The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nookkanyared, 2021-07-08 02:44:42

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา2564

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา2564

Keywords: คู่มือนักเรียน

คู่มือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

แนวปฏบิ ัติเกีย่ วกับงานวชิ าการ

1. แนวทางการปฏบิ ัติเร่อื งการขาดเรยี นของนักเรยี น

1.1 ครปู ระจาวิชาสารวจการมาเรยี นของนกั เรียนที่ตนรับผิดชอบทกุ ชัว่ โมงทส่ี อน
1.2 เมอ่ื พบว่ามนี ักเรียนขาดเรยี นบอ่ ยและขาดเรียนตดิ ต่อกนั เปน็ เวลาหลายวนั ต้องปฏบิ ัติดังนี้

1.2.1 ถ้าเป็นครูประจาวิชาที่สอนให้รายงานนักเรียนท่ีขาดเรียนบ่อยครั้งให้ครูที่ปรึกษารับทราบ
และครทู ป่ี รึกษาต้องตดิ ตามนักเรียนท่ขี าดเรียนตามแนวปฏบิ ัติของโรงเรยี น

1.2.2 ถ้าครปู ระจาวชิ า/ครูผู้สอนสารวจแลว้ พบว่านกั เรยี นในชัน้ ขาดเรียนบอ่ ยและขาด
เรยี นติดต่อกันเป็นเวลานาน ใหต้ ดิ ตามนักเรียนในการสอนซ่อมเสรมิ เพม่ิ เติมภาระงาน และหรอื ตามกรณี

2. นักเรยี นแขวนลอย

ความหมายของคาํ
“นกั เรยี น” หมายความวา่ บุคคลท่ีกาลังเรียนอยู่ในระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียน
“นกั เรยี นแขวนลอย” หมายความวา่ นักเรยี นท่มี ีรายช่ืออยใู่ นบญั ชรี ายชือ่ นักเรียนในชนั้ ต่าง ๆ ที่
โรงเรียนจัดทาข้ึนตอนตน้ ปกี ารศึกษา หรือมีชือ่ อยู่ในสมดุ ประเมนิ ผลรายวชิ า และขาดเรยี นนานโดยไม่ทราบ
สาเหตไุ มม่ ีตัวตน มไิ ด้ลาออกจากโรงเรยี น และโรงเรียนไมส่ ามารถจาหน่ายรายช่อื ออกจากทะเบยี นนักเรยี น
ได้
การยกเลกิ รายช่ือนกั เรยี นแขวนลอย
ฐานข้อมลู นกั เรียนของโรงเรยี น มาจากทะเบยี นนักเรยี น ในชว่ งตอนต้นปีการศึกษา สามารถแบ่งออก
ไดส้ องกลุม่ ดงั นี้
1. ขอ้ มลู นักเรียนทย่ี ังไมส่ ามารถจาหน่ายออกจากทะเบยี นนกั เรียนได้เช่น นักเรยี นท่เี รียนครบ
หลกั สูตร แตไ่ มจ่ บหลกั สูตรได้ตามกาหนด นักเรยี นที่ขาดเรียนไปโดยไมไ่ ดล้ าออก
2. ข้อมูลนกั เรียนทม่ี ีรายชื่ออยใู่ นบญั ชีรายชอ่ื นักเรียนชั้นตา่ งๆ (หอ้ งตา่ งๆ ) ท่ีโรงเรียนจดั ทาขึ้น
ตอนต้นปีการศกึ ษา
3. ในระหวา่ งปกี ารศึกษา จะมนี กั เรยี นเขา้ – ออก ระหว่างปีการศึกษา แบง่ ออกได้ 3 กลุ่ม ดังน้ี
3.1 นักเรียนเขา้ ใหม่ ระหว่างปกี ารศึกษา
3.2 นักเรียนที่ออกกลางคนั ระหว่างปีการศกึ ษา
3.3 นกั เรียนที่อยู่ในบัญชีรายช่อื นักเรยี นแขวนลอย

3. แนวปฏิบตั ิในการแก้“0”

ในการแก้“0” มีแนวปฏบิ ัติดงั นี้
3.1 ให้นักเรียนแกต้ ัวได้ไมเ่ กนิ 0 คร้ัง และก่อนแก้ตวั ทุกครั้งนกั เรียนต้องยื่นคารอ้ งขอสอบแก้ตวั ที่
กลุ่มบริหารวชิ าการกอ่ น
3.2 การดาเนนิ การสอบแก้ตัวเป็นหนา้ ท่โี ดยตรงของครูผสู้ อน เมื่อมีนักเรียนตดิ “0” ในรายวชิ าที่

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

รับผดิ ชอบตอ้ งดาเนนิ การแก้“0” ใหเ้ สร็จสนิ้ ภายในภาคเรยี นถดั ไป ถา้ ไม่สามารถดาเนินการใหแ้ ล้วเสร็จตาม
กาหนด ให้รายงานกลุม่ บรหิ ารวชิ าการรบั ทราบ

3.3 ครผู ูส้ อนต้องจัดสอนซอ่ มเสริมให้นักเรียนก่อนสอบแกต้ ัวทกุ คร้ัง
3.4 ช่วงเวลาของการสอบแกต้ วั ให้เป็นไปตามกาหนดปฏทิ ินปฏบิ ัติงานฝ่ายวชิ าการ
3.5 ถ้านักเรียนไม่มาสอบแก้ตัวตามระยะเวลาท่ีกาหนดถือวา่ ได้ผลการเรียน “0” ตามเดิม และมีสิทธิ
สอบแกต้ ัวได้ 2 ครั้ง ถา้ นักเรยี นสอบแก้ตวั ครั้งท่ี 2 แลว้ ยงั ไมผ่ า่ นให้ปฏบิ ัติตามแนวปฏิบัติการเรยี นซา้
3.6 ครูผู้สอน/ครูท่ีปรึกษาเป็นผู้มีหน้าที่ติดตามผลการเรียนของนักเรียนท่ีอยู่ในความรับผิดชอบทุก
รายวิชา พรอ้ มทั้งกวดขนั ใหน้ กั เรียนมาดาเนนิ การแก้“0” ตามกาหนดเวลา
3.7 การให้นักเรียนสอบแกต้ ัว ครูผูส้ อนควรดาเนินการดงั นี้

3.7.1 ตรวจสอบดูวา่ นกั เรียนติด “0” เน่ืองจากไม่ผา่ นจดุ ประสงค์ใดหรือตัวชว้ี ดั ผลการเรยี นรู้ใด
3.7.2 ดาเนนิ การสอนซอ่ มเสรมิ ในจดุ ประสงค์/ตวั ชว้ี ดั ทนี่ กั เรียนสอบไมผ่ า่ น
3.7.3 การดาเนนิ การสอบแกต้ วั คาว่า“สอบแกต้ ัว”ไมไ่ ด้หมายความวา่ จะตอ้ งทดสอบดว้ ยข้อสอบท่ี
เป็นข้อเขียนเท่าน้ัน นักเรียนจะสอบแก้ตวั อย่างไรนั้นต้องดูว่าในจุดประสงค์นั้นนักเรียนไม่ผ่านตรงส่วนใด เช่น ใน
สว่ น K, P, A ก็ให้ซ่อมตรงคะแนนในส่วนนนั้
3.8 ขน้ั ตอนและแนวปฏิบตั ิในการแก้“0” ของนักเรยี น
1.8.1 งานวิชาการโดยงานวัดผลสารวจนกั เรียนท่มี ผี ลการเรยี น “0” และกาหนดวัน เวลาสอบแก้
ตวั ตามปฏิทนิ การปฏบิ ัตงิ านของกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

3.8.2 แจง้ ให้นักเรียนที่มีผลการเรียน “0” ไดร้ บั ทราบ
3.8.3 งานวชิ าการแจง้ ครทู ี่ปรกึ ษารบั ทราบเพอื่ ชว่ ยดแู ลและตดิ ตามนกั เรียนมาดาเนินการแก้“0”
3.8.4 นกั เรยี นท่ีตดิ “0” มายื่นคาร้องขอแก“้ 0” ทฝ่ี า่ ยวชิ าการ และฝา่ ยวิชาการแจ้งใหค้ รูประจา
วิชารบั ทราบ พร้อมกบั ใบคารอ้ งขอสอบแกต้ วั ของนักเรียน
3.8.5 ครปู ระจาวชิ าดาเนนิ การสอนซ่อมเสริมและใหน้ กั เรยี นสอบแก้ตัว
3.8.6 ครูประจาวชิ านาผลการสอบแก้ตัวของนกั เรียนมารายงานให้ฝา่ ยวิชาการรับทราบ
3.8.7 งานวชิ าการแจง้ ผลการสอบแกต้ วั ให้นกั เรยี นและครูที่ปรกึ ษารับทราบ
3.9 ระดับผลการเรียนหลังจากนักเรียนทาการสอบแก้ตัวแล้วอยู่ท่ี“ 0” หรือ “ 1 ” เท่านั้น ระดับผล
การเรยี นหลังสอบแก้ตัวถา้ นกั เรยี นยงั ได้“ 0” อยู่ ให้นักเรียนผู้น้นั เรยี นซา้ ใหม่หมดทง้ั รายวิชา

4. แนวปฏิบตั ิในการแก้“ร”

ในการแก้“ร” มีแนวปฏิบัติดงั น้ี
4.1 การดาเนินการแก้“ร” เป็นหน้าที่โดยตรงของครูผู้สอน เมื่อมีนักเรียนติด “ร” ในรายวิชาที่
รับผิดชอบต้องดาเนินการแก้“ร” ให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนถัดไป ถ้าไม่สามารถดาเนินการให้แล้วเสร็จตาม
กาหนด ใหร้ ายงานกลุ่มบริหารวิชาการรับทราบ

คู่มอื นกั เรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

4.2 การแก้ไขผลการเรียน “ร” แยกออกเป็น ๒ กรณคี อื
4.2.1 ได้ระดับผลการเรียน “0 – 4” ในกรณีท่ีเน่ืองมาจากเหตุสุดวิสัย เช่น เจ็บป่วย หรือเกิด

อบุ ัตเิ หตุไมส่ ามารถมาเขา้ สอบได้
4.2.2 ได้ระดบั ผลการเรยี น “0 – 1” ในกรณที ่ีสถานศึกษาไดพ้ ิจารณาแล้วเหน็ ว่าไมใ่ ชเ่ หตุสุดวสิ ัย

เชน่ มเี จตนาหลบการสอบเพือ่ หวงั ผลบางอย่าง หรอื ไมส่ นใจทางานท่ไี ด้รับมอบหมายให้ทาเปน็ ต้น
4.3 การแก้“ ร ” ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในภาคเรียนถัดไป ถ้านักเรียนท่ีมีผลการเรียน “ร”

ไม่มาดาเนินการแก้“ร” ให้เสร็จส้ินตามกาหนดเวลา นักเรียนผู้น้ันต้องเรียนซ้าทั้งรายวิชาหรือเปล่ียนรายวิชาใหม่
ในกรณที ีเ่ ป็นรายวิชาเพิ่มเติม

4.4 ถ้าหากนักเรียนท่ีมีผลการเรียน “ ร ” ผู้นั้นไม่สามารถมาทาการแก้“ ร ” ตามกาหนดเวลาได้
เน่ืองจากเหตสุ ุดวิสัย ใหอ้ ย่ใู นดลุ พินจิ ของหัวหน้าสถานศึกษาจะขยายเวลาการแก้“ ร ” ออกไปอกี 1 ภาคเรยี นแต่
ถา้ พ้นกาหนดแลว้ นักเรียนยงั ไมม่ าดาเนินการแก“้ ร ” ให้นกั เรยี นผนู้ ้นั เรยี นซ้าใหมห่ มดทงั้ รายวชิ า

4.5 ขัน้ ตอนและแนวปฏิบัตใิ นการแก้“ ร ” ของนกั เรยี น
4.5.1 กลุม่ บรหิ ารวิชาการโดยงานวัดผลสารวจนักเรียนที่มีผลการเรยี น “ ร ” และแจ้งใหน้ ักเรยี น

รับทราบ
4.5.2 งานวิชาการแจ้งครูท่ีปรึกษารับทราบเพื่อช่วยดูแลและติดตามนักเรียนมาดาเนินการแก้

“ร”
4.5.3 นกั เรยี นที่ตดิ “ ร ” มาย่นื คารอ้ งขอแก“้ ร ” ทง่ี านวัดผล และกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

แจ้งให้ครปู ระจาวิชารับทราบ
4.5.4 ครูประจาวิชาดาเนินการ แก้“ ร ” ใหก้ ับนักเรียน
4.5.5 ครปู ระจาวชิ านาผลการแก้“ ร ” ของนกั เรียนมารายงานให้กลุ่มบรหิ ารวชิ าการรับทราบ
4.5.6 งานวิชาการแจง้ ผลการแก้“ ร ” ให้นักเรียนและครทู ี่ปรกึ ษารับทราบ

5. แนวปฏบิ ตั ใิ นการแก้“ มส. ”

