทักษะ ได้แก่ ทักษะการสังเกต การวัด การคานวณ การจาแนก
ประเภท การหาความสมั พันธ์ การจัดกระทาและส่ือความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็นจากข้อมูลและ
ทักษะการพยากรณหรือการคาดคะเนคาตอบ รวมถึงทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ข้ันบูรณาการ ๕
ทกั ษะ ได้แก่ ทักษะการต้ังสมมติฐาน การกาหนดนิยาม การกาหนดและควบคุมตัวแปร การทดลองและ
ทกั ษะการตคี วามหมายข้อมูลและการลงขอ้ สรุป
รปู แบบ “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตรน์ ้อย”
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นโกตาบารู
สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วิธีปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) ดา้ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวัย 7
๓.๒.๓ ข้ันประเมินผล (CHECK) เป็นข้ันตอนของการนิเทศและประเมินผลการจัดการจัด
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ประเมินผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้และสะท้อนผลการสอนของครูผู้สอน
และเปน็ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรียน เป็นการประเมินพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านตามสภาพจริง
ครแู ละผู้ปกครองมสี ว่ นร่วมในการประเมิน โดยใชว้ ิธีการประเมินทีห่ ลากหลาย ประกอบด้วยการสังเกตและ
บันทกึ พฤติกรรมของผ้เู รยี นขณะปฏิบัติกิจกรรม การสนทนา พูดคุย สัมภาษณ์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การ
รวบรวมผลงาน เก็บเป็นแฟม้ ผลงานของผ้เู รียน
๓.๒.๔ ข้นั ปรับปรงุ แก้ไข (ACT) เป็นข้ันตอนของการสรุปผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ตามโครงงานบ้านวิทยาศาสตร์น้อย เป็นการนาผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้และผลการประเมิน
พัฒนาการทั้ง ๔ ด้านของนกั เรยี นมาปรับปรุง แก้ไขส่ิงท่ไี ด้ดาเนินการไปแล้วหากไม่บรรลุผลสาเรจ็ กลับไป
ทบทวน และวางแผนการดาเนนิ งานและการพัฒนาซา้ จนกวา่ จะบรรลผุ ลสาเร็จตามเปา้ หมายทีก่ าหนด
๓.๓ ผลผลิต (OUTPUT) คือ Smart Kid นกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย นักเรียนระดับช้ันอนุบาลปีที่ ๑ –
๓ โรงเรยี นบ้านโกตาบารู (Kid at Ban Kota Bharu School) มีพัฒนาการท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
สังคมและสตปิ ัญญา มคี วามพรอ้ มในการเรยี นรตู้ ามโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์น้อย มที ักษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ เนอื่ งจากเปน็ บนั ไดขน้ั แรกท่จี ะนาไปสู่การเรยี นรู้ของผ้เู รยี นในระดับประถมต่อไป
๔. ผลการดาเนนิ การ ผลสมั ฤทธ์ิ และประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ
๔.๑ ผลการดาเนินการตามจุดประสงคข์ อ้ ที่ ๔.๑ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ี่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สู่ทกั ษะดา้ นต่าง ๆ ตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน
ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านและจุดประสงค์ข้อที่ ๔.๒ ส่งเสริมและสนับสนุนผู้เรียนที่มีความรู้
ความสามารถพิเศษทางวทิ ยาศาสตร์ ให้เป็น “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์น้อย”ตามโครงการ
บ้านนกั วิทยาศาสตรน์ อ้ ย
๔.๑.๑ ผลที่เกิดตามจุดประสงค์ การดาเนินงานรูปแบบ “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์
น้อย” เพื่อการจัดการเรียนรู้ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยนั้น ซึ่งเป็นจุดประสงค์ด้านผู้เรียน
สังเกตเหน็ ไดว้ า่ ผู้เรียน มคี วามสนใจ อยากรอู้ ยากเห็น มคี วามกระตือรือรน้ ตอ้ งการที่จะเรียนรู้และพรอ้ มที่
