The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ปี 2564 และแนวโน้มปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by disney2524, 2022-01-26 23:22:51

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ปี 2564 และแนวโน้มปี 2565

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ปี 2564 และแนวโน้มปี 2565

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร
ปี 2564 และแนวโน้ม ปี 2565

ณ เดอื นธนั วาคม 2564

ณ เดอื นธนั วาคม 2564

เศรษฐกิจจังหวดั มุกดาหาร ปี 2564 คาดว่าจะขยายตวั ร้อยละ 4.9 โดยเพม่ิ ขน้ึ ท้งั ภาคการผลิต
และภาคการใชจ้ า่ ย เนื่องจากไดร้ บั ปจั จยั สนบั สนุนจากโครงการกระตนุ้ เศรษฐกจิ ของภาครัฐทาให้มเี มด็ เงนิ
หมนุ เวยี นในจงั หวัดเพิ่มข้นึ และการค้าชายแดนทีข่ ยายตวั ตอ่ เนื่องจากปีก่อน สาหรบั ปี 2565 คาดวา่ จะขยายตวั
ร้อยละ 6.5 จากการฉีดวคั ซนี สร้างภมู คิ ุม้ กนั หมแู่ ละการฟ้ืนตัวของภาคธรุ กจิ ตา่ ง ๆ เช่น การกอ่ สรา้ ง ประกอบกับ

มีการลงทนุ เกษตรคุณภาพสงู (กัญชง/กัญชา) ซง่ึ จะมีการเกบ็ เกี่ยวและแปรรปู สรา้ งมลู คา่ เพมิ่ ขึ้น

 ดา้ นการผลติ (Supply side) ปี 2564 คาดว่าจะ + 6.3 % และปี 2565 คาดวา่ จะ + 2.8 %

ภาคอุตสาหกรรม

ภาคเกษตรกรรม + 4.9 % ภาคบริการ + 4.2 %
คาดวา่ มาจากรายได้
+ 7.1 % คาดว่ามาจากยอดขายส่งขายปลีกทเี่ พมิ่ ขน้ึ
ภาคอุตสาหกรรมทีเ่ พิ่มขน้ึ เนอื่ งจากการผอ่ นปรนมาตรการและการ
คาดว่าจะเพม่ิ จากปรมิ าณผลผลิตทอ่ี อกสู่
ตลาด ได้แก่ มนั สาปะหลงั และยางพารา กระตุ้นเศรษฐกิจของภาครฐั

เนื่องจากราคาจงู ใจ

 ดา้ นการใชจ้ า่ ย (Demand side) ปี 2564 คาดวา่ จะ +8.0 % และปี 2565 คาดวา่ จะ +17.8 %

การบรโิ ภค การลงทนุ การค้าชายแดน
ภาคเอกชน + 1.7 % ภาคเอกชน การใชจ้ า่ ย
และจนาโกยกบาารภย+เการ4คร่ง.ระร2ดัตฐั เ%นุ้ บเิกศจรษ่ายฐกิจจากมลู ค+ท่า1ก่เี พ0าิ่ม.ร3คขา้ึ้น%ชายแดน
คาดวา่ มาจากการมาตรการกระตนุ้ + 2.0 %
เศรษฐกิจของภาครัฐเป็นตวั ขับเคล่ือน ใหเ้ กดิ การ จากสินเชอื่ ลงทนุ ท่เี พิม่ ขนึ้
โดยเฉพาะภาคกอ่ สร้าง
จับจา่ ยใช้สอย ประกอบกับราคายางพารา
และมันสาปะหลังทปี่ รับตวั เพิม่ ขนึ้

 เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ (Stability)  รายไดเ้ กษตรกร (Farmer Income)

อัตราเงินเฟ้อ การจา้ งงาน +2.6 %
จากราคาสนิ ค้าเกษตรท่ปี รบั ตัวดีขน้ึ ไดแ้ ก่
+ 1.2 % + 1.5 %
จากปัจจยั ราคานา้ มัน จากการฟืน้ ตวั ของเศรษฐกจิ เชน่ ภาค ยางพารา มันสาปะหลัง โคและสุกร
เช้ือเพลงิ ทปี่ รับเพิ่มขึน้
ก่อสร้าง และการจา้ งงานภาครัฐ