2 ในการแก้“มส.” มแี นวปฏิบตั ดิ งั ต่อไปน้ี
5.1 ครผู ู้สอนได้พจิ ารณาสาเหตทุ ีน่ กั เรียนไดผ้ ลการเรียน “มส.” ซงึ่ มีอยู่ 2 กรณคี อื
5.1.1 นกั เรียนมเี วลาเรยี นไมถ่ งึ 60 % ไมม่ ีสิทธยิ นื่ คารอ้ งขอมสี ทิ ธิ์สอบ ตอ้ งเรยี นซา้ ใหมห่ มด
5.1.2 นกั เรียนมเี วลาเรียนไมถ่ ึง 80 % แต่ไมน่ อ้ ยกว่า 60 %
5.1.2.1 ใหน้ ักเรยี นยนื่ คารอ้ งขอแกผ้ ลการเรียน “มส.” จากครผู ้สู อน
5.1.2.2 ครูผู้สอนต้องจัดให้นักเรียนเรียนเพ่ิมเติมเพ่ือให้เวลาครบตามรายวิชานั้นๆ โดย

อาจใชช้ ว่ั โมงว่าง / วันหยุด
5.1.2.3 เมื่อนักเรียนมาดาเนินการแก้“มส.” ตามข้อ ๒ แล้วจะได้ระดับผลการเรียน

0– 1

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

5.1.2.4 ถ้านักเรียนไม่มาแก้“มส.” ให้เสร็จตามระยะเวลาท่ีกาหนดให้นักเรียนผู้นั้นต้อง
เรียนซา้

5.1.2.5 ถ้ามีเหตุสุดวิสัยไม่สามารถมาแก้“มส.” ได้ให้อยู่ในดุลพินิจของหัวหน้า
สถานศึกษาที่จะขยายเวลามาแก้“มส.” ออกไปอีก 1 ภาคเรียน เม่ือพ้นกาหนดนี้แล้วให้นักเรียนผู้น้ันเรียนซ้าหรือ
ใหเ้ ปลย่ี นรายวิชาใหม่ไดใ้ นกรณที ่เี ป็นรายวิชาเพ่มิ เตมิ

5.2 ข้นั ตอนและแนวปฏิบตั ใิ นการแก“้ มส.” ของนักเรียน
5.2.1 ครูประจาวิชาแจง้ ผล “มส. “ ของนกั เรยี นท่ีฝ่ายวชิ าการ
5.2.2 กลุ่มบรหิ ารวชิ าการโดยงานวดั ผลแจ้งนกั เรียนท่มี ผี ลการเรยี น “มส.” รับทราบ
5.2.3 งานวิชาการแจ้งครูที่ปรึกษารับทราบเพื่อช่วยดูแลและติดตามนักเรียนมาดาเนินการ

แก้“มส.”
5.2.4 นักเรียนท่ีตดิ “มส.” นาผู้ปกครองมาย่ืนคาร้องขอแก้“มส.” ท่ีงานวดั ผล งานวิชาการแจ้ง

ให้ครูประจาวิชารับทราบ เพ่ือดาเนินการแก้“มส.”ของนักเรียนตามแนวปฏิบัติการแก้“มส.” ของนักเรียน ครู
ประจาวิชา นาผลการแก้“มส.” ของนักเรียนมารายงานให้กลุ่มบริหารวิชาการรับทราบ งานวชิ าการแจ้งผลการแก้
“มส.” ใหน้ ักเรยี นและครทู ป่ี รกึ ษารบั ทราบ

6. แนวปฏบิ ัตใิ นการเรยี นซ้าํ

ในการจดั ให้นกั เรียน “ เรยี นซ้า ” มีแนวปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
6.1 ให้ครผู ู้สอนเดิมในรายวิชานั้นเป็นผู้รบั ผิดชอบสอนซา้
6.2 การดาเนินการ “เรียนซ้า” เป็นหน้าท่ีโดยตรงของครูผู้สอน เม่ือมีนักเรียน“เรียนซ้า” ใน
รายวชิ าที่รับผิดชอบต้องดาเนินการ “เรียนซ้า” ให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนถัดไป ถ้าไม่สามารถดาเนินการให้แล้ว
เสร็จตามกาหนด ใหร้ ายงานกลุ่มบรหิ ารวิชาการรบั ทราบ
6.3 ครูผู้สอนและนักเรียนกาหนดจัดตารางเรียนร่วมกันให้จานวนชั่วโมงครบตามระดับชั้น และ
ครบตามหน่วยการเรียนของรายวิชานั้น ๆ ครูผู้สอนอาจมอบหมายงานให้ในชั่วโมงท่ีกาหนด จะสอนหรือ
มอบหมายงานให้ทา จะมากหรือน้อยตอ้ งพจิ ารณาตามความสามารถของนักเรยี นเปน็ รายบุคคล
6.4 สาหรับช่วงเวลาที่จดั ใหเ้ รยี นํซ้าอาจทาได้ดงั นี้

6.4.1 ชัว่ โมงว่าง
6.4.2 ใช้เวลาหลังเลิกเรียน
6.4.3 วนั หยดุ ราชการ
6.4.4 สอนเป็นคร้ังคราวแล้วมอบหมายงานให้ทา
6.5 การประเมนิ ผลการเรียนให้ดาเนนิ การตามระเบยี บการประเมนิ ผลทุกประการ
6.6 ครูผ้สู อนส่งผลการเรียนซา้ พรอ้ มกับการประเมนิ ผลปลายภาคเรียนใหก้ ลุม่ บริหารวชิ าการ
6.7 ขน้ั ตอนและแนวปฏิบัตใิ นการ “เรียนซา้ ” ของนักเรียน
6.7.1 กลมุ่ บรหิ ารวิชาการโดยงานวัดผลสารวจและแจ้งนักเรยี นท่ีต้อง “เรียนซ้า” รับทราบ

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

“เรยี นซา้ ” 6.7.2 งานวิชาการแจง้ ครทู ปี่ รึกษารบั ทราบเพือ่ ช่วยดแู ลและติดตามนกั เรยี นมาดาเนินการ
ตามแนวฏิบตั ิ
6.7.3 นกั เรยี น “เรียนซา้ ” มายืน่ คาร้องขอ “เรียนซา้ ” ท่ีฝ่ายวิชาการ
6.7.4 งานวชิ าการแจง้ ใหค้ รปู ระจาวชิ ารับทราบ เพือ่ ดาเนนิ การ “เรียนซา้ ” ของนกั เรยี น

6.7.5 ครปู ระจาวชิ านาผลการประเมนิ การ “เรียนซา้ ”ของนกั เรยี นรายงานใหก้ ลมุ่ บรหิ าร

วิชาการรับทราบ
6.7.6 งานวชิ าการแจ้งผลการ“เรยี นํซ้า”ให้นกั เรียนและครูทีป่ รกึ ษารับทราบ

เกณฑ์การจบหลักสตู ร

เกณฑก์ ารจบระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
1. เรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน 66 หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิม่ เติมตามสถานศึกษากาหนด
2. ผู้เรียนตอ้ งไดห้ น่วยกติ ตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกว่า 77 หนว่ ยกติ โดยเปน็ รายวชิ า

พ้นื ฐาน 66 หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ไมน่ อ้ ยวา่ 11 หนว่ ยกติ
3. ผเู้ รียนมผี ลการประเมิน การอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี น ในระดบั “ผา่ น” หรือ “ด”ี

หรือ “ดเี ย่ยี ม”
4. ผู้เรียนมีผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั “ผ่าน” หรือ “ด”ี หรือ

“ดเี ยี่ยม”
5. ผู้เรยี นเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรียนและมีผลการประเมินเปน็ “ผ” ทกุ กิจกรรม

เกณฑก์ ารจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

1. เรียนรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวชิ าเพิม่ เติมตามสถานศกึ ษากาหนด

2. ผูเ้ รียนต้องไดห้ นว่ ยการเรียนตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกว่า 77 หน่วยกติ โดยเปน็
รายวชิ าพื้นฐาน 41 หน่วยกติ การเรยี น รายวชิ าเพ่ิมเติมไมน่ ้อยกวา่ 36 หนว่ ยกิต

3. ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น ในระดบั “ผ่าน” หรือ “ด”ี

หรือ “ดเี ยย่ี ม”

4. ผู้เรียนมผี ลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดับ “ผา่ น” หรือ “ด”ี หรอื

“ดีเย่ียม”

5. ผู้เรยี นเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและมีผลการประเมนิ เปน็ “ผ” ทุกกจิ กรรม

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

เอกสารหลกั ฐานทางการศึกษา

1. ระเบียนแสดงผลการเรียน (TRANSCRIPT) (ปพ.1)
เปน็ เอกสารสาหรับบนั ทึกขอ้ มูลผลการเรยี นของผ้เู รยี นตามเกณฑ์การผา่ นชว่ งชนั้ ของหลักสตู ร

การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานแตล่ ะช่วงช้นั ไดแ้ กผ่ ลการเรยี นรู้ตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้8 กลุ่ม ผลการประเมนิ การ
อา่ น คดิ วิเคราะห์เขยี น ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องโรงเรยี น และผลการประเมนิ กิจกรรม
พัฒนาผ้เู รียน โรงเรียนจะต้องจัดทาและออกเอกสารนี้ใหก้ ับผู้เรียนเปน็ รายบุคคล เมือ่ จบการศึกษาแตล่ ะช่วง
ชั้น เพอื่ ใชป้ ระโยชนใ์ นด้านต่างๆ ต่อไปน้ี

-แสดงผลการเรยี นของผเู้ รยี นตามโครงสรา้ งหลักสูตรของโรงเรียน
-รบั รองผลการเรียนของผู้เรยี นตามข้อมูลทบี่ ันทึกในเอกสาร
-ตรวจสอบผลการเรียนและวฒุ ิการศึกศึกษาของผ้เู รยี น
-ใช้เป็นหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครงานหรือ ขอรับสิทธิประโยชน์อื่นใดท่ี
พงึ มีพึงไดต้ ามวุฒิการศึกษาน้ัน
2. หลักฐานแสดงวุฒกิ ารศกึ ษา (ประกาศนียบัตร) (ปพ.2)
เป็นวุฒบิ ัตรทีม่ อบให้ผู้เรยี นท่สี าเรจ็ การศึกษาหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพื่อประกาศและรบั รอง
วุฒกิ ารศึกษาของผเู้ รียน ส่งผลใหผ้ ูเ้ รียนได้รับศักดิแ์ ละสทิ ธิต่างๆ ของผสู้ าเร็จการศกึ ษาตามวุฒแิ ห่ประกาศนียบตั ร
นนั้ ประกาศนยี บตั รสามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดด้ ังนี้
-แสดงวฒุ ิทางการศกึ ษาของผ้เู รียน
-ตรวจสอบวุฒิทางการศกึ ษาของผเู้ รยี น
-ใช้เป็นหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา เพื่อสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครงานหรือขอรับสิทธิประโยชน์อ่ืนใด ที่
พึงมีพงึ ได้ตามวุฒิการศึกษาแห่งประกาศนยี บตั รน้ัน
3. แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา (ปพ.3)
เป็นเอกสารสาหรับสรุปผลการเรียนของผู้สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานแต่ละช่วง
ช้ัน โดยบนั ทกึ ขอ้ มูลของผู้เรยี นที่จบการศึกษาชว่ งช้นั เดยี วกัน รนุ่ เดียวกัน ไว้ในเอกสารฉบบั เดียวกัน เป็นเอกสารท่ี
ผู้บริหาร โรงเรียนใช้สาหรับตัดสินและอนุมัติผลการเรียนให้ผู้เรียนจบช่วงช้ัน เป็นเอกสารทางการศึกษาท่ีสาคัญ
ที่สุด ใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณสมบัติหรือคุณวุฒิทางการศึกษาของผู้เรียน ผู้ที่มีรายชื่อในเอกสารนี้ทุกคน จะได้
รบั รองวุฒทิ างการศึกษา จากกระทรวงศึกษาธกิ าร แบบรายงานผู้สาเรจ็ การศกึ ษานาไปใชป้ ระโยชนด์ ังน้ี
-เปน็ เอกสารสาหรบั ตัดสินและอนุมัตผิ ลการเรียนให้ผู้เรียนเป็นผู้สาเร็จการศึกษา
-เปน็ เอกสารสาหรบั ตรวจสอบ ยนื ยัน และรับรองความสาเร็จและวุฒกิ ารศกึ ษาของผ้สู าเรจ็ การศึกษาแต่
ละคนตลอดไป
4. แบบบนั ทึกการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น (ปพ.5)

คมู่ ือนักเรยี นและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

เป็นเอกสารท่ีโรงเรียนจัดทาข้ึน เพ่ือให้ผู้สอนใช้บันทึกข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียนของผู้เรียน
ตามแผนการจัดการเรียนการสอน และประเมินผลการเรียน เพื่อใช้เป็นข้อมูลสาหรับพิจารณาตัดสินผลการเรียน
แตล่ ะรายวิชา เอกสารบันทกึ ผลการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ดังนี้
-ใช้เป็นเอกสารประกอบการดาเนนิ งานในการวัดและประเมินผลการเรยี นของผเู้ รียน

-ใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ รายงานและรับรองข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการและกระบวนการวัดและ
ประเมินผลการเรียน
5. เอกสารรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนรายบคุ คล (ปพ.6)