จะเรยี นรู้ ผเู้ รียนมคี วามตั้งใจและจดจอ่ อยูก่ บั สง่ิ ทกี่ าลังเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน เกิดความ
พอใจในการเรียนร้แู ละเกดิ การเรียนรไู้ ดต้ ลอดเวลาขณะเรยี น โดยครมู ีการเตรยี มกจิ กรรมปรับไปตามหน่วย
การจัดประสบการณ์ ตามสาระทคี่ วรเรยี นรู้ตาม หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ดังนี้
๑) ด้านร่างกาย ผู้เรียนสามารถเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติ (Active Learning) การลงมือ
กระทาจริงด้วยตนเอง การไดรับประสบการณตรงจากการใช้ประสาทสัมผัสท้ัง ๕ ทาให้เกิดทักษะการ
เคล่อื นไหวและทกั ษะการรบั ร้ขู องประสาทสมั ผสั ท่ดี ี เชน่ การใช้อปุ กรณก์ ารทดลอง หนุ่ จาลอง โดยเฉพาะ
การจัดประสบการณ์และกิจกรรมในสถานการณโ์ ควดิ – ๑๙ อย่างปลอดภัย เด็กได้เรียนรู้ ได้ลงมือปฏิบัติ
จรงิ โดยการสง่ เสริมการเรยี นรู้ใหเ้ ด็กสวมหน้ากากอนามัยทุกคร้ัง ให้ทุกคนล้างมืออย่างถูกวิธีด้วยน้าและ
สบู่ หรือเจล แอลกอฮอล์ ทุกครั้งหลังปฏิบัติกิจกรรมกับเพื่อน หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก
จมกู โดยไมจ่ าเปน็ มขี องใชส้ ว่ นตัว การนั่งหรือยืนในระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลอย่างนอ้ ย ๑ เมตร
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วธิ ีปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการบริหารจดั การศึกษาระดบั ปฐมวยั 8
๒) ดา้ นอารมณ์ – จิตใจ ผู้เรียนสามารถควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ โดยการช่วย
กระตุ้นและเร้าความสนใจ ชว่ ยทาให้ผเู้ รยี นเกดิ ความสนใจเนื้อหาของบทเรียน ที่ถูกนาเสนอผ่านทางการ
จดั การเรยี นรู้ตามโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย เพราะนบั ไดว้ า่ ความสนใจเปน็ บันไดข้ันแรกทจ่ี ะนาไปสู่
การเรยี นรขู้ องผู้เรยี นเกิดขน้ึ อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวกและรวดเรว็ ทาให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง
และตรงกับวตั ถปุ ระสงคข์ องการเรยี นรู้ อีกทง้ั ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้อย่างเพลิดเพลิน สนุกสนานและไม่เบื่อ
หนา่ ยต่อการเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนบรรยากาศในห้องเรียนให้แตกต่างไปจากสิ่งท่ีปฏิบัติเป็นประจาในช้ัน
เรยี น ทาใหผ้ เู้ รยี นไมเ่ บ่อื หนา่ ยต่อการเรียนและมีเจตคตทิ ี่ดีตอ่ โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตร์นอ้ ย
๓) ด้านสังคม ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม อีกท้ังช่วย
แกป้ ญั หาเร่อื งความแตกต่างระหวา่ งบุคคลในบริบทของการเรียนรู้ ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันใน
ด้านตา่ งๆ การจัดการเรยี นรู้ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยจะช่วยลดอุปสรรคหรือแก้ปัญหาเรื่อง
ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลทมี่ ีผลตอ่ การเรียนรู้ ชว่ ยเอื้ออานวยให้เกดิ ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งผ้เู รยี นกับผู้เรียน
และระหว่างครูผ้สู อนกับผเู้ รียน การจดั การเรยี นรูต้ ามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยทถ่ี ูกออกแบบมาให้
ผู้เรียนตอ้ งมสี ่วนรว่ มในการทากจิ กรรม ช่วยใหบ้ รรยากาศของการจัดการเรียนรู้มชี ีวติ ชีวา อีกทั้งยงั เปน็ การ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักปฏิบัติตามข้อตกลง ยอมรับข้อตกลง มีระเบียบวินัยในการปฏิบัติกิจกรรม การอยู่
รว่ มกนั รจู้ ักยอมรบั เคารพสทิ ธแิ ละความคดิ เห็นของผู้อน่ื เรยี นรู้วัฒนธรรมไทย มมี ารยาทท่ีดี เช่น การยิ้ม