 ปจั จยั สนบั สนนุ (Support)  ปัจจยั เสี่ยง (Risk)

1. เขตเศรษฐกจิ พิเศษและการพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน 1. การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 ระลอกใหม่

2. สะพานมติ รภาพไทย-ลาว แหง่ ที่ 2 (มกุ ดาหาร-สะหวนั นะเขต) 2. ความผนั ผวนของราคานา้ มนั เช้อื เพลิง
3. ภัยธรรมชาติ
3. โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปสนิ คา้ เกษตร

บทนำ

จากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างรุนแรงและรวดเร็ว ท้ังด้านบวกและด้านลบ
ซ่ึงเป็นสิ่งที่มีผลกระทบโดยตรงต่อเสถียรภาพและการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจภายในจังหวัดอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้
องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องติดตาม
ประเมินผลของการเปลยี่ นแปลงนั้น ๆ เพือ่ นามากาหนดแนวทางในการพัฒนาหรือแก้ไขปญั หาท่ีอาจจะเกิดขึ้น
ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของจังหวัด เพื่อให้การพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดสามารถขับเคล่ือนไปได้
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

ในการติดตามภาวะเศรษฐกิจน้ัน จะต้องอาศัยเครื่องมือในการติดตาม พยากรณ์ และประเมินผลที่มี
ประสิทธิภาพ เพ่ือให้ได้มาซึ่งข้อมูลเชิงลึกท่ีสามารถคาดคะเนทิศทางเศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างถูกต้อง
แม่นยา ซึ่งปัจจุบันการประมาณการเศรษฐกิจนั้นหลายๆ องค์การได้ใช้แบบจาลองเศรษฐกิจท่ีจัดทาขึ้นโดยวิธี
Management Chart สาหรับคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นสานักงานคณะกรรมการ
พฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
เป็นต้น ซึ่งแต่ละองค์กรได้ประยุกต์ใช้การพยากรณ์เศรษฐกิจโดยวิธี Management Chart ให้เหมาะสมกับ
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแต่ละหน่วยงาน โดยการพยากรณ์เศรษฐกิจโดยวิธี Management Chart น้ัน
เป็นการประมาณการเศรษฐกิจโดยอาศัยข้อมูลทางเศรษฐกิจในอดีตที่ผ่านมาประกอบกับความคิดเห็นเก่ียวกบั
แนวโน้มของเศรษฐกิจในอนาคตจากผู้ท่ีมีความเช่ียวชาญที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจในสาขาต่าง ๆ เพ่ือนามา
กาหนดและคาดคะเนทิศทางของเศรษฐกิจในอนาคตให้มีความน่าเช่อื ถือและสอดคลอ้ งกับสภาพความเป็นจรงิ
ของแต่ละพนื้ ท่ีเป็นสาคัญ

สานักงานคลังจงั หวัดมุกดาหาร จึงได้จัดทาประมาณการเศรษฐกิจขึ้นโดยใช้วิธี Management Chart
อันเปน็ แนวทางในการติดตามและพยากรณ์เศรษฐกิจของจังหวัดท่ีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งจะเป็นประโยชน์
ต่อการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจของจังหวัด รวมท้ังการบริหารจัดการ และกาหนดแนวทางในการพัฒนา
เศรษฐกิจของจังหวัดให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน นอกจากนี้สานักงานคลังจังหวัดมุกดาหารหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
การประมาณการเศรษฐกิจนจ้ี ะช่วยให้นกั ลงทุน ผู้ประกอบการ หน่วยงานต่าง ๆ ทง้ั ภาครัฐและเอกชน รวมทั้ง
ประชาชนท่ัวไป สามารถนาข้อมูลทไ่ี ด้ไปประยุกตใ์ ช้ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดต่อไป