เปน็ เอกสารทโี่ รงเรยี นจัดทาขึ้นเพอ่ื บนั ทกึ ข้อมลู การประเมินผลการเรยี นรแู้ ละพัฒนาการด้านต่างๆ
ของผ้เู รยี นแตล่ ะคน ตามเกณฑก์ ารผา่ นชว่ งชั้นของหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน รวมทั้งขอ้ มลู ด้านอ่นื ๆ ของ
ผ้เู รียนทัง้ ทบ่ี า้ นและโรงเรยี น โดยจดั ทาเปน็ เอกสารรายบคุ คล เพอื่ ใช้สาหรับสือ่ สารใหผ้ ้ปู กครองของผู้เรยี นแต่
ละคนไดท้ ราบผลการเรียนและพฒั นาการดา้ นตา่ งๆ ของผู้เรยี นอย่างตอ่ เนอ่ื ง แบบรายงานผลการพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รยี นรายบคุ คล นาไปใช้ประโยชน์ดังน้ี

-รายงานผลการเรยี น ความประพฤติและพฒั นาการของผูเ้ รียนใหผ้ ปู้ กครองได้รบั ทราบ
-ใชเ้ ป็นเอกสารสอ่ื สาร ประสานงานเพื่อความร่วมมอื ในการพัฒนาและปรับปรงุ แกไ้ ขผ้เู รียน
-เป็นเอกสารหลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองผลการเรียนและพัฒนาการต่างๆของผเู้ รยี น
6. ใบรับรองผลการศกึ ษา (ปพ.7)
เป็นเอกสารท่ีโรงเรียนจัดทาขึ้น เพื่อใช้เป็นเอกสารสาหรับรับรองสถานภาพผู้เรียนหรือผลการเรียนของ
ผู้เรียนเป็นการชัว่ คราวตามที่ผู้เรียนร้องขอ ทั้งกรณีที่ผู้เรียนกาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนและเม่ือจบการศึกษาไปแล้ว
ใบรบั รองผลการศกึ ษา นาไปใชป้ ระโยชนด์ ังน้ี
-รับรองความเปน็ ผู้เรยี นของโรงเรียนท่ีเรียนหรือเคยเรียน
-รบั รองและแสดงความรวู้ ฒุ ิของผู้เรยี น
-ใช้เปน็ หลกั ฐานแสดงคุณสมบัติของผู้เรียนในการสมัครเขา้ ศกึ ษาตอ่ สมัครเข้าทางาน หรือเมื่อมีกรณีอื่น
ใดทผ่ี ู้เรียนต้องแสดงคุณสมบตั เิ กย่ี วกับวุฒิความรู้หรือสถานะ การเป็นผ้เู รยี นของตน
-เป็นหลักฐานสาหรับการตรวจสอบ รับรอง ยืนยันการใช้สิทธ์คิ วามเป็นผู้เรียน หรือการได้รับการรับรอง
จากโรงเรียน
7. ระเบยี นสะสม (ปพ.8)
เปน็ เอกสารที่โรงเรียนจัดทาขนึ้ เพ่ือบันทึกขอ้ มลู เก่ียวกบั พฒั นาการของผูเ้ รียนในดา้ นตา่ งๆ เปน็
รายบคุ คล โดยจะบันทึกข้อมูลของผูเ้ รยี นอย่างตอ่ เน่อื งตลอดชว่ งระยะเวลาการศกึ ษาตามหลกั สตู รการศึกษา
ข้ันพ้นื ฐาน 12 ปรี ะเบยี นสะสม นาไปใช้ประโยชนด์ งั นี้
-ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชีพของผเู้ รียน
-ใชเ้ ป็นขอ้ มูลในการพฒั นาปรบั ปรุงบุคลิกภาพ ผลการเรยี นและการปรบั ตัวของผเู้ รยี น
-ใช้ตดิ ตอ่ ส่อื สาร รายงานพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นระหว่างโรงเรยี นกบั ผู้ปกครอง
-ใชเ้ ปน็ หลักฐานสาหรบั การตรวจสอบ รับรอง และยืนยันคณุ สมบตั ิของผูเ้ รยี น



คมู่ ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวัดดาวคนอง

หลักการทางานของกลุม่ บรหิ ารงานบคุ คล

I AM READY

I Idual บคุ คลมาตรฐาน สามารถเป็นแบบอยา่ งที่สมบรู ณ์ได้
A Active ขยัน ตงั้ ใจ ทางานเชิงรกุ
M Moral มีศลี ธรรม คุณธรรม
R Relevant รู้ทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
E Efficient ม่งุ เนน้ ประสทิ ธภิ าพ
A Accountability รบั ผิดชอบตอ่ งานและสังคม
D Democracy จิตใจเปน็ ประชาธิปไตย
Y Yield เน้นผลงาน

วสิ ัยทศั น์

- สง่ เสริมคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
- สร้างเสรมิ ทกั ษะชวี ิต
- สมู่ าตรฐานสากล ภายในปีการศกึ ษา 2564

พันธกจิ

1. เสริมสร้างขวัญ กาลังใจ และพัฒนาให้บุคลากรในโรงเรียนให้มีคุณภาพ และอยู่ร่วมกันได้อย่างมี
ความสุข

2. สานสัมพันธ์กับองค์กรต่าง ๆ และชุมชน เพ่ือพัฒนาด้านการศึกษา และส่งเสริมนิยมไทย อนุรักษ์
วัฒนธรรมไทยตามแนววถิ พี ทุ ธ

3. เผยแพรข่ า่ วสาร และเสรมิ สร้างความเขา้ ใจอันดี แก่ทง้ั บุคลากรในโรงเรยี น ผ้ปู กครอง และชมุ ชน
4. สนบั สนุนการเรียนการสอนของครูและนกั เรียน โดยทใ่ี หเ้ น้นการจัดกจิ กรรมวนั สาคญั ทางของศาสนา
5. จัดให้มีการอบรมนักเรียนผู้นาร่วมกับทางโรงเรียนศึกษานารีเพื่อสร้างความสัมพันธ์ของโรงเรียนคู่

พฒั นา และพฒั นาบคุ ลกิ ภาพของผ้เู ข้ารับการอบรม
6. สนบั สนนุ และส่งเสริมการจดั กิจกรรมวันประชาธปิ ไตยในโรงเรยี นรปู แบบสภานกั เรียน
7. พฒั นาโปรแกรมระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนใหม้ ีคุณภาพอย่างต่อเน่อื ง
8. พฒั นาบคุ ลากรในระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นให้มีประสิทธภิ าพ
9. ประสานใหม้ ีการก่อตั้งคณะกรรมการเครือข่ายผปู้ กครอง

เป้าประสงค์

1. ครูแลบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ ีขวัญกาลังใจและได้รบั การพฒั นาสนับสนุนใหท้ างานเพ่อื การศึกษา
2. นกั เรยี น ไดร้ บั การสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ ผมู้ คี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
3. โรงเรยี น จะตอ้ งสวยสะอาด งามสง่า เป็นทยี่ อมรับของชุมชนและจะตอ้ งทันสมยั ตามมาตรฐานสากล
4. ชมุ ชน ได้รับการสานสมั พันธ์ ระหว่าง + วัด + โรงเรยี น มีส่วนรว่ มในการสง่ เสริมการพัฒนาผู้เรียน ใน

รปู แบบเครือขา่ ยผู้ปกครอง

ค่มู อื นักเรยี นและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

รายช่ือหัวหนา้ ระดับชัน้ รองหัวหน้าระดับชัน้ และครูทีป่ รกึ ษา

๑. หัวหน้าระดบั ชั้น งานวนิ ยั และความประพฤตินกั เรยี น

ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

1. นายพิชญตุ ม์ ปฐมสมี ากลุ หัวหนา้ ระดบั ชนั้
รองหัวหน้าระดบั ชนั้
2. นายธนกฤต จติ อารีย์ รองหวั หนา้ ระดับชนั้

3. นางสาววราพร นยุ า หัวหนา้ ระดบั ช้ัน
รองหวั หน้าระดบั ชัน้
ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รองหัวหน้าระดับชนั้

4. นายนริศ จีรบวร

5. นายณภทั ร สลา้ งสขุ สกาว

6. นางสาวพัตรพมิ ล คนสม

ชนั้ /หอ้ ง ห้องเรียน ครูที่ปรกึ ษา
ประจา
1/1 151 นางสาวกลุ นนั ทร์ แนวนาค นางสาวสพุ ิชญา ทรัพย์ประเสริฐ
1/2 152 นางสธุ ีกานต์ ทพั นาค นายพชิ ญตุ ม์ ปฐมสมี ากุล
2/1 141 นางสาวนิรมล วบิ รรณ์ นายจิตตินันท์ ทศราช
2/2 142 นายโสภณ จงบรบิ ูรณ์ นางสาววราพร นยุ า
2/3 143 นางสาวสาธนี โพธิศ์ รี นางสาวปาณิสรา สมจริงจงรัก
3/1 132 นายมานนท์ ภาษเี นตร นางสาวมขุ ดาร์ อิสสระ
3/2 133 นางสาวพชั รินทร์ สมี า นางสาวสกุ ลั ยา สกั ขาพรม
3/3 133 นายธนกฤต จติ อารยี ์ นายสสทิ รา ณ ปอ้ มเพช็ ร์
4/1 144 นางสาวปวณี า จรรยาขจรกลุ นางสาวฐติ มิ า ชูคดี
4/2 145 นายนรศิ จรี บวร นางสาวกลั ยรัตน์ อภวิ ฒั โนดม
5/1 153 นางสาวพัตรพิมล คนสม นางสาวอัญมณี โอวสุวรรณกลุ
5/2 154 นางสาวมณั ฑนา วฒั นเสย นายอนิวรรต อาพล
5/3 155 นายอนันต์ สุมงคลภัทร
6/1 244 นายณภทั ร สลา้ งสุขสกาว
6/2 245 นางพักตรว์ ิภา สามหมอ

ค่มู ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นมัธยมวัดดาวคนอง

ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ว่าดว้ ย การลงโทษนกั เรยี นหรือนักศกึ ษา

**********

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่ง พระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ วางระเบียบ วา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษาไว้ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ 1 ระเบยี บนีเ้ รยี กวา่ “ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร วา่ ดว้ ยการ ลงโทษนักเรยี นและนักศกึ ษา พ.ศ.
2558”

ขอ้ 2 ระเบียบน้ีใหใ้ ช้บังคบั ตัง้ แต่วันประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เป็นต้นไป
ขอ้ 3 ใหย้ กเลกิ ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ ารวา่ ด้วยการลงโทษ นักเรียนหรอื นักศกึ ษา พ.ศ. 2553
ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี
“ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความวา่ ครูใหญ่อาจารย์ใหญ่ ผู้อานวยการ อธิการบดี หรือหัวหน้า
ของโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาหรือตาแหนง่ ทเี่ รียกชื่ออยา่ งอนื่ ของโรงเรียนหรือ สถานศกึ ษาน้ัน
“กระทาความผิด” หมายความว่า การท่ีนักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติ ฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับของ
สถานศกึ ษา หรือของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร หรอื กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยความประพฤติของนักเรียน และนักศึกษา
“การลงโทษ” หมายความวา่ การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทา ความผิด โดยมีความมุ่งหมาย
เพื่อการอบรมส่ังสอน
ข้อ 5 โทษทจี่ ะลงโทษแก่ นักเรียนหรือนกั ศึกษาทกี่ ระทาความผดิ มี 4 สถาน ดังนี้
(1) ว่ากล่าวตกั เตือน
(2) ทาทณั ฑ์บน
(3) ตดั คะแนนความประพฤติ
(ภ) ทากจิ กรรมเพือ่ ใหป้ รับเปล่ียนพฤตกิ รรม
ข้อ 6 ห้ามลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรงหรือแบบกลนั่ แกล้ง หรือลงโทษ ด้วยความโกรธ
หรือด้วยความพยาบาท โดยให้คานึงถึงอายุของ นักเรียนหรือนักศึกษาและความร้ายแรงของพฤติการณ์
ประกอบการลงโทษด้วย
การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให้เป็นไปเพ่ือเจตนาที่จะแก้นิสัยและ ความประพฤติไม่ดี ของ
นกั เรยี นหรือนกั ศกึ ษาใหร้ สู้ านกึ ในความผดิ และกลับ ประพฤตติ นในทางทด่ี ตี อ่ ไป
ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ที่บริหารโรงเรียน หรือสถานศึกษามอบหมาย เป็นผู้มี
อานาจในการลงโทษนกั เรยี น นกั ศึกษา
ข้อ 7 การว่ากล่าวตักเตอื น ใชใ้ นกรณีนักเรียนหรือนักศึกษากระทา ความผิดไมร่ ้ายแรง
ข้อ 8 การทาทัณฑ์บนใช้ใน 2555 กรณีนักเรียนหรือนักศึกษา ที่ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับ สภาพ
นกั เรยี นหรือนกั ศกึ ษา ตามกฎกระทรวง วา่ ดว้ ยความประพฤตนิ กั เรยี นและนกั ศกึ ษา หรอื กรณที าให้ เสอ่ื มเสยี

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมัธยมวดั ดาวคนอง

ช่ือเสียง และเกียรติศักดิ์ของสถานศึกษาหรือฝ่าฝืนระเบียบของสถานศึกษาหรือได้รับโทษ ว่ากล่าว ตักเตือน
แล้ว แตย่ งั ไมเ่ ข็ดหลาบ