การไหว้ การทักทาย การกล่าวคาขอบคุณและคาขอโทษ รู้จักการให้อภัยเม่ือมีการทะเลาะกันด้วยการขอ
โทษได้ด้วยตนเอง โดยทค่ี รูไมต่ อ้ งชแี้ นะอยูบ่ อ่ ยคร้ัง รู้จกั อดทน รอคอย เสียสละ ช่วยเหลอื ตนเองและเพื่อน
ไดต้ ามวัย ส่งเสรมิ ใหเ้ ดก็ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม
๔) ด้านสติปัญญา ผู้เรียนสามารถส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมตามวัย โดยการจัดประสบการณ์การเรยี นร้ทู ี่เน้นการต้ังคาถามเพอื่ กระตุ้นการคิดและส่งเสริมให้
ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรูจ้ ากสถานการณ์จริงอย่างเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งชี้ชวนให้เด็ก ๆ รู้จักสังเกตหรือใช้คาถาม
ถามไปด้วยพรอ้ มกัน จะช่วยกระต้นุ ให้ผเู้ รยี นเกิดกระบวนการคดิ และมพี ัฒนาการด้านสติปัญญาที่ดีขึ้น อีก
ทง้ั การสง่ เสรมิ กระบวนการคดิ อยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผลโดยผ่านประสาทสัมผัสท้ัง ๕ ได้แก่ การสัมผัสด้วยมือ
การดมกลิ่น การดู การฟังเสียง และการชิมรส เพื่อให้เด็กมีความใฝ่รู้ สังเกตและสามารถเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเอง เริ่มตน้ จากการท่ีเดก็ ๆ ไดส้ ัมผสั กับส่งิ ของและอปุ กรณ์ต่างๆ วา่ มลี กั ษณะอยา่ งไร เช่น เล็กหรือใหญ่
ผวิ เรียบหรือผวิ ขรุขระ เป็นต้น ข้ันตอนต่อไปเป็นการฝึกการแยกแยะโดยผ่านการดมกลิ่น เช่น กลิ่นหอม
เหม็นหรือ ฉนุ ทใ่ี ชใ้ นการทดลอง เพื่อนาไปสู่การตั้งสมมุติฐานและจากน้ันจึงจัดสถานการณ์หรือกาหนด
ปัญหาใหเ้ ด็กนาไปสกู่ ารสงั เกต การสารวจ การทดลอง แกป้ ญั หาตามวัย เพือ่ แสวงหาความร้แู ละการสอ่ื สาร
ให้เพ่ือนๆเข้าใจได้ โดยครูผู้สอนคอยดูแลและแนะนาอยา่ งใกล้ชิดในการเรียนร้วู ิธกี ารทถี่ กู ต้องวา่ ควรปฏิบัติ
อยา่ งไรเพื่อไมใ่ ห้เป็นอันตรายตอ่ ตนเองและเพื่อนๆ ที่มกี ารบูรณาการหน่วยการเรียนรู้กบั กจิ กรรมโครงงาน
กจิ กรรมการทดลองตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย อย่างน้อย ๒๐ กิจกรรม
๔.๑.๒ ผลสัมฤทธ์ิของงาน ผู้เรียนมพี ฒั นาการพรอ้ มและมคี ุณภาพทง้ั ทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์-
จติ ใจ สงั คมและสติปญั ญา อย่างเหมาะสมตามวัย ส่งผลให้คุณภาพของผู้เรียนระดับปฐมวัยโดยภาพรวม
โรงเรยี นบ้านโกตาบารู มผี ลการประเมนิ อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพดีเลิศ (ระดับ ๔) ร้อยละ ๗๗.๑๓ และเป็นไป
ตามคา่ เป้าหมาย และมผี ลสัมฤทธิ์ในพฒั นาการแต่ละด้าน ดงั น้ี
นางรตั นา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วิธีปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) ดา้ นการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวยั 9
๑) ดา้ นรา่ งกาย ผ้เู รยี นสามารถเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติ (Active Learning) การลงมือ
กระทาจรงิ ดว้ ยตนเอง การไดรับประสบการณตรงจากการใช้ประสาทสมั ผสั ทง้ั ๕ สง่ ผลใหผ้ ู้เรียนช้ันอนุบาล
ปีท่ี ๑ – ๓ โรงเรียนบ้านโกตาบารู มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อยู่ในระดับคุณภาพดีเลิศ
(ระดบั ๔) ร้อยละ ๗๖.๘๑ และเป็นไปตามค่าเป้าหมาย
๒) ด้านอารมณ์ – จิตใจ ผู้เรียนสามารถควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ โดยผ่าน
ทางการจดั การเรยี นรตู้ ามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย สง่ ผลให้ผ้เู รียนชั้นอนุบาลปที ่ี ๑ – ๓ โรงเรียน
บ้านโกตาบารู มีผลการประเมนิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ - จติ ใจ อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพดเี ลิศ (ระดับ๔) ร้อยละ