สานักงานคลังจังหวัดมุกดาหาร

สำรบญั 1
8
รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวัดมกุ ดาหาร
ตารางสรุปสมมตฐิ านและผลการประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร 10
สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกจิ 16
24
1. ด้านอปุ ทาน (Supply side) 27
2. ด้านอปุ สงค์ (Demand side) 27
3. ด้านรายได้เกษตรกร (Farmer income) 28
4. ด้านเสถยี รภาพเศรษฐกิจ (Stability) 29
5. ด้านการจ้างงาน (Employment)
ตารางสรปุ การประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั มุกดาหารปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565
คานิยามตวั แปรและการคานวณในแบบจาลองเศรษฐกจิ จังหวัดมุกดาหาร

เมอื งการค้าทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร

สานักงานคลงั จังหวัดมุกดาหาร ศาลากลางจังหวดั มุกดาหาร ถนนวิวธิ สรุ การ อาเภอเมอื ง จังหวัดมุกดาหาร 49000
โทรศพั ท์ : 0-4261-1502 ต่อ 314 - 317 โทรสาร : 0-4261-1778 E-mail : [email protected]

ฉบบั ที่ 4/2564 ธันวาคม 2564

บทสรุปผู้บรหิ าร
รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดมกุ ดาหาร ปี 2564 และแนวโน้ม ปี 2565

(ณ เดือนธันวาคม 2564)

“เศรษฐกิจจงั หวดั มุกดาหาร ปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.9 และแนวโน้มปี 2565 คาดว่าจะ
ขยายตัวร้อยละ 6.5”

สานักงานคลังจังหวัดมุกดาหาร ได้ประเมินภาวะเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารปี 2564 คาดการณ์ว่า
จะมีแนวโน้มขยายตัวในอัตราร้อยละ 4.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (3.9 - 6.0) ซ่ึงสูงกว่าท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือน
กันยายน 2564 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.7 โดยคาดว่าจะขยายตัวจากภาคบริการ ซ่ึงมีการกระตุ้นเศรษฐกิจ
จากภาครัฐผ่านโครงการต่าง ๆ ได้แก่ โครงการเราชนะ โครงการคนละคร่ึง มาตรการเพิ่มกาลังซ้ือให้กับผู้ถือบัตร
สวัสดิการ โครงการ ม.33 เรารักกัน โดยคาดว่าจะมีเม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัดจากโครงการดังกล่าว ประมาณ 4,000
ล้านบาท แต่ด้วยมีสถาณการณ์การระบาดระลอก 3 ซึ่งมีการกลายพันธุ์ของเช้ือไวรัสโควิด 19 (สายพันธ์ุเอลฟ่าและ
เดลต้า) ทาให้มีการกระจายตัวของไวรัสที่แพร่กระจายได้รวดเร็วข้ึน ด้านหน่วยงานสาธารณสุขก็มีการเร่งฉีดวัคซีน
เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด 19 โดยประชาชนทุกคนต้องปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัย
ด้านสาธารณสุข ด้านภาคอุตสาหกรรม ซ่ึงมีการเพิ่มกาลังการผลิตของโรงงานในจังหวัดคาดว่าผลผลิตจะเพ่ิมขึ้น
โดยโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรในจังหวัดเป็นแหล่งรับซื้อและแปรรูปสินค้าเกษตรจากจังหวัดใกล้เคียง เพ่ือให้เพียงพอ
กับกาลังการผลิตและความต้องการของตลาดปลายทาง โดยเฉพาะ ยางพาราท่ีมีความต้องการของตลาดปลายทาง
เพิ่มข้ึนเพ่ือไปผลิตถุงมือยาง จากสถานการณแ์ พรระบาดของโรคโควดิ 19 เป็นสาคญั การบรโิ ภคภาคเอกชน คาดว่าจะ
ขยายตัวเพม่ิ ขนึ้ โดยมีสญั ญาณทีเ่ ป็นบวกจากเครอ่ื งช้ีสนิ ค้าคงทน ไดแ้ ก่ รถยนตน์ ่ังสว่ นบุคคลและรถจักรยานยนต์ โดยเป็น
ผลมาจากการกิจกรรมส่งเสริมการขาย ดอกเบี้ยนโยบายท่ีอยู่ในระดับต่า ทาให้ผู้ที่ยังพอมีกาลังซื้อในขณะนี้ได้ประโยชน์
ประกอบกับข้อมูลฐานเปรียบเทียบปีที่แล้วที่ยังอยู่ในระดับต่า สาหรับการลงทุนภาคเอกชน ขยายตัวในอัตราชะลอ
เนื่องจากนักลงทุนเองยังต้องรอดูทิศทางของเศรษฐกิจและบางส่วนท่ียังอยู่ในช่วงท่ีต้องประคองกิจการให้ไปต่อได้ เช่น
ผู้ประกอบการ SMEs แต่ในบางส่วนยังมีการขยายการลงทุนเพ่ิม ได้แก่ การก่อสร้าง ประเภทบ้านจัดสรรที่มีการก่อสร้าง
เพิ่มข้ึนในเขตเทศบาลเมืองและแถวชานเมือง การใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวจากปีก่อน จากการเร่งรัดเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม
เป้าหมายเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ให้เม็ดเงินเข้าสู่ระบบเพิ่มขึ้น การค้าชายแดน คาดว่าจะขยายตัวในอัตราท่ีชะลอลง
เนื่องจากในปีท่ีผ่านมามูลค่าการค้าชายแดนมีการขยายตัวค่อนข้างสูง ซึ่งเป็นผลจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19
ทาให้มีการปิดจุดผ่อนปรนต่าง ๆ ตามแนวชายแดนเพื่อความปลอดภัยและม่ันคงของประเทศ และเง่ือนไขขั้นตอนการ
ผ่านด่านมุกดาหารค่อนข้างมีการวางแผนที่ดีทาให้ผู้ประกอบการขนส่งต่าง ๆ เลือกใช้เส้นทางน้ีเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะการ
ส่งออกโคเน้ือมีชีวิต ซึ่งปีนี้มีปัจจัยเส่ียงเพิ่มมา คือ มีการเกิดโรคอุบัติใหม่ในประเทศไทย “โรคลัมปีสกิล” ในโคและ
กระบือ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการแพร่ระบาดทุกจังหวัด และมีประกาศห้ามขนย้ายโคกระบือ
ในจังหวัดทเ่ี กิดการระบาดในชว่ งกลางปี ทาใหก้ ารปริมาณการสง่ ออกโคกระบือคาดว่าจะลดลง