การทาทัณฑบ์ นใหท้ าเปน็ หนังสือ และเชญิ บิดามารดาหรอื ผู้ปกครอง มาบนั ทึกรบั ทราบความผิด และ
รับรองการทาทัณฑบ์ นไวด้ ้วย

ข้อ 9 การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติ ว่าด้วยการตัดคะแนนความ
ประพฤตินกั เรยี นและนกั ศึกษาของแต่ละสถานศกึ ษา กาหนด และใหท้ าบันทึกข้อมลู ไว้เปน็ หลักฐาน

ข้อ 10 ทากิจกรรมเพ่ือให้ปรับเปล่ียนพฤติกรรมใช้ในกรณีที่นักเรียน และนักศึกษากระทาความผิดท่ี
สมควรต้องปรับเปลย่ี นพฤติกรรมการจัดกจิ กรรม ให้เป็นไปตามแนวทางทก่ี ระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด

ข้อ 11 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจตีความ และ
วนิ จิ ฉัยปญั หาเก่ยี วกับการปฏบิ ตั ติ ามระเบียบนี้

ประกาศ ณ วนั ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558
อดิศัย โพธารามกิ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร

คู่มอื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวัดดาวคนอง

ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
วา่ ด้วย เครื่องแบบนักเรยี น

พ.ศ. 2551

**********

อาศยั อานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 6 แหง่ พระราชบัญญตั ิ เครือ่ งแบบนักเรียน พ.ศ.2551
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบไวด้ ังตอ่ ไปนี้

ขอ้ 1 ระเบยี บนี้เรยี กวา่ “ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่าดว้ ย เครอ่ื งแบบนักเรยี น พ.ศ. 2551”
ขอ้ 2 ระเบยี บนี้ให้ใชบ้ ังคับตัง้ แต่วันถัดไปจากวันประกาศ ใน ราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป
ขอ้ 3 ให้ยกเลกิ

(1) ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยเครอื่ งแบบนักเรียน และนกั ศกึ ษา พ.ศ. 252)
(2) ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา่ ด้วยเครอื่ งแบบนักเรียน และนักศกึ ษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2540
(3) ระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ยเครื่องแบบนกั เรยี น และนกั ศกึ ษา (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2542
(4) ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วยเครอ่ื งแบบนักเรยี น และนกั ศึกษา (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ. 2546
บรรดาระเบยี บ ข้อบังคับ หรือคาส่ังอ่ืนใดในส่วนที่กาหนดไวแ้ ล้ว ในระเบียบน้ีหรือซึ่งขัด หรือแย้งกับ
ระเบยี บนใ้ี ห้ใช้ระเบยี บน้ีแทน
ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับแก่นักเรียนผู้ซ่ึงศึกษาในสถานศึกษา ขั้นพื้นฐานและสถานศึกษา
ระดับอดุ มศึกษาตา่ กวา่ ปริญญาตามกฎหมายวา่ ดว้ ย
การศึกษาแหง่ ชาติ เวน้ แต่สถานศึกษานัน้ จามกี ฎหมายกาหนดเรื่องการแต่งกาย ไวเ้ ป็นการเฉพาะแล้ว
ข้อ 5 ลักษณะของเครื่องแบบนกั เรยี นแบง่ ตามระดบั ประเภทการศึกษา ดังนี้
(1) เครื่องแบบนักเรยี นระดับกอ่ นประถมศกึ ษา
(2) เคร่อื งแบบนักเรยี นระดบั ประถมศึกษา
(3) เคร่อื งแบบนกั เรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
(4) เครอ่ื งแบบนกั เรียนระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ประเภทสามญั ศึกษา
(5) เคร่ืองแบบนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีพ และระดับอุดมศึกษาระดับ
ตา่ กวา่ ปริญญา
(6) เครื่องแบบนกั เรยี นสาหรบั สถานศึกษาเอกชนสอน ศาสนาอสิ ลาม
(7) เคร่ืองแบบนักเรียนซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม ในสถาน ศึกษาอื่นนอกจากสถานศึกษาเอกชน
สอนศาสนาอิสลาม
ข้อ 6 เคร่ืองแบบนักเรยี นระดับก่อนประถมศกึ ษา

นกั เรยี นชาย
(1) เสอ้ื ผา้ สีขาว แบบคอเชติ้ หรือคอปกกลม แขนส้ัน

ค่มู อื นักเรยี นและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

(2) เครื่องหมาย ใช้อักษรย่อของ ถานศึกษาปักที่ อกเส้ือ เบื้องขวาบนเน้ือผ้าด้วยด้ายหรือ
ไหม โดยสถานศกึ ษาขอรัฐใช้สีนา้ เงนิ สถานศกึ ษา ขอเอกชนใชส้ ีแดง

(3) กางเกง ผา้ สีดา
(4) รองเทา้ หนังหรือผ้าใบสดี า แบบหมุ้ ส้นหุ้ม ปลายเท้า ชนิดผูกหรอื มีสายรดั หลงั เทา้
(5) ถงุ เท้าสั้นสีขาว
นกั เรยี นหญงิ
(1) เส้อื ผ้าสขี าว แบบคอเชิ้ต หรอื คอปกกลม แขนส้นั
(2) เคร่ืองหมาย ใช้อักษรย่อของสถานศึกษาปักที่ อกเสื้อ เบื้องขวา บนเนื้อผ้าด้วยด้ายหรือ
ไหม โดยสถานศึกษาของรฐั ใชส้ ีนา้ เงนิ สถาน ศกึ ษาขอเอกชนใชส้ ีแดง
(3) กระโปรง ผ้าสีดา สีน้าเงิน สีกรมท่าหรือ สีแดง แบบจีบรูดรอบตัว หรือยาวเพียงใต้เข่า
แบบจีบทบรอบเอว หรอื พบั เป็นจีบขา้ งละ สามจีบทัง้ ด้านหนา้ และดา้ นหลัง เมื่อสวมแลว้ ชายกระโปรงคลมุ เข่า
(4) รองเท้าหนงั หรอื ผ้าใบสีดา แบบห้มุ สน้ หมุ้ ปลายเท้า ชนิดผกู หรือมสี ายรัดหลังเท้า
(5) ถงุ เท้าส้ันสีขาว
ข้อ 7 เคร่ืองแบบนักเรียนระดับประถมศกึ ษา
นกั เรยี นชาย
(1) เสื้อ ผา้ สขี าว แบบคอเชิ้ต เชิตโปโล หรอื คอปกกลม แขนสน้ั
(2) เครื่องหมาย ใช้อักษรย่อของสถานศึกษาปักที่ อกเส้ือ เบื้องขวา บนเนื้อผ้าด้วยด้ายหรือ
ไหม โดยสถานศึกษาของรัฐใช้สีนา้ เงนิ สถาน ศกึ ษาของเอกชนใช้แดง
(3) กางเกง ผา้ สดี า สนี ้าเงิน สีกรมท่า หรอื สีกากี แบบสภุ าพขาสน้ั
(4) เข็มขัดหนัง สีดาหรือ สีน้าตาล หัวเข็มขัดเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าชนิดหัวกลัด นักเรียนที่
เป็นลกู เสือจะใชห้ วั เขม็ ขัดลกู เสอื แทนกไ็ ด้
(5) รองเทา้ หนังหรือผา้ ใบ สดี าหรือ สนี ้าตาลแบบหุ้มส้น ชนดิ ผูก
(6) ถุงเท้าส้ัน สีขาว หรอื สีน้าตาล
นกั เรยี นหญงิ
(1) เสื้อ ผ้าสีขาว แบบคอเชิ้ต คอบัว หรือคอปกกลาสี ผูกดว้ ยผ้าผูกคอ ชายสามเหล่ียมเง่ือน
กลาสี สดี าหรอื สีกรมท่า แขนสนั้
(2) เคร่ืองหมาย ใช้อักษรย่อของ ถานศึกษาปักท่ี อกเสื้อ เบ้ืองขวา บนเนื้อผ้าด้วยด้ายหรือ
ไหม โดยสถานศกึ ษาของรัฐใช้สีน้าเงิน สถานศึกษา ของเอกชนใชส้ ีแดง
(3) กระโปรง ผ้าสีดา สีน้าเงิน สีกรมท่าหรือสีแดง แบบจีบรูดรอบตัว หรือยาวเพียงใต้เข่า
แบบจีบทบรอบเอว หรือพับเป็น จีบขา้ งละสามจีบทง้ั ดา้ นหน้าและด้านหลงั เม่อื สวมแลว้ ชายกระโปรงคลมุ เขา่

(4) รองเทา้ หนังหรือผา้ ใบสีดา แบบหุ้มส้นหมุ้ ปลายเท้า ชนิดมีสายรัดหลังเท้า
(5) ถงุ เท้าสั้น สีขาว

คู่มอื นักเรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นมัธยมวัดดาวคนอง

ข้อ 8 เครื่องแบบนกั เรยี นระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
นกั เรยี นชาย
(1) เสือ้ ผ้าสีขาว แบบคอเช้ิต แขนสั้น
(2) เคร่ืองหมาย ใช้อักษรย่อของ ถานศึกษาปักที่ อกเส้ือ เบื้องขวา บนเน้ือผ้าด้วยด้ายหรือ

ไหม โดยสถานศกึ ษาของรัฐใช้สนี า้ เงนิ สถานศกึ ษาของเอกชนใชส้ แี ดง
(3) กางเกง ผ้าสดี า สีนา้ เงนิ สกี รมท่า หรอื สกี ากี แบบสภุ าพขาสั้น
(4) เข็มขัดหนัง สีดาหรือสีน้าตาล หัวเข็มขัดเป็นรูป ส่ีเหลี่ยมผืนผ้าชนิดหัวกลัด นักเรียนท่ี

เป็นลูกเสอื จะใช้หวั เข็มขดั ลูกเสือแทนกไ็ ด้
(5) รองเท้า หนังหรือผา้ ใบ สดี าหรอื สีน้าตาล แบบหมุ้ สน้ ชนิดผูก
(6) ถงุ เทา้ สัน้ สีขาวหรือ สีน้าตาล
นกั เรยี นหญงิ
(1) เสื้อ ผ้าสีขาว แบบคอปกกลาสีผูก ด้วยผ้าผูกคอ ชายสามเหล่ียมเงื่อนกลาสี สีดาหรือสี

กรมท่า แขนสน้ั
(2) เคร่ืองหมาย ใช้อักษรย่อของสถานศึกษาปักท่ี อกเสื้อเบื้องขวา บนเนื้อผ้าด้วยด้ายหรือ

ไหม โดยสถานศึกษาของรฐั ใชส้ นี ้าเงนิ สถานศกึ ษาของเอกชนใช้สแี ดง
(3) กระโปรง ผ้าสีดา สีกรมท่า แบบสุภาพ พับเป็น จีบข้างละสามจีบทั้งด้านหน้าและ

ดา้ นหลัง เมอื่ สวมแลว้ ชายกระโปรงคลุมเขา่
(4) รองเทา้ หนงั หรือผา้ ใบสดี า แบบหมุ้ ส้นหุม้ ปลายเทา้ มีสายรดั หลงั เท้า
(5) ถุงเทา้ ส้นั สขี าว

ข้อ 9 เครอื่ งแบบนกั เรียนระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ประเภท สามัญศกึ ษา
นกั เรยี นชาย
(1) เสอื้ ผ้าสีขาว แบบคอเช้ติ แขนส้นั
(2) เครื่องหมาย ใช้อักษรย่อของสถานศึกษาปักที่ อกเส้ือ เบ้ืองขวา บนเนื้อผ้าด้วยด้ายหรือ

ไหม โดยสถานศกึ ษาของรฐั ใช้สีนา้ เงนิ สถานศกึ ษาของเอกชนใช้สแี ดง
(3) กางเกง ผ้าสดี า สีนา้ เงนิ สกี รมท่า หรอื สกี ากี แบบสภุ าพขาส้ัน
(4) เข็มขดั หนัง สดี าหรอื สีนา้ ตาล หวั เขม็ ขดั เปน็ รูป สเ่ี หล่ียมผนื ผา้ ชนิดหวั กลัด
(5) รองเทา้ หนังหรอื ผ้าใบ สีดาหรอื สนี ้าตาลแบบหุ้มสน้ ชนดิ ผกู
(6) ถงุ เท้าส้ัน สขี าวหรือ สีนา้ ตาล
นกั เรยี นหญงิ
(1) เสอื้ ผา้ สีขาว แบบคอเชติ้ แขนสน้ั
(2) เคร่ืองหมาย ใช้อักษรย่อของสถานศึกษาปักที่ อกเส้ือ เบื้องขวา บนเนื้อผ้าด้วยด้ายหรือ

ไหม โดยสถานศกึ ษาของรฐั ใช้สนี า้ เงิน สถานศึกษาของเอกชนใชส้ แี ดง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวัดดาวคนอง

(3) กระโปรง ผ้าสีดา สีกรมท่า แบบสุภาพ พับเป็น จีบข้างละสามจีบท้ังด้านหน้าและ
ดา้ นหลัง เม่ือสวมแลว้ ชายกระโปรงคลมุ เขา่

(4) เข็มขัดหนังหรือผ้าสีดา หัวเข็มขัดเปน็ รูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้าชนิดหัวกลัด หุ้มดว้ ยหนังหรือผ้า
สเี ดยี วกับเข็มขดั