๗๘.๗๖ และเปน็ ไปตามค่าเป้าหมาย
๓) ด้านสังคม ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือตนเองและเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ส่งผลให้
ผู้เรียนช้ันอนุบาลปีที่ ๑ – ๓ โรงเรียนบ้านโกตาบารู มีผลการประเมินพัฒนาการด้านสังคม อยู่ในระดับ
คณุ ภาพดเี ลศิ (ระดับ ๔) รอ้ ยละ ๗๗.๘๒ และเปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมาย
๔) ดา้ นสตปิ ญั ญา ผเู้ รยี นสามารถสือ่ สารได้ มีทักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความรู้ได้
เหมาะสมตามวยั โดยการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้จากสถานการณจ์ รงิ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมและมกี ารบรู ณา
การหน่วยการเรียนรกู้ บั กจิ กรรมโครงงาน กิจกรรมการทดลองตามโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ส่งผล
ใหผ้ เู้ รียนชั้นอนุบาลปีท่ี ๑ – ๓ โรงเรียนบ้านโกตาบารู มีผลการประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา อยู่ใน
ระดบั คณุ ภาพดเี ลิศ (ระดับ ๔) รอ้ ยละ ๗๕.๒๐ และเปน็ ไปตามคา่ เปา้ หมาย
๔.๑.๓ ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั
๑) ประโยชน์ด้านวิชาการ ทาให้ผูเ้ รียนเกดิ ประสบการณต์ รง เรียนรไู้ ดด้ กี ว่าและมากกว่า
จดจาเรอื่ งราวได้มาก สง่ เสรมิ ด้านความคิดและการแก้ปัญหาและพัฒนาทักษะในทุกดา้ น
๒) ประโยชน์ด้านจิตวทิ ยาการเรียนรู้ ทาให้ผเู้ รยี นเกิดความสนใจ ชว่ ยให้ผู้เรียนท่ีเรียนช้า
เรียนไดด้ ขี นึ้ และต้องเรยี นรู้ในสงิ่ ตา่ ง ๆ มากขึ้น
๔.๒ ผลการดาเนินการตามจุดประสงคข์ ้อท่ี ๔.๓ เพ่อื ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูผู้สอนระดับ
ปฐมวัยสามารถจัดการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยได้อย่างมี
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
๔.๒.๑ ผลทีเ่ กดิ ตามจดุ ประสงค์ การดาเนนิ งานรปู แบบ “โกตา Smart Kid นักวทิ ยาศาสตร์
นอ้ ย” เพ่อื การจดั การเรียนรู้ตามโครงการบ้านนกั วิทยาศาสตร์น้อยนน้ั เนน้ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
ทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ ซงึ่ เปน็ จดุ ประสงคด์ ้านครูผู้สอน เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม
ตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ท่ีเน้นการทดลอง ลงมือปฏิบัติและการใช้ทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ ในการพฒั นาความรู้ ความสามารถทางวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งเหมาะสมตามวยั ตามความถนัดและ
ความสนใจของผู้เรยี นไดเ้ ต็มตามศักยภาพ โดยอาศัยความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถ่ิน ในการ
จัดการศึกษาระดับปฐมวัย รวมทั้งมีการจัดสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคมและสติปัญญาและหลังจากได้รับการอบรมข้ันที่ ๑ และขั้นท่ี ๒ นามาสร้าง
แผนการจดั ประสบการณ์ สร้างสื่อเพ่ือใช้ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สถานการณ์ปกติและ ในช่วง
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙)
นางรตั นา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านโกตาบารู
สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วิธีปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ดา้ นการบรหิ ารจัดการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั 10
๔.๒.๒ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน ครผู สู้ อนสามารถจัดประสบการณ์ทส่ี ง่ เสรมิ ให้เดก็ มีพัฒนาการทกุ