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 1

เมืองการค้าทันสมัย เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

ด้านการผลิต (Supply side) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ
(5.3 - 7.0)) ชะลอตัวจากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 9.8 โดยเป็นผลจากภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะ
ขยายตัวจากปีก่อน เน่ืองจากปีที่ผ่านมามีการขยายตัวของปริมาณยางพารา และมันสาปะหลัง ซ่ึงเป็นไปตามพ้ืนท่ีเก็บ
เกี่ยวและความต้องการของตลาดปลายทาง จากการนาไปผลิตถุงมือยางและแอลกอฮอล์ เป็นสาคัญ ส่วนข้าวนาปีและ
ออ้ ยคาดวา่ ปริมาณเพ่ิมขึน้ ไมม่ ากทรงตวั เทา่ กับปีก่อน ภาคอุตสาหกรรม คาดวา่ จะขยายตวั จากรายได้ภาคอตุ สาหกรรม
ที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการทยอยฉีดวัคซีนท้ังในประเทศและท่ัวโลก ส่งผลให้ความเชื่อม่ันมีแนวโน้มดีข้ึน
ประกอบกับโรงงานอุตสาหกรรมน้าตาลในจังหวัดมีการขยายกาลังการผลิตเพิ่มข้ึน รวมทั้งผลิตภัณฑ์จากยางพารา
มันสาปะหลังท่ีมีความต้องการของตลาดปลายทางอย่างต่อเนื่อง ภาคบริการ คาดว่าจะขยายตัวจากปีก่อน เนื่องจาก
ปีก่อนมีการดาเนินมาตรการเข้มข้น มีมาตรการปิดเมือง (Lock down) ทาให้ไม่สามารถเดินทางท่องเท่ียวได้สะดวก
ในช่วงเดือนเมษายน – มิถุนายน 2563 และมีการระบาดระลอก 2 ช่วงปลายปี ทาให้นักท่องเท่ียวลดลงอย่างมาก
สาหรับในปี 2564 มีการผ่อนคลายมาตรการโดยไม่ได้จากัดการเดินทางของประชาชน แตต่ อ้ งปฏิบัติตามมาตรการความ
ปลอดภัย ตามท่ี ศบค. และตามประกาศของจังหวัด แม้ว่าจะมีการระบาดระลอก 2 และ 3 ท่ีมีความรุนแรงในเขตพื้นท่ี
กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดมุกดาหารเองก็ได้รับผลกระทบเพ่ิมขึ้น อย่างไรก็ตามรัฐบาลยังมีมาตรการช่วยเหลือ
เยียวยา ทาให้มีเม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัดเพ่ิมขึ้น ได้แก่ โครงการคนละครึ่ง โครงการเราชนะ โครางการเราเที่ยว
ด้วยกัน ซ่ึงมีเม็ดเงินท่ีมาหมุนเวียนจากโครงการดังกล่าวของจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 4,000 ล้านบาท ประกอบกับ
มกี ารใหเ้ งนิ กู้ดอกเบี้ยตา่ แก่ภาคธุรกิจ (soft loan) การช่วยเหลือเกษตรกร จะชว่ ยพยุงเศรษฐกิจให้สามารถขับเคล่ือนไปได้