(5) รองเท้าหนงั หรอื ผ้าใบสีดา แบบหุม้ สน้ ห้มุ ปลายเท้า มสี ายรัดหลังเท้า
(6) ถงุ เทา้ สั้น สขี าว
ข้อ 10 เคร่ืองแบบนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภท อาชพี และระดับอุดมศึกษาระดับตา่
กว่าปรญิ ญา
(1) เส้อื ผา้ สขี าว แบบคอเช้ิตผูกเนคไท แขนสั้น หรือแขนยาว
(2) เครอื่ งหมาย ติดเข็มเคร่ืองหมายของสถานศกึ ษา ท่ีอกเสอื้ เบอ้ื งขวา
(3) กางเกง ผา้ สดี า สนี ้าเงนิ สีกรมท่า หรือ สกี ากีแบบสุภาพขาสั้น
(4) เข็มขดั หนังสดี า หัวเข็มขัดเป็นโลหะตราของ สถานศึกษา
(5) รองเท้า หนังหรอื ผ้าใบสดี า แบบหมุ้ ส้น ชนิดผูก
(6) ถุงเทา้ สั้น สดี า
นกั เรยี นหญงิ
(1) เสอ้ื ผ้าสีขาว แบบคอเชิต้ แขนสัน้ หรอื แขนยาว
(2) เครอื่ งหมาย ติดเขม็ เครอ่ื งหมายของสถานศกึ ษา ท่ีอกเส้อื เบื้องขวา
(3) กระโปรงผ้าสดี า สีกรมทา่ แบบสุภาพ เมอื่ สวมแลว้ ชายกระโปรงคลมุ เข่า
(4) เข็มขัดหนังสีดา หวั เข็มขดั เป็นโลหะตราของ สถานศกึ ษา
(5) รองเทา้ หนงั หรอื ผา้ ใบสดี า แบบหุ้มสันหุ้มปลายเทา้ มสี น้ สูงไม่เกิน 2 นว้ิ
ขอ้ 11 เครือ่ งแบบนักเรยี นสาหรับสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนา อสิ ลาม
(1) เสื้อ ผ้าสขี าว แบบคอเชต้ิ แขนสัน้ หรือแขนยาว
(2) เครื่องหมาย ใช้อักษรย่อของสถานศึกษาปักที่ อกเส้ือเบ้ืองขวา บนเน้ือผ้าด้วยด้ายหรือ
ไหมสแี ดง
(3) หมวก ใช้หมวกสีขาว (กะปิเยาะห์) หรอื หมวกสีดา (ซอเกาะห์) ในโอกาสอนั สมควร
(4) กางเกง ผา้ สีดา สีนา้ เงนิ สกี รมท่าแบบสภุ าพขายาว
(5) เข็มขัดหนงั สดี า หวั เข็มขดั เปน็ โลหะชนดิ หัวกลัด หรือหัวเข็มขัดเป็นตราของสถานศึกษา
(6) รองเท้า หนังหรือผา้ ใบสีดา แบบหุ้มสน้
(7) ถงุ เท้าส้ัน สดี า
นกั เรยี นหญงิ
(1) เสือ้ กรงสพี ื้น ไมม่ ีลวดลาย แบบคอกลมไม่มปี ก
(2) ผา้ คลมุ ศีรษะ ผา้ สพี ้ืนไม่มีลวดลาย ลกั ษณะเย็บ เป็นถงุ หรือตัดเยบ็ ในลกั ษณะอื่น ซงึ่ ตอ้ ง
คลมุ ศีรษะทง้ั หมด เว้นใบหนา้ ชายผ้า คลุมศรี ษะคลมุ ไหล่

คมู่ ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมัธยมวดั ดาวคนอง

(3) เคร่ืองหมาย ใช้อักษรย่อของ สถานศึกษาปักท่ีอกเส้ือ เบื้องขวา บนเน้ือผ้าด้วยด้ายหรือ
ไหมสีแดง

(4) กระโปรง หรือโสร่งกระโปรง ผ้าสีพื้นไม่มีลวดลาย แบบทรงปลายบาน ไม่มีจีบหรือมีจีบ
หรือเกล็ดความยาว เมื่อสวมแล้วชาย กระโปรงคลุมเข่าโสร่ง มีลักษณะเช่นเดียวกับผ้าถุงหรือผ้าโสร่งทั่วไป
เปน็ ผ้าสีพน้ื ไม่มี ลวดลาย ขนาดกวา้ งพอเหมาะไม่ผ่าข้างหรอื รัดรูป เมอ่ื สวมแลว้ ชายผา้ โสรง่ คลมุ ขอ้ เท้า

(5) รองเท้าหนังหรอื ผา้ ใบสขี าว แบบหุ้มสน้ หุ้มปลายเท้า
(6) ถงุ เทา้ สน้ั สีขาว
ข้อ 12 เครื่องแบบนักเรยี นซง่ึ นับถอื ศาสนาอิสลามในสถานศึกษา อน่ื นอกจากสถานศึกษาเอกชนสอน
ศาสนาอิสลาม
นกั เรยี นชาย
(1) เสอื้ ผ้าสีขาว แบบคอเช้ติ แขนส้นั
(2) เครื่องหมาย ใช้อักษรย่อ สัญลักษณ์หรือเข็มเคร่ืองหมาย ของสถานศึกษาตามที่
สถานศกึ ษากาหนด ปักหรือติดทีอ่ กเสือ้ เบอ้ื งขวา
(3) กางเกงใช้ผ้าสีเดียวกันกับผ้าของกางเกงนักเรียนทั่วไป ที่ใช้ในสถานศึกษาน้ัน ขายาว
ระดับตาต่มุ ปลายขาพบั เขา้ ด้านใน
(4) เข็มขัดหนัง สีดาหรือ สีน้าตาล หัวเข็มขัดเป็นรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าชนิดหัวกลัด นักเรียนที่
เป็นลกู เสอื จะใชห้ ัวเขม็ ขัดลกู เสือแทน ก็ได้ หรือหัวเข็มขดั เปน็ ตราของสถานศกึ ษา
(5) รองเทา้ หนังหรือผ้าใบสีดา แบบหุ้มส้นหุ้มปลายเทา้ ชนิดผูก
(6) ถงุ เท้า ส้ันสขี าว สนี า้ ตาล หรอื สีดา
นกั เรยี นหญงิ
(1) เส้ือ ผ้าสีขาวคอปกบัว ผ่าด้านหน้าตลอด แขนยาว ปลายแขนมีจีบรูดมีสาบกว้าง ไม่เกิน
5 ซ.ม. ตัวเสอ้ื ยาวคลุมสะโพก ไมร่ ัดรูป
(2) เคร่ืองหมาย ใช้อักษรย่อ สัญลักษณ์หรือเข็มเคร่ืองหมาย ของสถานศึกษาตามที่
สถานศกึ ษากาหนด ปักหรอื ติดที่อกเสื้อเบือ้ งขวา และ ท่ีผ้าคลมุ ศีรษะ
(3) ผ้าคลุมศีรษะ ผ้าสีพื้นไม่มีลวดลาย หรือสีเดียวกัน กับสีผ้าของกระโปรง ส่ีเหล่ียมจัตุรัส
ความยาวดา้ นละ 100-200 เซนตเิ มตร ขณะสวมใส่เย็บติดตลอดต้งั แตใ่ ตค้ างจนถึงปลายมมุ ผา้
(4) กระโปรง ใช้ผ้าสีเดียวกันกับผ้าของกระโปรงนักเรียน ท่ัวไปที่ใช้ในสถานศึกษาน้ัน แบบ
สภุ าพ พบั เปน็ จีบข้างละสามจบี ทั้งด้านหน้า และด้านหลงั เมอ่ื สวมแล้วชายกระโปรงคลมุ ข้อเท้า
(5) รองเท้าหนงั หรอื ผ้าใบสีดา มีสายรดั หลงั เท้าแบบหมุ้ ส้น ห้มุ ปลายเทา้ มสี ้นสูงไม่เกนิ 2 นวิ้
ไมม่ ลี วดลาย
(6) ถุงเท้า สั้นสีขาว ไม่มีลวดลาย ปลายหุ้มเท้าไม่พับ นักเรียนซ่ึงนับถือศาสนาอิสลามใน
สถานศึกษาอ่ืนนอกจากสถานศึกษา เอกชนสอนศาสนาอิสลาม อาจเลือกแต่งเคร่ืองแบบนักเรียนตามวรรค
หนึ่งหรอื ตามแบบท่ีสถานศึกษากาหนดไดต้ ามความสมัครใจ

ค่มู ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ข้อ 13 ให้สถานศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา เป็นผู้กาหนดรายละเอียด
เกย่ี วกบั การแต่งวิธกี าร และเง่อื นไขในการแตง่ เครอื่ งแบบ นักเรียน ดงั นี้

(1) ชนิดและแบบของเคร่ืองแบบ รวมทัง้ จดั ทารปู แบบ ตามระเบยี บนีไ้ วเ้ ปน็ ตัวอยา่ ง

(2) เครื่องหมายของสถานศึกษา การกาหนดรายละเอียดตามวรรคหนึ่ง ให้สถานศึกษาขอ
ความเห็นชอบ จากผบู้ งั คับบัญชาเหนอื ขึ้นไปอกี ชน้ั หนง่ึ หรือผูก้ ากับดแู ลสถาบนั น้นั แลว้ แต่ กรณี และประกาศ
ให้นกั เรยี นและผ้ปู กครองนกั เรียนรบั ทราบ

ข้อ 14 สถานศึกษาใดมีความประสงค์จะขอใช้เครอื่ งแบบเป็นอย่าง อ่นื นอกจากทก่ี าหนดในระเบยี บนี้
ให้ขออนญุ าตต่อผู้บังคับบญั ชาเหนอื ข้ึนไป อีกชัน้ หนงึ่ หรือผูก้ ากับดูแลสถาบันนน้ั แล้วแตก่ รณี

ข้อ 15 สถานศึกษาใดจะกาหนดให้นักเรียนแต่งเครื่องแบบลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด นักศึกษาวิชา
ทหารหรือแต่งชุดพ้ืนเมือง ชุดไทย ชุด ลาลอง ชุดฝึกงาน ชุดกีฬา ชุดนาฏศิลป์ หรือชุดอื่น ๆ แทนเคร่ืองแบบ
นกั เรยี น ตามระเบยี บนใ้ี นวนั ใด ใหเ้ ปน็ ไปตามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด โดยคานึงถงึ ความ ประหยัดและเหมาะสม

ข้อ 16 ในกรณีท่ีมีเหตุจาเป็นหรือมีเหตุพิเศษให้สถานศึกษาพิจารณา ผ่อนผันการแต่งเครื่องแบบ
นกั เรยี นไดต้ ามความเหมาะสม

ข้อ 17 นักเรียนซึ่งศึกษาในสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยให้แต่ง
กายสุภาพ

ข้อ 18 นักเรียนผู้ใดไม่แต่งเคร่ืองแบบนักเรียนโดยไม่ได้รับการ ยกเว้นตามระเบียบนี้ ให้สถานศึกษา
ลงโทษทางวนิ ัยตามระเบียบกระทรวง ศึกษาธกิ ารวา่ ดว้ ยการลงโทษนักเรียนและนักศกึ ษาตามความเหมาะสม

ข้อ 19 สถานศึกษาใดท่ีใช้เคร่ืองแบบนักเรียนอยู่แล้วตามระเบียบเดมิ หรือใชเ้ ครื่องแบบเป็นอย่างอ่ืน
โดยไดร้ ับอนญุ าตจากกระทรวงศึกษาธกิ ารกอ่ น วันท่ีระเบยี บน้ีใช้บงั คับให้คงใช้ไดต้ ่อไป

ข้อ 20 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจตีความและ
วนิ ิจฉยั ปัญหาเกย่ี วกบั การปฏิบตั ิตามระเบยี บน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี 22 ตุลาคม 2551
นายศรีเมือง เจรญิ ศริ ิ

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ

คมู่ ือนักเรยี นและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวัดดาวคนอง

ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ
วา่ ดว้ ย เคร่อื งแบบนักเรยี น (ฉบบั ท่ี 2)

พ.ศ. 2561

โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเครื่องแบบนักเรียน
พ.ศ. 2551 เก่ียวกับการแต่งเคร่ืองแบบนักเรียนของสถานศึกษาท่ีขอใช้พ้ืนที่วัดหรือท่ีธรณีสงฆ์ เป็นท่ีตั้งของ
สถานศกึ ษา เพื่อให้สอดคลอ้ งกับกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ และมติมหาเถรสมาคม ใหม้ คี วามเหมาะสมยิง่ ขนึ้

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 5 และมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติเครื่องแบบนักเรียน
พ.ศ. 2551 รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบยี บไว้ ดงั ต่อไปน้ี

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยเคร่ืองแบบนักเรียน (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2561