ด้านอยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ สรา้ งโอกาสให้ผู้เรียนไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่างมีความสุข
จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย รวมท้ังประเมินพัฒนาการตาม
สภาพจรงิ และนาผลการประเมินพัฒนาการไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาผ้เู รียน ส่งผลให้การ
จดั ประสบการณ์ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั โรงเรียนบา้ นโกตาบารู มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพยอด
เย่ยี ม (ระดบั ๔) ร้อยละ ๘๖.๙๘ และสงู กวา่ คา่ เปา้ หมาย
๔.๒.๓ ประโยชน์ที่ได้รับ ทาให้ครูผู้สอนขจัดปัญหาเรื่องเวลา สถานที่ ขนาดและระยะทาง
ประหยัดเวลาในการทาความเขา้ ใจเน้อื หาตา่ งๆ สามารถจดั ประสบการณเ์ รียนรไู้ ด้เหมอื นกนั ครง้ั ละหลาย ๆ
คน ในระดบั ช้ันต่างกัน สามารถนาไปปรับประยุกตใ์ ช้ให้เหมาะสมกบั วัยและพัฒนาการของผเู้ รียนและสรา้ ง
บรรยากาศของการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้มชี วี ิตชีวา อกี ทั้งครผู สู้ อนมกี ารสร้างสรรค์ผลงาน นวัตกรรม
ท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice)
๔.๓ ผลการดาเนินการตามจุดประสงค์ข้อที่ ๔.๔ เพื่อการบริหารจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
ภายใต้รูปแบบ “โกตา Smart Kid นักวทิ ยาศาสตร์น้อย” โดยอาศัยความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน
และทอ้ งถ่นิ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและย่งั ยนื
๔.๓.๑ ผลที่เกดิ ตามจุดประสงค์ การบริหารและการจัดการ ภายใต้รูปแบบ “โกตา Smart
Kid นกั วิทยาศาสตรน์ ้อย” ตามโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ยนน้ั ซงึ่ เป็นจดุ ประสงค์ด้านกระบวนการ
บริหารและการจัดการ โดยยึดแนวทางการบริหารจัดการท่ีดี (Good Governance) กระบวนการบริหาร
ตามวงจรเดมมงิ่ (Deming Cycle) และยึดหลักการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม ในการจดั การศึกษาระดบั ปฐมวัย
เพ่อื การพฒั นาวชิ าการที่เน้นคุณภาพตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๖๐
(ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๒) มีการออกแบบการเตรียมความพร้อม ไม่เร่งรัดด้านวิชาการและเน้นการจัด
ประสบการณ์แบบบูรณาการและองค์รวม ทาให้เดก็ มีความสุขกับการเรียนร้ซู ึ่งเปน็ ไปตามเป้าหมาย รวมท้งั
มีการจัดสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และ
สติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล อีกทั้งการส่งเสริมและ
สนับสนนุ ให้ครูมีการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน นวัตกรรมทีเ่ ปน็ เลิศ(Best Practice) ตามโครงการบ้านวิทยาศาสตร์
นอ้ ยและมกี ารเผยแพร่นวตั กรรมสสู่ าธารณชน
๔.๓.๒ ผลสัมฤทธิ์ของงาน ผู้อานวยการสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการ ให้บรรลุ
ความสาเรจ็ ตามทิศทางที่กาหนดไว้ มีการประเมินผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบตามตัวช้ีวัด บรรลุตาม
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การคุณภาพของโรงเรียนบา้ นโกตาบารู ส่งผลให้โรงเรียนบ้านโกตาบารูมีผล
การประเมินด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการอยู่ในระดบั คณุ ภาพยอดเย่ยี มและสงู กว่าคา่ เปา้ หมาย
๔.๓.๓ ประโยชนท์ ่ีได้รบั ผ้อู านวยการสถานศึกษามรี ปู แบบการบรหิ ารจัดการภายใต้รูปแบบ
“โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์นอ้ ย” และมีการพัฒนา สร้างสรรค์ผลงาน ให้เป็นรูปแบบนวัตกรรมที่
เป็นเลิศ (Best Practice)
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านโกตาบารู