ด้านการใช้จ่าย (Demand side) คาดว่าจะขยายตัวท่ีร้อยละ 8.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ
(6.9 – 9.4) ชะลอตัวจากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 26.7 คาดว่าจะมาจากการใช้จ่ายภาครัฐ โดยมีการ
เร่งรัดเบิกจ่ายเงินเข้าระบบท้ังรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนผ่านหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือให้มีเม็ดเงินเข้าสู่ระบบและ
สาหรับโครงการกระตนุ้ เศรษฐกิจและเยียวยา ผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการคนละคร่ึง ทใ่ี ห้วงเงินผูผ้ า่ นเกณฑค์ นละ
3,500 บาท โครงการเราชนะ ที่มีการช่วยเหลือค่าครองชีพให้กับประชาชนท่ีผ่านเกณฑ์ เป็นวงเงินคนละ 9,000 บาท
ในคร่ึงปีแรก และคร่ึงปีหลัง ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางที่ร่วมโครงการเราชนะอีกรายละ 200 บาท/เดือน โครงการเรารักกัน
ที่ช่วยเหลือผู้ประกันตนมาตรา 33 รายละ 4,000 บาท และเพิ่มวงเงินให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการ 675 และ 700 บาท
ให้กับผู้มีรายได้ไม่เกิน 100,000 บาท/ปี และผู้ที่รายได้ไม่เกิน 30,000 บาท/ปี โดยมีเม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัด
มุกดาหาร จากโครงการดังกล่าวประมาณ 4,000 ล้านบาท เพื่อเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ การบริโภค
ภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวเมื่อเทียบกับปีท่ีผ่านมา เน่ืองจากการผ่อนปรนการเดินทางของประชาชน โดยสามารถ
เดินทางไปมาข้ามจังหวัดได้ และจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ เป็นการเพิ่มกาลังซ้ือทาให้ประชาชนมีการ
จับจ่ายใชส้ อยเพิม่ ข้นึ โดยมเี ครือ่ งช้ีสาคัญในช่วงไตรมาสแรก ได้แก่ การจดทะเบียนรถยนต์ส่วนบคุ คลไมเ่ กนิ 7 คน และ
จดทะเบียนรถจักรยายนต์ เพิ่มข้ึน และคาดว่าการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ได้อย่างครอบคลุมจะทาให้เศรษฐกิจ
มีการปรับตัวดีขึ้นกว่าปีก่อน สาหรับด้านการค้าชายแดน คาดว่าจะขยายตัวจากปีที่ผ่านมา เน่ืองจากผู้ประกอบการ
ขนสง่ เลือกใชเ้ ส้นทางนาเข้า – ส่งออก ผ่านด่านมกุ ดาหาร เนอ่ื งจากมพี ิธีการข้ันตอนและระยะเวลาไม่นานเมื่อเทียบกับ
ด่านอ่ืนท่ีมีเส้นทางใกล้เคียงกัน ในสถานการณ์โรคโควิด 19 เนื่องจากเป็นเส้นทาง EWEC ซึ่งเชื่อมโยงถึงเวียดนามและ
จีนตอนใต้ ประกอบกับมีการเช่ือมโยงการผลิตสินค้าระหว่างโรงงานอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกของไทยกับ
เขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวนั เซโน แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว ด้านการลงทนุ ภาคเอกชน คาดวา่ จะขยายตัวเมื่อเทียบ
กับปีที่ผ่านมา เนื่องจากมีการลงทุนเพ่ิมในหลายประเภทกิจการ ได้แก่ ขยายกาลังการผลิตของโรงงานน้าตาล
การก่อสร้างโครงการบ้านจัดสรรในเขตอาเภอเมืองมุกดาหาร การสร้างสถานีบริการน้ามัน การก่อสร้างร้านอาหาร
เวียดนามแห่งใหม่ เป็นตน้ ซงึ่ การลงทนุ ดงั กล่าวจะเปน็ แหล่งสร้างรายได้เขา้ สู่จังหวัดตอ่ ไป