ข้อ 2 ระเบยี บนใ้ี ห้ใช้บังคบั ตั้งแต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในวรรคท้ายของข้อ 12 แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย เคร่ืองแบบ
นกั เรยี น พ.ศ. 2551 และให้ใช้ความตอ่ ไปน้ีแทน
“นักเรียนซึ่งนับถือศาสนาอิสลามในสถานศึกษาอ่ืนนอกจากสถานศึกษาเอกชนสอนศาสนาอิสลาม อาจเลือก
แต่งเครื่องแบบนักเรียนตามวรรคหน่ึงหรือตามแบบท่ีสถานศึกษากาหนดได้ตามความสมัครใจ ยกเว้น
สถานศึกษาท่ีขอใชพ้ ื้นที่วัดหรือที่ธรณีสงฆ์เป็นที่ตัง้ ของสถานศึกษา การแตง่ เครื่องแบบนักเรียน ให้เป็นไปตาม
สญั ญาหรอื ข้อตกลงระหว่างวดั กบั สถานศกึ ษา”

ประกาศ ณ วนั ท่ี 5 มิถนุ ายน พ.ศ. 2561
ธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป์

รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวดั ดาวคนอง

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
วา่ ด้วย การไว้ทรงผมของนกั เรียน

พ.ศ. 2563

โดยท่ีเป็นการสมควรกาหนดข้อปฏิบัติและข้อห้ามปฏิบัติในการไว้ทรงผมของนักเรียนเพื่อให้เกิด
ความชดั เจนในการดาเนินการของสถานศกึ ษา มีความเหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบันและการปฏบิ ัตติ น ของ
นกั เรยี นเปน็ ไปดว้ ยความถกู ตอ้ ง รวมท้ังเปน็ การคมุ้ ครองศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 12 แห่งพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2546 รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบยี บไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการไว้ทรงผมของนักเรียน
พ.ศ. 2523”

ขอ้ 2 ระเบยี บนีใ้ ห้ใช้บังคับตงั้ แต่วันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป
ขอ้ 3 ในระเบยี บนี้
“นกั เรยี น” หมายความว่า บคุ คลซ่งึ กาลังศกึ ษาอยใู่ นสถานศกึ ษา
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาในสังกัดหรือกากับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีจัด
การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เวน้ แตก่ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
“หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความว่า ผู้อานวยการ หรือหัวหน้าสถานศึกษาท่ีเรียกชื่ออย่างอื่น ที่มี
อานาจหนา้ ทหี่ รอื วัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา
ขอ้ 4 นกั เรยี นตอ้ งปฏบิ ตั ติ นเกย่ี วกบั การไวท้ รงผม ดงั น้ี
(1) นักเรียนชายจะไว้ผมส้ันหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวด้านข้าง ด้านหลังต้องยาว ไม่เลยตีนผม
ด้านหน้าและกลางศีรษะใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมและมีความเรยี บร้อย
(2) นักเรียนหญิงจะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวให้เป็นไปตามความเหมาะสม และรวบให้
เรียบร้อย
ข้อ 5 นกั เรยี นตอ้ งหา้ มปฏบิ ตั ติ น ดงั น้ี
(1) ดัดผม
(2) ยอ้ มสผี มให้ผดิ ไปจากเดิม
(3) ไวห้ นวดหรือเครา
(4) การกระทาอ่ืนใดซ่ึงไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่งทรงผม เป็นรูปทรง
สญั ลกั ษณ์หรอื เปน็ ลวดลาย
ขอ้ 6 ความในข้อ 4 และขอ้ 5 มิให้นามาใช้บงั คับแกน่ กั เรียนท่ีมเี หตผุ ลความจาเป็น ในการปฏิบัตติ าม
หลกั ศาสนาของตนหรอื การดาเนนิ กจิ กรรมของสถานศกึ ษา
ให้หวั หนา้ สถานศกึ ษาเป็นผมู้ อี านาจพจิ ารณาอนุญาต

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

ข้อ 7 ภายใต้บังคับข้อ 4 ให้สถานศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา หรือ
คณะกรรมการบริหารโรงเรียนวางระเบียบเกี่ยวกับการไว้ทรงผมของนักเรียนที่มีความเฉพาะเจาะจง ได้เท่าท่ี
ไมข่ ัดหรอื แยง้ กบั ระเบยี บนี้

การดาเนินการตามวรรคหน่ึงให้ยึดถือหลักความเหมาะสมในการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดี ของนักเรียน
และการมสี ่วนร่วมของนักเรยี น สถานศึกษา ผ้ปู กครอง และชมุ ชนทอ้ งถนิ่

ข้อ 8 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการรักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจ ตีความและ
วินิจฉัยปัญหาเกย่ี วกบั การปฏบิ ัตติ ามระเบยี บนี้

ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 10 มนี าคม พ.ศ. 2563
ณฏั ฐพล ทปี สวุ รรณ

รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ค่มู อื นักเรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ระเบียบโรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง
วา่ ดว้ ย เครือ่ งแต่งกายและทรงผมนักเรียน

พ.ศ. 2564

ข้อ 1. ทรงผมนักเรยี นชายระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
- รองทรงสูง
- ไมย่ อ้ มผม
- ห้ามตดั สกนิ เฮด ถา้ ตดั มาจะใหแ้ กไ้ ข โดยตดั ขาวด้านขา้ งสามด้าน (เกรียน)
- ถา้ โกนหวั ให้โกนคิ้วด้วย

ขอ้ 2. ทรงผมนกั เรียนหญิงระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผมยาว
- ไวผ้ มยาวไมเ่ กินรกั แร้ หา้ มไวห้ น้าม้ารวบผมตงึ เรียบรอ้ ย
- ไม่ยอ้ มผมไมซ่ อย (ถ้าย้อมผมมาต้องย้อมกลับหรือซอยผมมาต้องใส่วกิ ผม)
ผมส้ัน
- ตัดสน้ั ไม่เกินต่ิงหู หา้ มไว้หนา้ ม้าไมย่ อ้ มผมไม่ซอยผม

ข้อ 3. ผูกโบวส์ ีกรมเทา่ นน้ั
ขอ้ 4. กระเปา๋ ถอื

- ให้ใช้กระเป๋าเปข้ องโรงเรียนหรือกระเป๋านกั เรยี นหนงั สดี า (ห้ามใช้กระเป๋าแฟช่ัน)
- กระเป๋าเคียง (ของโรงเรยี น) ใชร้ ่วมกบั กระเป๋าเปข้ องโรงเรยี นหรือกระเปา๋ นักเรยี นหนงั สีดา
ขอ้ 5. หา้ มใช้เคร่ืองประดบั ทุกชนิดยกเว้นานกิ าข้อมือ
ขอ้ 6. หา้ มแตง่ หนา้

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวัดดาวคนอง

ระเบยี บโรงเรยี นมัธยมวดั ดาวคนอง
ว่าดว้ ย คะแนนความประพฤติของนักเรียน พ.ศ. 2564

***********

เพ่ือให้การควบคุมดูแลความประพฤติของนักเรียน ให้เป็นไปอย่างได้ผล มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
ตลอดจนสามารถทาให้นักเรียนแข่งขันกันในด้าน การทาความดี อันก่อให้เกิดการส่งเสริมช่ือเสียงและเกียรติ
ศักดแิ์ หง่ โรงเรียน ให้ดขี ึน้

โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง จึงได้วางระเบียบว่าด้วย “คะแนนความ ประพฤตินักเรียน พ.ศ.2563”
ดังนี้

ข้อ 1 ระเบยี บน้ีเรยี กว่า “ระเบยี บว่าด้วยคะแนนความประพฤติ นกั เรยี น พ.ศ.2563”
ข้อ 2 กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั อ่ืนใดท่ขี ดั แยง้ กบั ระเบยี บน้ี ใหถ้ อื วา่ ระเบยี บน้ีถกู ตอ้ งและให้ใชร้ ะเบียบน้ี
แทน

หมวดท่ี 1
คะแนนนักเรยี น

ข้อ 3 ในแต่ละปีการศกึ ษา นักเรียนแต่ละคนจะมีคะแนนความประพฤติ คนละ 100 คะแนน และเมือ่
สิ้นปีการศึกษาให้ยกเลิกคะแนนที่สะสมไว้ ยกเว้น บางคนที่โรงเรียนต้องควบคุม กากับดูแลเพิ่มเติม เพื่อ
ยกระดบั พฤตกิ รรมให้มี ครบถ้วนเหมาสมกบั สภาพนกั เรยี น

ข้อ 4 นักเรียนคนใดถูกตดั คะแนนความประพฤติตั้งแต่ 20 คะแนน ข้ึนไป ทางโรงเรียนจะดาเนินการ
ดังนี้

4.1 ตัดคะแนนความประพฤติต้ังแต่ 20-30 คะแนน ดาเนินการว่ากล่าวตักเตือน บันทึก
พฤตกิ รรมและแจง้ ใหผ้ ู้ปกครองรับทราบ

4.2 ตัดคะแนนความประพฤติต้ังแต่ 31-40 คะแนน ดาเนินการว่ากล่าวตักเตือนบันทึก
พฤติกรรม และเชิญผ้ปู กครองรบั ทราบ เพอื่ ชว่ ยเหลือในการแก้ไขปญั หา

4.3 ตัดคะแนนความประพฤติต้ังแต่ 41-50 คะแนน คาเนินการว่ากล่าวตักเตือนบันทึก
พฤตกิ รรม เชญิ ผปู้ กครองรับทราบ และ ทาทัณฑบ์ น

4.4 ตัดคะแนนความประพฤติตั้งแต่ 51-60 คะแนน ดาเนินการว่ากล่าวตักเตือนบันทึก
พฤติกรรม เชิญผู้ปกครองรบั ทราบ และ ทาทัณฑ์บน และทากจิ กรรม

4.5 ตัดคะแนนต้ังแต่ 60 คะแนนขึ้นไป โรงเรียนจะจัดส่ง นักเรียนไปเข้าค่ายกิจกรรม เพื่อ
ชดเชยการกระทาความผดิ ณ สถานที่ท่ีทาง โรงเรยี นกาหนดหรือกระทากจิ กรรมตามทีท่ างโรงเรยี นกาหนด

4.6 นักเรียนที่ถูกตัดคะแนนต้ังแต่ 25 คะแนนขึ้นไป โรงเรียนจะงดการพิจารณารางวัล
“นกั เรยี นดีศรดี าวคนอง” ประจาปีน้ัน

4.7 นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น ท่ถี ูก ตัดคะแนน ความประพฤตติ ้ังแต่ 70 คะแนนข้ึนไป
จะถูกตดั สิทธิก์ ารเข้าศกึ ษาตอ่ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ทโี่ รงเรียนมธั ยมวัดดาวคนอง

ค่มู อื นกั เรยี นและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

หมวดที่ 2
อานาจในการตัดคะแนน

ขอ้ ที่ 5 ครโู รงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง มอี านาจในการตัดคะแนน ความประพฤตินักเรียน ดงั น้ี
5.1 ผู้อานวยการโรงเรียนมีอานาจในการตัดคะแนน ความประพฤตินักเรียนได้ตามความ

เหมาะสม ทัง้ น้ีไม่เกินครัง้ ละ 100 คะแนน
5.2 รองผู้อานวยการโรงเรียนทุกกลุ่มบริหาร มีอานาจ ในการตัดคะแนนความประพฤติ

นกั เรยี นไดต้ ามความเหมาะสม ทัง้ นไ้ี มเ่ กนิ ครง้ั ละ 60 คะแนน
5.3 ผู้ชว่ ยรองผู้อานวยการโรงเรียนทุกกลุ่มบริหารมีอานาจ ในการตดั คะแนนความประพฤติ

นกั เรยี นไดต้ ามความเหมาะสม ทัง้ นไ้ี มเ่ กนิ ครง้ั ละ 50 คะแนน
5.4 หัวหน้าระดับหัวหน้ากลุ่มสาระการศึกษา หัวหน้างาน มีอานาจในการตัดคะแนนความ

ประพฤตินักเรียนได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ไมเ่ กินคร้งั ละ 40 คะแนน
5.5 ครูท่ีปรึกษาครูประจาวิชา ครูที่พบเห็นการกระทาผิด และบุคลากรในโรงเรียนมีอานาจ

ในการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน ไดต้ ามความเหมาะสม ทง้ั น้ีไม่เกนิ คร้ังละ 30 คะแนน

หมวดที่ 3
ประเภทความผิดและการตดั คะแนนความประพฤติ

ข้อที่ 6 ให้จาแนกความผิดเป็น 4 ประเภท ตามความหนักเบา ของการกระทาความผิดและให้
พจิ ารณา “เจตนา” ในการกระทาความผิด

6.1 ความผิดสถานเบา ตดั คะแนนไม่เกนิ คร้ังละ 5 คะแนน
6.1.1 มาโรงเรยี นสาย (มาโรงเรียนสายตงั้ แต่เวลา 08.20 น.เป็นตน้ ไป)
6.1.2 สง่ เสยี งอึกทกึ ในห้องเรียน
6.1.3 ไมร่ ักษาเวลาในการเรียน
6.1.4 ไม่รกั ษาความสะอาดในห้องเรยี นหรอื บริเวณ ทก่ี ระทากิจกรรม
6.1.5 กล่าวคาหยาบ
6.1.6 นาอาหาร - เครอ่ื งดืม่ ขน้ึ บนอาคารเรียน
6.1.7 ใสร่ องเทา้ ขนึ้ บนอาคารเรยี น
6.1.8 ไม่ปกั อกั ษรย่อของโรงเรยี น ชอื่ - สกุลและ เครื่องหมาย
6.1.9 แตง่ กายผิดระเบยี บ เช่น ทรงผม เส้อื กระโปรง ฯลฯ
6.1.10 นกั เรียนแตง่ กายไม่เรียบร้อย
6.1.11 รองเท้า ถงุ เท้าผดิ ระเบียบ
6.1.12 นักเรยี นสวมรองเท้าเหยียบสน้
6.1.13 ไมร่ กั ษาความสะอาดของเคร่ืองแตง่ กาย