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วิธปี ฏิบัติท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) ดา้ นการบริหารจดั การศึกษาระดบั ปฐมวัย 11
๕. ปัจจัยความสาเร็จ
ปจั จัยความสาเร็จท่สี ง่ เสรมิ ให้รูปแบบ “โกตา Smart Kid นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย” ตามโครงการบ้าน
วิทยาศาสตรน์ ้อย คอื
๕.๑ โรงเรียนมีการกาหนดเป้าหมายท่ีชัดเจน พร้อมท้ังครูผู้สอนและบุคลากรมุ่งไปสู่เป้าหมาย
เดยี วกัน
๕.๒ มีข้อมูลในการพัฒนาทไ่ี ดม้ าจากการวิเคราะห์บรบิ ท( SWOT Analysis) ของโรงเรียน โดยการมี
สว่ นรว่ มของผู้เก่ยี วข้อง
๕.๓ การนากระบวนการการบริหารและการจัดการสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม ประกอบกับการใช้
กระบวนการบริหารตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง ( Deming Cycle : PDCA) มาพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาปฐมวยั โดยผู้มสี ่วนเกย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางส้เู ป้าหมายได้อยา่ งมีคณุ ภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา
๕.๔ ครูและบุคลากรในโรงเรยี นมีการทางานเปน็ ทีม การทางานแบบมีส่วนร่วม โดยร่วมคิด ร่วมทา
ร่วมประสาน จนทาให้งานสาเร็จบรรลุวตั ถปุ ระสงคแ์ ละมีคณุ ภาพ
๕.๕ ได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและชุมชนเป็นอย่างดี โดยการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
โรงเรยี นและครอบครวั เน่ืองจากการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามโครงการบ้านวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย พอ่ แม่
ผู้ปกครองจะตอ้ งร่วมมอื กบั ครูสนบั สนนุ การเรียนรขู้ องผู้เรยี นทกุ รปู แบบ
๕.๖ มีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา
ประกอบดว้ ยผู้ปกครอง ผู้นาชมุ ชน คณะกรรมการสถานศึกษาและหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้อง ไดเ้ ข้ามามีส่วนคิด
ตัดสนิ ใจ ร่วมวางแผน ร่วมทางาน ตกลงใจร่วมกัน ให้การยอมรับ มีความศรัทธา ให้การสนับสนุนและให้
ความรว่ มมือทุกดา้ นในการพัฒนาโรงเรยี นให้บรรลุตามเป้าหมาย
๕.๗ ได้รับการส่งเสริม สนับสนุนด้านทรัพยากรและงบประมาณอย่างเพียงพอและมีการระดม
ทรัพยากร โดยการมีสว่ นร่วมผ้มู สี ว่ นเก่ียวขอ้ งทกุ ฝา่ ย
๕.๘ บรรยากาศภายในโรงเรยี นเออ้ื ต่อความสาเรจ็ ส่งผลให้เกดิ วฒั นธรรมใหม่ขององค์กร ท่ีทุกฝ่าย
รักและผูกพันต่อโรงเรียนให้ความร่วมมือมุ่งม่ัน ทุ่มเทในการปฏิบัติงาน มีบรรยากาศท่ีดีรักสามัคคีกัน
ผู้ปกครองนกั เรยี น ชุมชนให้ความร่วมมอื ยอมรับและศรัทธาต่อโรงเรียนนาบตุ รหลานมาเข้าเรียน ส่งผลให้
โรงเรียนมีจานวนนักเรียนเพิ่มข้ึน นอกจากน้ียังทาให้ผู้บริหารโรงเรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ
รูปแบบการบรหิ าร แนวคิดทฤษฏี หลกั การบรหิ าร กระบวนการบริหารโรงเรียนเพิ่มข้นึ ส่งผลต่อการพฒั นา
อย่างตอ่ เน่ืองและยงั่ ยืน
๖. บทเรียนทไ่ี ดร้ บั
สิง่ ทไ่ี ดร้ ับจากรูปแบบ “โกตา Smart Kid นักวทิ ยาศาสตร์น้อย” โรงเรียนบ้านโกตาบารู มุ่งจัดการ
ศกึ ษาปฐมวัยเพอ่ื พฒั นาผู้เรียนใหไ้ ด้รับการพัฒนาดา้ นร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญาเป็นองค์
รวม ด้วยกิจกรรมตามโครงการบา้ นวทิ ยาศาสตร์น้อย ผ่านส่ือกระบวนการเรียนรู้และเทคโนโลยี มีทักษะ
ชีวิตทจี่ าเปน็ และดารงชีวติ ประจาวัน อย่รู ่วมกนั ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข โดยการมสี ่วนร่วมของผปู้ กครอง
ชุมชนและทุกฝา่ ยที่เก่ียวข้อง บนพ้ืนฐานของประเพณีวัฒนธรรมไทยภายใต้การบริหารแบบมีส่วนร่วม ทา
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รปู แบบ/วิธีปฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ดา้ นการบรหิ ารจดั การศึกษาระดบั ปฐมวัย 12
ใหเ้ กดิ ผลการพัฒนาอย่างรอบด้านท้ังด้านผเู้ รียน ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา สถานศกึ ษาและการพัฒนา
การศกึ ษาให้มคี ุณภาพไดม้ าตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั ท้งั ทางดา้ นคุณภาพของผูเ้ รยี น ด้านการ
จัดประสบการณท์ ่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ และด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ จะประสบผลสาเรจ็ ได้
ต้องเกิดจากความร่วมมือของทกุ ฝ่าย เริม่ ต้งั แต่ร่วมวางแผน ดาเนินงาน ตรวจสอบ ประเมินผลและปรบั ปรุง
ซงึ่ ต้องอาศัยความตอ่ เน่ืองโดยตลอด จึงจะนาไปสู่ความสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
ประโยชน์และคณุ ค่าจากบทเรียนที่ได้รับจากรปู แบบ “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์น้อย” ใน
การบริหารจดั การศึกษาปฐมวยั ทาให้ผูเ้ รยี นมพี ัฒนาการทกุ ด้านอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ ดังน้ี
เรยี นรู้ พัฒนาทัง้ รู้จัก
จากความ ๔ ด้าน แสวงหา
ขอ้ มลู
สนใจ ฝึกทักษะ
ฝึกการ ตา่ งๆ มีสว่ นรว่ ม
เปน็ ผูน้ า ใน
ผู้ตามท่ีดี
กระบวนกา
ฝกึ การ รเรียนรู้
ทางาน
ร่วมกนั สง่ เสรมิ
ศักยภาพ
ฝึก ส่งเสรมิ
ลักษณะ ทักษะ
นิสยั ท่ดี ี การคิด
๗. การเผยแพรแ่ ละการได้รับการยอมรบั (รางวัลทไ่ี ด้รับ)
๗.๑ การเผยแพร่
๑) การเผยแพร่นวัตกรรมการปฏิบัติที่ดีด้านการศึกษาปฐมวัย (Best Practice) เรื่อง “โกตา
Smart Kid นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย” ผา่ น facebook ของโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
๒) การเผยแพรไ่ ปยังห้องเรียนตา่ งๆโดยมีแบบการเผยแพรท่ างกลุ่มไลน์
๓) การเผยแพร่ทางเวปไซด์ของโรงเรียนบา้ นโกตาบารู
๔) การเผยแพร่มการปฏบิ ัติท่ดี ีด้านการศกึ ษาปฐมวัย กับโรงเรยี นในเครอื ข่ายและนอกเครือข่าย
๕) การเผยแพร่ทางหนังสอื “หน่งึ ครู หนง่ึ นวตั กรรม” ของโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
๖) การจดั นทิ รรศการและกจิ กรรมฐานการเรยี นรู้
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านโกตาบารู
สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วธิ ปี ฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ด้านการบริหารจัดการศกึ ษาระดับปฐมวยั 13
๗.๒ การไดร้ ับการยอมรับ
๑) ผู้อานวยการสถานศึกษาและครผู ู้สอนไดร้ บั การแต่งตงั้ เป็นคณะกรรมการประเมินพัฒนาการ
นักเรยี นที่จบหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
๒) ผ้อู านวยการสถานศึกษามีผลการประเมนิ การปฏบิ ัติงาน เพ่ือการพิจารณาเลือ่ นเงนิ เดือน คร้ัง
ท่ี ๑ (๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔) อยู่ในระดบั ดีเดน่
๓) ครูผ้สู อนไดร้ บั การแตง่ ต้ังเป็นวิทยากรเครือข่ายท้องถน่ิ ฯ ปีงบประมาณ ๒๕๖๔
๔) ครผู ูส้ อนได้รบั การแตง่ ตง้ั เป็นคณะกรรมการตรวจโครงงานและเอกสารประกอบฯ
๕) โรงเรียนผา่ นการประเมินรอบท่ี ๒ บา้ นวิทยาศาสตร์น้อย
๖) โรงเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คณุ ภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์
COVID – 19 การศึกษาปฐมวยั รอบส่ี อยใู่ นระดับดที กุ ตวั ชวี้ ัด
๗.๓ รางวลั ที่ได้รับ
๑) โรงเรยี นได้รบั ตราบ้านวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒
๒) โรงเรียนได้รบั ตราบา้ นวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓
๓) นางรัตนา ดาทองเสน ได้รับรางวัลชนะเลิศ “พระพฤหัสบดี” ประเภทบุคคล กลุ่มผู้บริหาร