ค่มู ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวดั ดาวคนอง

6.1.14 นักเรียนกระทาความผิดสถานเบา แต่กระทา ผิดบ่อยคร้ังโรงเรียนจะ
พิจารณาโทษเพิ่มเป็นทวีคูณ โดยเชิญผู้ปกครองมารับ ทราบแก้ไข ถ้ายังไม่แก้ไขโรงเรียนจะใช้สิทธิดาเนินการ
สถานหนกั ต่อไป

6.2 ความผิดสถานกลาง ตดั คะแนนไม่เกินคร้งั ละ 10 คะแนน
6.2.1 ขาคเรยี นโดยไม่แจง้ เหตผุ ลตดิ ต่อกันเกิน 3 วัน
6.2.2 แสดงกริ ิยา วาจา ขาดความเคารพครูหรอื บคุ คลทว่ั ไป
6.2.3 หนชี ัว่ โมงเรียน
6.2.4 ออกนอกบรเิ วณโรงเรียนโดยไม่ได้รบั อนญุ าต
6.2.5 ปนี รวั้ โรงเรยี นเข้า - ออก
6.2.6 นาจักรยานยนต์มาโรงเรยี นโดยไม่ได้รบั อนุญาต
6.2.7 มาโรงเรยี นสายต่อเนื่อง
6.2.8 แสดงกิรยิ า วาจา ไม่สุภาพต่อนกั เรยี นด้วยกัน
6.2.9 หลกี เลี่ยงการเขา้ แถวเคารพธงชาติ
6.2.10 ใชเ้ ครื่องมือสือ่ สารโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต
6.2.11 กอ่ การทะเลาะวิวาทกับเพอื่ รว่ มโรงเรียนเดียวกนั
6.2.12 มาไมถ่ งึ โรงเรยี น

6.3 ความผดิ สถานหนกั ตดั คะแนนไมเ่ กินครัง้ ละ 20 คะแนน
6.3.1 แสดงกิริยา วาจาไมส่ ภุ าพหรอื แสดงอาการกระดา้ งกระเดอ่ื งต่อครู
6.3.2 เป็นผู้ยุยงให้เกดิ การแตกความสามัคคีในหมูค่ ณะหรือตอ่ ตา้ นระเบยี บโรงเรยี น
6.3.3 ทาลายทรัพย์สนิ ของทางราชการหรือของผู้อ่ืนโดยเจตนา
6.3.4 เล่นการพนันหรอื มอี ุปกรณ์การพนนั ไวใ้ นครอบครอง
6.3.5 พดู จาหรือขกู่ รรโชกโดยหวงั เอาทรัพย์จากผอู้ ื่น
6.3.6 ลกั ขโมยส่งิ ของนักเรียน
6.3.7 เทย่ี วกลางคนื หรือไปในสถานท่ที ี่ไม่เหมาะสมกบั สภาพการเป็นนกั เรยี น
6.3.8 กอ่ เหตทุ ะเลาะววิ าทกบั นกั เรยี นดว้ ยกันภายนอกโรงเรยี นหรือกับนกั เรียนสถาบันอ่ืน

6.4 ความผดิ สถานรา้ ยแรง ตดั คะแนนไม่เกินครง้ั ละ 30 คะแนน
6.4.1 ก่อเหตุทะเลาะวิวาทกับนักเรียนด้วยกันภายนอกโรงเรียนหรือกับนักเรียนสถาบันอื่น

โดยมีอาวุธ
6.4.2 พกพาอาวธุ เข้ามาภายในโรงเรียน
6.4.3 พฤตกิ รรมชูส้ าว พฤติกรรมประเวณี หรอื พฤตกิ รรมชู้สาวท่ีมีหลกั ฐานและพยานชัดเจน
6.4.4 ขัดขวางการปฏบิ ัตหิ น้าทข่ี องครู
6.4.5 ประทุษร้ายเพอ่ื นนกั เรยี นหรอื ครูในโรงเรียน
6.4.6 กอ่ ความไม่สงบทาใหเ้ กดิ ความสับสนวุ่นวาย
ภายในโรงเรยี น

คมู่ อื นักเรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

6.4.7 ทาลายทรัพยส์ มบัตขิ องโรงเรยี น
6.4.8 ลกั ขโมยทรัพยส์ มบตั ขิ องโรงเรยี น
6.4.9 สูบบุหร่ี ด่ืมสุราของมึนเมา หรือเสพยาเสพติดร้ายแรงผิดกฎหมายหรือมีไว้ใน
ครอบครอง
6.4.10 ปล้น จ้ี ชงิ ทรัพย์สนิ หรอื ประทษุ รา้ ยผูอ้ ่ืนเพอื่ ประสงคท์ รัพย์สิน
6.4.11 ขาดเรียนติดตอ่ เกิน 15 วนั โดยไม่ได้แจง้ ให้ทราบ
6.4.12 ชกั นาบคุ คลภายนอกเขา้ มาทะเลาะวิวาทภายในโรงเรียน
6.4.13 ทาร้ายบดิ า มารดา ผปู้ กครอง หรือครูให้ได้รับอันตราย
6.4.14 กระทาความผิดทางกฎหมายท้ังทางแพ่งและอาญา หรือถูกเจ้าหน้าที่ตารวจ
ดาเนินคดี ตามกฎหมายเว้นแต่ความผิดนั้นเป็นความผิด ลหุโทษ หรือกระทาโดยประมาท ท้ังนี้ให้พิจารณา
ผลเสียแห่งกรณี
6.4.15 ลกั ษณะความผิดอื่นทีโ่ รงเรยี นเหน็ สมควรพจิ ารณาโทษตามกรณคี วามผิด

หมวดที่ 4
การเพ่ิมคะแนนความประพฤตินักเรียน

ข้อท่ี 7 การเพมิ่ คะแนนความประพฤตินักเรยี นทีก่ ระทาความดี พิจารณาตามกรณี ดงั นี้
7.1 เพ่ิมครั้งละ 5 คะแนน
7.1.1 เก็บเงนิ หรอื สิง่ ของที่มรี าคาไม่เกิน 50 บาท เพอื่ นาส่งเพอื่ ประกาศหาเจ้าของ
7.1.2 บาเพญ็ ประโยชน์เพื่อชว่ ยเหลือผู้อ่ืน
7.2 เพ่มิ คร้ังละ 10 คะแนน
7.2.1 เก็บเงินหรือส่งิ ของที่มรี าคา 51 บาท ขน้ึ ไป เพอ่ื นาสง่ เพ่ือประกาศหาเจา้ ของ
7.2.2 ช่วยเหลอื กจิ กรรมหรอื แจง้ เบาะแสให้ครทู ราบ

แหลง่ อบายมขุ หรอื เหตกุ ารณท์ ี่ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อโรงเรียน หรือบอกชอ่ื -สกุลของผูก้ ระทาความผิดได้
7.3 เพม่ิ คร้งั ละ 20 คะแนน นาช่ือเสยี งและเกยี รติยศมาสูโ่ รงเรียน

ข้อที่ 8 ในกรณีท่ีนักเรียนประพฤติผิดจะต้องถูกลงโทษตัดคะแนน ความประพฤติเกินอานาจผู้ตัด
คะแนน ใหบ้ ันทึกรายงานเสนอตอ่ ผู้ที่สูงกว่า นาเข้าคณะกรรมการพจิ ารณาเปน็ ผู้ตัดคะแนนตามแบบรายงาน

ขอ้ ท่ี 9 ในกรณีที่นกั เรียนกระทาความดี ใหฝ้ า่ ยทะเบียนประวัติ บันทึกรายงานคะแนนไว้เปน็ หลักฐาน
และลงบันทกึ ในสมดุ บันทึกประจาตัว นกั เรียน

ข้อท่ี 10 ใหฝ้ า่ ยทะเบยี นประวัติเป็นผรู้ วบรวมขอ้ มลู บนั ทกึ รายงาน ขอตัดคะแนนไว้เปน็ หลักฐานและ
ลงบนั ทกึ ในสมุดประจาตวั นกั เรยี น

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นมัธยมวัดดาวคนอง

ข้อท่ี 11 ให้ฝ่ายทะเบียนประวัติทาแบบสรุปรายงานการตัดคะแนน ความประพฤตินักเรียนและเพ่ิม

คะแนนความประพฤตินกั เรยี นเป็นรายเดอื น เสนอตอ่ หวั หนา้ ระดับ เพอ่ื เสนอต่อรองผูอ้ านวยการโรงเรียนกลุ่ม

บริหารงาน บคุ คล และผู้อานวยการโรงเรยี นเพือ่ ดาเนนิ การต่อไป

ขอ้ ที่ 12 เมือ่ สิน้ ภาคเรยี นที่ 2 ของแตล่ ะปีการศึกษา ให้ฝา่ ยทะเบยี น ประวัตสิ รุปรายงานการผ่านชว่ ง

ช้ันของนักเรียนช่วงช้ันที่ 3 และช่วงชั้นท่ี 4 แจ้งปิดประกาศให้นักเรียนทราบ นักเรียนที่ไม่ผ่านให้แสดงของ

ความจานง ขอแก้ไขกบั กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล ตามเง่อื นไข วัน และเวลาที่กาหนด

ข้อที่ 13 การผา่ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรยี นจะต้องมคี ะแนน สะสม ดังน้ี

0 – 59 คะแนน ระดับ ไม่ผา่ น

60 – 70 คะแนน ระดบั ผา่ น

71 – 80 คะแนน ระดบั ดี

81 – 100 คะแนน ระดบั ดีเยยี่ ม

ข้อที่ 14 โรงเรียนมอบหมายอานาจการดาเนินการพัฒนาพฤตกิ รรม นักเรียนและการลงโทษนักเรียน
ให้กลุ่มบริหารงานบุคคล และครูทุกท่านดาเนินการ ตามความเหมาะสมแก่กรณีความผิด ทั้งน้ีโดยยึดระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2548 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2561 ในการดาเนนิ การอย่างเคร่งครัด

ท้งั น้ี ต้งั แต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2564

(นางสาวฐาปณี พวงงาม)
ผู้อานวยการโรงเรียนมธั ยมวัดดาวคนอง



ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวัดดาวคนอง

ตามที่ได้รับการอนุมัติ จากสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

นักเรียนระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1,4 (รอบโควตา)

รายการ จานวนเงนิ จานวนเงิน
หลังปรบั ลด

1. โครงการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของนักเรียน

1.1 คา่ คมู่ อื นักเรยี น 50 ยกเวน้

1.2 คา่ ระบบสแกนหน้า (Smart School) 200 ยกเว้น

1.3 ค่าปฐมนิเทศนักเรยี น 150 ยกเวน้

1.4 ค่าวารสารโรงเรยี น 50 ยกเว้น

1.5 คา่ จ้างครูชาวตา่ งประเทศ 500 500

1.6 คา่ ตอบแทนวทิ ยากรภายนอก 500 150

1.7 คา่ สอนคอมพวิ เตอร์ 200 ยกเวน้

1.8 ค่าประกนั ชีวติ นักเรยี น/คา่ ประกนั อุบตั เิ หตุ 200 200

1.9 ค่าจา้ งบคุ ลากรทปี่ ฏบิ ตั ิงานในสถานศกึ ษา 500 500

1.10 ค่าตรวจสขุ ภาพนกั เรยี นเปน็ กรณีพเิ ศษนอกเหนือจากการ 100 100

ใหบ้ รกิ ารสาธารณสุขของรัฐ

รวมเงินสนบั สนนุ 2,450 1,450

คมู่ อื นกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวัดดาวคนอง

รายการเงนิ สนับสนนุ ของสมาคมผูป้ กครองและครูโรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

รายการ จานวนเงิน จานวนเงนิ
หลงั ปรับลด

1. ค่าสนับสนุนกจิ กรรมของนักเรยี นและโรงเรียน 200 200

2. คา่ จา้ งพนกั งานทาความสะอาด 200 200

3. คา่ เสื้อกีฬาสี 200 ยกเว้น

รวม 600 400

รวมทงั้ สิ้น 1,850 บาท (หนึ่งพนั แปดร้อยหา้ สบิ บาทถ้วน)

ค่มู อื นักเรยี นและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

รายการระดมทรพั ยากรเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ตามที่ได้รับการอนุมัติ จากสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

นักเรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1,4 (รอบปกติ)

รายการ จานวนเงนิ จานวนเงนิ
หลังปรบั ลด

1. โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนกั เรียน

1.1 ค่าคมู่ ือนักเรยี น 50 ยกเวน้

1.2 คา่ ระบบสแกนหน้า (Smart School) 200 ยกเวน้

1.3 ค่าปฐมนิเทศนักเรยี น 150 ยกเวน้

1.4 ค่าวารสารโรงเรยี น 50 ยกเวน้

1.5 ค่าจ้างครชู าวตา่ งประเทศ 500 500

1.6 ค่าตอบแทนวทิ ยากรภายนอก 500 500

1.7 ค่าสอนคอมพวิ เตอร์ 200 200

1.8 ค่าประกันชวี ติ นักเรยี น/คา่ ประกันอุบัตเิ หตุ 200 200

1.9 คา่ จา้ งบุคลากรที่ปฏบิ ัติงานในสถานศกึ ษา 500 500

1.10 ค่าตรวจสุขภาพนกั เรยี นเปน็ กรณพี ิเศษนอกเหนอื จากการ 100 100

ให้บรกิ ารสาธารณสุขของรัฐ

รวมเงินสนับสนนุ 2,450 2,000

คมู่ อื นักเรยี นและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

รายการเงนิ สนับสนนุ ของสมาคมผ้ปู กครองและครูโรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

รายการ จานวนเงิน จานวนเงิน
หลงั ปรบั ลด

1. ค่าสนบั สนนุ กิจกรรมของนักเรียนและโรงเรยี น 200 200

2. คา่ จ้างพนกั งานทาความสะอาด 200 200

3. ค่าเสอ้ื กฬี าสี 200 ยกเวน้

รวม 600 400

รวมท้งั ส้ิน 2,000 บาท (สองพันบาทถว้ น)

ค่มู อื นักเรยี นและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวัดดาวคนอง

รายการระดมทรพั ยากรเพ่ือพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

ตามที่ได้รับการอนุมัติ จากสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1

ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

นักเรยี นระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2,3,5,6

รายการ จานวนเงนิ จานวนเงนิ
หลงั ปรับลด

1. โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรยี น

1.1 ค่าระบบสแกนหนา้ (Smart School) 200 ยกเว้น

1.2 ค่าวารสารโรงเรยี น 50 ยกเวน้

1.3 ค่าจ้างครูชาวตา่ งประเทศ 500 500

1.4 คา่ ตอบแทนวิทยากรภายนอก 500 500

1.5 ค่าสอนคอมพิวเตอร์ 200 100

1.6 คา่ ประกันชีวติ นกั เรยี น/คา่ ประกันอุบัตเิ หตุ 200 200

1.7 คา่ จ้างบคุ ลากรทีป่ ฏบิ ตั งิ านในสถานศึกษา 500 500

1.8 ค่าตรวจสขุ ภาพนักเรยี นเปน็ กรณีพเิ ศษนอกเหนอื จากการ 100 100

ใหบ้ ริการสาธารณสขุ ของรัฐ

รวมเงนิ สนบั สนนุ 2,250 1,900

คมู่ ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

รายการเงนิ สนบั สนุนของสมาคมผูป้ กครองและครูโรงเรยี นมธั ยมวดั ดาวคนอง

รายการ จานวนเงิน จานวนเงิน
หลงั ปรับลด

1. คา่ สนบั สนนุ กจิ กรรมของนักเรียนและโรงเรยี น 200 200

2. ค่าจ้างพนกั งานทาความสะอาด 200 200

3. คา่ เสอื้ กฬี าสี 200 ยกเวน้

รวม 600 400

รวมทัง้ ส้ิน 2,300 บาท (สองพนั สามร้อยบาทถ้วน)

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรียนมัธยมวัดดาวคนอง



คมู่ ือนกั เรยี นและผู้ปกครอง ปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวัดดาวคนอง

แผนภูมกิ ารบรหิ ารงานกล่มุ บริหารทั่วไป

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

ระเบยี บการใชห้ อ้ งพยาบาล

1. หอ้ งพยาบาลเปดิ ให้บริการ เวลา 07.00 – 16.30 น.
2. เม่ือนักเรียนมีอาการป่วยขณะที่กาลังเรียนหรือเข้าแถว ให้ขออนุญาตครูผ้สู อนหรอื ครทู ี่ปรกึ ษณาไปท่หี ้อง

พยาบาล
3. นกั เรยี นตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามขน้ั ตอนการรบั บรกิ ารดงั น้ี

- บอกอาการป่วยอย่างละเอียด อย่าวินิจฉัยโรคเอง เพราะอาจก่อใหฟ้เกิดผลเสียต่อการให้การดูแล
รักษา

- แจ้งอาการแพ้ยา ช่ือยาทแี่ พ้ และโรคประจาตัวทุกครง้ั (ถา้ มี)
- รับยาหรือการปฐมพยาบาลอ่ืนๆ ห้ามนักเรียนหยิบยารับประทานเอง หรือใช้อุปกรณ์พยาบาลโดย

ไมไ่ ด้รับอนุญาต
- ลงชอ่ื ในสมดุ บันทึกอาการ
- ครูพยาบาลจะพจิ ารณาวา่ ควรใหน้ กั เรียนกลับไปเรียนได้ หรอื ใหน้ อนพักดอู าการ
- ไมอ่ นุญาตให้นกั เรียนมารบั ยาแทนเพ่อื น
4. ถา้ นกั เรยี นไดร้ ับอนุญาตใหน้ อนพกั ดอู าการ ต้องปฏิบัติ ดงั น้ี
- ลงชื่อในสมุดนอนพกั
- นาใบอนุญาตนอนพักจากครูพยาบาลไปให้คุณครูผู้ที่สอนคาบนั้นลงนามรับทราบ แล้วนาส่งคืนท่ีครู

พยาบาล
- อนญุ าตให้นอนพกั ดูอาการไดไ้ มเ่ กิน 3 คาบเรียน ถา้ อาการไม่ดขี น้ึ ครพู ยาบาลจะตดิ ตอ่ ผู้ปกครองหรอื

รถพยาบาล เพือ่ รับการรักษาตอ่
5. การพิจารณาให้นักเรียนเจ็บป่วยไปพักท่ีบ้านหรือไปรักษาต่อท่ีโรงพยาบาล จะอยู่ในดุลยพินิจของครู

พยาบาล ห้ามนกั เรียนโทรศพั ท์ตามผู้ปกครองมารบั เอง
6. เม่ืออาการดขี ึ้นแลว้ นกั เรยี นต้องเก็บทน่ี อนให้เรยี บร้อยแลว้ แจ้งครพู ยาบาลให้ทราบ
7. ถา้ นกั เรียนเปน็ โรคติดตอ่ เช่น หดั ไข้สกุ ใส ตาแดง จะให้กลบั ไปพักทีบ่ ้าน
8. การมาทาแผล

- แผลเก่า ใหท้ าในคาบพกั กลางวนั เท่านน้ั
- แผลใหม่ ทาแผลได้ตลอดเวลาที่เปิดบรกิ าร

คู่มือนักเรยี นและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นมธั ยมวัดดาวคนอง

ระเบียบการใช้หอ้ งสมดุ โรงเรียนมธั ยมวัดดาวคนอง

เวลาเปิดทาการ

วนั จนั ทร์ – วนั ศุกร์ ตงั้ แต่ เวลา 07.00 – 16.30 น.

เวลาเปิดการลริการหอ้ งสมุด (ในการยมื - คืนหนงั สือ)

ชว่ งเชา้ 07.10 – 08.10 น. (ยมื – คนื หนงั สอื )

ช่วงกลางวนั 11.00 – 12.30 น. (ยมื – คืน หนงั สือ)

ชว่ งเย็น 15.30 – 16.30 น. (ยืม – คนื หนงั สอื )

ระเบียบการ ยมื - คืน หนังสอื

อนุญาตให้นักเรยี นยืมได้เฉพาะหนงั สืออา่ นทวั่ ไป หนงั สอื เดก็ และเยาวชน หนังสือแบบเรียน นอกน้นั ให้
นกั เรยี นอา่ นในหอ้ งสมดุ

นกั เรยี น ยมื ไดค้ นละ 3 เล่ม นาน 7 วัน
ครู ยืมได้คนละ 5 เลม่ นาน 7 วัน

ระเบียบการส่งคนื หนงั สอื

สง่ หนงั สือคืนตามกาหนด ถา้ หนังสอื เกนิ กาหนดนกั เรียนจะตอ้ งเสียค่าปรบั ไมน่ บั รวม เสาร์ - อาทิตย์
กรณหี นงั สอื หายหรอื ชารดุ จะตอ้ งถกู ปรบั เปน็ 2 เท่าของราคาหนังสือและตดั สิทธ์ิไม่ให้ยมื หนงั สอื 1
สปั ดาห์

ข้อปฏบิ ตั ใิ นการเขา้ ใชห้ ้องสมุด

1. แต่งกายสุภาพเรียบรอ้ ย
2. ถอดรองเท้าใหเ้ ปน็ ระเบียบเรยี บร้อย ตามที่ทจี่ ดั เตรยี มไว้ให้
3. วางกระเปา๋ และสง่ิ ของวบ้ นช้ันฝากของ กอ่ นเขา้ หอ้ งสมุด
4. อนุญาตใหน้ าเคร่อื งเขยี น และกระดาษสาหรับจดเขา้ หอ้ งสมดุ ได้สง่ิ ของอน่ื นอกจากน้ี เช่นหนังสอื สมุด

กระเป๋า หา้ มนาเขา้ เดด็ ขาด
5. ห้ามสง่ เสียงดงั ในห้องสมดุ
6. ไม่นาขนม อาหาร และเครื่องดื่ม เขา้ มารบั ประทานในห้องสมุด
7. ไม่ฉีก หรือเขยี น และนาหนังสอื ออกจากห้องสมุด
8. มีปัญหาในการค้นคว้าและใชบ้ ริหารหอ้ งสมดุ กรุณาตดิ ตค่ รูประจาห้องสมุด

ค่มู ือนกั เรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

การประกนั ภยั อบุ ัติเหตสุ าหรับนกั เรียน โรงเรียนมธั ยมวดั ดาวคนอง

ผู้ถือกรมธรรม์ โรงเรยี นมัธยมวัดดาวคนอง

ผูเ้ อาประกันภัย นกั เรยี นและบคุ ลากร

ระยะเวลาเอาประกนั ภยั 1 ปี (ตัง้ แต่วันที่ 15 มถิ ุนายน 2564 ถงึ วันที่ 15 มิถุนายน 2565)

การค้มุ ครอง ให้ความคุ้มครองตลอด 24 ชว่ั โมง สาหรบั ความสูญเสยี หรอื เสยี หายอนั เกิดจาก

ความบาดเจ็บซ่ึงเกดิ จากปัจจัยภายนอกรา่ งกายของผู้เอาประกนั โดยอุบตั เิ หตุ และทาให้

เกดิ ผลดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ ตกลงคมุ้ ครอง (อบ.1) จานวนเอาประกนั ภยั (บาท)

เสียชีวิตจากอบุ ตั เิ หตุ 50,000

ทุพพลภาพถาวรส้ินเชิง 50,000

สญู เสียมอื 1 ขา้ ง หรือเทา้ 1 ขา้ ง หรือสายตา 1 ขา้ ง (ตัง้ แต่ 2 ชนิ้ ขึน้ ไป) 50,000

สูญเสียมือ 1 ขา้ ง หรือเท้า 1 ขา้ ง หรือสายตา 1 ขา้ ง 30,000

การขบั ขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ 50,000

การถูกฆาตกรรมหรือถูกทารา้ ยรา่ งกาย 50,000

ค่ารักษาพยาบาลต่ออุบัตเิ หตุแต่ละคร้ัง 5,000

ทัง้ นี้ เง่อื นไขและข้อยกเว้นอ่นื ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตามกรมธรรม์มาตรฐานการประกันภยั อบุ ัตเิ หตสุ าหรับนกั เรยี น

หมายเหตุ

1. เข้ารบั การรกั ษาไดท้ ั้ง โรงพยาบาลของรฐั และเอกชน

2. การเข้ารับการรกั ษาท่ีโรงพยาบาลของรฐั นกั เรยี นตอ้ งสารองจา่ ยไปกอ่ น แลว้ จงึ นาใบเสร็จรบั เงินและ

ใบรับรองแพทยม์ าดาเนนิ การเบิกท่งี านอนามัย

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนมธั ยมวัดดาวคนอง

คณะจดั ทาคมู่ ือนกั เรยี น ประจาปีการศกึ ษา 2564

นางสาวฐาปณี พวงงาม ผ้อู านวยการโรงเรยี นมัธยมวัดดาวคนอง
นางสุธกี านต์ ทพั นาค ครู ปฎบิ ตั หิ น้าที่รองผู้อานวยการฝ่ายบรหิ ารวิชาการ
นางพักตรว์ ิภา สามหมอ ครู ปฎิบตั หิ น้าที่รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบริหารท่วั ไป
นางสาวปวณี า จรรยาขจรกลุ ครู ปฎบิ ตั ิหน้าทร่ี องผอู้ านวยการฝ่ายบริหารงบประมาณ
นางสาวกลุ นนั ทร์ แนวนาค ครู ปฎบิ ตั หิ นา้ ท่รี องผอู้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารบุคคล
นายโสภณ จงบรบิ ูรณ์ ครู
นายณภัทร สลา้ งสขุ สกาว ครู
นายนรศิ จีรบวร ครู
นายจิตตินันท์ ทศราช ครู
นางสาวนฤมล ปรางทอง เจ้าหนา้ ที่
นางสาวชลติ า มงคล เจา้ หนา้ ที่
นางสาวกญั ญาเรศ โตสมบัติ นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู
มหาวิทยาลัยราชภัฎบา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา


Click to View FlipBook Version