สถานศึกษา ระดับประเทศ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖๒
๔) นางสมุ าลี แซ่ฟุง้ ตาแหน่ง ครู ได้รับรางวัลทรงคุณค่า(OBEC AWARDS) ประจาปีการศึกษา
๒๕๖๓ ระดบั เขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑ “ครผู ูส้ อนยอดเย่ยี ม” ระดับก่อนประถมศึกษา
ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นการสอน
๕) นางสุมาลี แซ่ฟุ้ง ตาแหน่ง ครู ได้รับการคัดเลือกเป็นครูต้นแบบการจัดประสบการณ์การ
เรยี นรู้ สาขาปฐมวยั สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต ๑
๘. การขยายผลต่อยอดหรือประยกุ ตใ์ ชผ้ ลงาน นวตั กรรมหรอื แนวปฏบิ ัติ
๘.๑ นารูปแบบ “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์น้อย” เสนอต่อการประเมิน SAR ภายใต้
สถานการณ์ COVID – ๑๙ การศกึ ษาปฐมวยั รอบสี่
๘.๒ ขยายผลวธิ กี ารปฏิบัติและแลกเปลย่ี นเรียนร้ใู หก้ ับโรงเรยี นท่เี ข้ามาศึกษาดงู านการจดั การศกึ ษา
ปฐมวัยของโรงเรียน
๘.๓ นารูปแบบ “โกตา Smart Kid นกั วิทยาศาสตร์นอ้ ย” มาปรบั และประยุกต์ใชใ้ นระดับการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน (ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๖)
๘.๔ นารูปแบบ “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์น้อย” เสนอต่อคณะกรรมการประเมินผลการ
ปฏบิ ตั งิ านของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานบริหารสถานศึกษา เพือ่ การพจิ ารณาเลอ่ื น
เงนิ เดอื น ครงั้ ที่ ๑ (๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔)
๘.๕ นารูปแบบ “โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตร์น้อย” เสนอต่อคณะกรรมการประเมิน
สัมฤทธิผลการปฏบิ ัติงานในหน้าที่ ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษา ในระยะเวลา ๖ เดือน
๘.๖ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี มคี วามพงึ พอใจตอ่ การบรหิ ารจดั การศึกษาระดับปฐมวยั ภายใต้ รปู แบบ
“โกตา Smart Kid นักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย” ส่งผลใหม้ จี านวนนักเรยี นเพิม่ มากขึ้น
นางรตั นา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านโกตาบารู
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รูปแบบ/วธิ ปี ฏิบัติทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) ดา้ นการบริหารจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวัย 14
๙. เอกสาร/หลักฐานประกอบ
โครงงานขยะแปลงรา่ ง กิจกรรมการทดลองฯ ๒๐ กจิ กรรม โครงงานดินดีของต้นหอม
กิจกรรมการทดลองฯ ๒๐ กจิ กรรม SAR ปฐมวัย ผลการประเมิน ฉบับรา่ ง สมศ.
นางรตั นา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นโกตาบารู
สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 1
รปู แบบ/วิธีปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ดา้ นการบรหิ ารจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั 15
หนงั สอื กรรมการประเมิน กรรมการตรวจโครงงาน แต่งต้ังวิทยากรบ้านวทิ ย์ ประกาศผลบา้ นนักวทิ ย์
ปฐมวัย บ้านนักวทิ ย์ปฐมวยั บ้านนกั วทิ ย์ปฐมวยั บ้านนกั วิทย์ปฐมวัย
คลิปการทดลอง คลิปนาเสนอรปู แบบ
การจม การลอย “โกตา Smart Kid
ตราบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ ้อย นักวิทยาศาสตร์นอ้ ย”
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐- ๒๕๖๒
นางรัตนา ดาทองเสน ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ “พระ นางสุมาลี แซ่ฟุ้ง ไดร้ บั รางวัลทรงคณุ ค่า ปี ๒๕๖๓
พฤหัสบด”ี กลุ่มผู้บรหิ ารสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา ดา้ นนวัตกรรมฯ
นางรัตนา ดาทองเสน ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 1