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 2

เมืองการค้าทนั สมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

สาหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564
คาดว่าจะอยู่ท่ีร้อยละ 1.2 (ทรงตัวจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้อยู่ที่ร้อยละ 1.2) เพ่ิมขึ้น
จากปีก่อนที่อยู่ที่ร้อยละ 0.1 โดยมีสาเหตุจากราคาน้ามันเช้ือเพลิงโดยเฉล่ียปรับเพ่ิมข้ึน เน่ืองจากปีที่ผ่านมาเกิดการ
แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ยังไม่มียารักษาและทั่วโลกมีมาตรการที่เข้มข้น มีการปิดเมือง
ปดิ ประเทศ ห้ามเดินทางข้ามประเทศ เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาด ทาใหค้ วามต้องการการใช้น้ามันเช้อื เพลิงในตลาดโลก
ลดลง ส่งผลให้ราคานา้ มนั ในตลาดโลกลดตา่ เปน็ ประวัตกิ ารณ์ในรอบหลายสิบปี สาหรบั ในปีน้รี าคานา้ มันกลับมาเพิ่มขึ้น
ราคาโดยเฉลี่ยเท่าๆกับก่อนการเกิดโรคโควิด 19 ซึ่งมาจากหลายสาเหตุ ทั้งกิจกรรมทางการผลิตแต่ละประเทศ
เร่ิมกลับมาดาเนนิ การไดป้ กติและการปรบั ตวั ของประเทศผู้ผลิตน้ามนั เพอื่ ใหส้ อดคล้องกับความต้องการของผใู้ ช้น้ามัน
ทั่วโลกและไม่ให้เกิดปริมาณน้ามันล้นตลาด (Over Supply) จ้างงานในจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่ามีการ
จ้างงานจานวน 196,276 คน หรือเพ่ิมข้ึนจากปีก่อน จานวน 2,831 คน (สูงกว่าท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564
จานวน 195,578 คน) เนื่องจากมีการลงทุนของภาคเอกชนในจังหวัด และการสง่ เสริมการจ้างงานของภาครฐั เพือ่ บรรเทา
ปัญหาจากการวา่ งงาน เนอ่ื งจากได้รับผลกระทบจากโรคโควิด 19 เป็นสาคญั

สาหรับเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่
5.7 – 7.2) ขยายตัวจากปีก่อนที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.9 จากภาคการใช้จ่าย (Demand Side) เนื่องจาก
ประเทศไทยมีเป้าหมายเปิดประเทศเพ่ือรับนักท่องเท่ียว และเป็นการกระตุ้นการค้าการลงทุน ภายใต้มาตรการความ
ปลอดภัยและควบคุมโรคระบาด ประกอบกับมีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ให้กับประชาชนตามเป้าหมาย
ภาคบริการคาดว่าจะมีการขยายตัวเพิ่มข้ึนจากภาคการค้าและบรกิ าร โดยจังหวัดมุกดาหารมีร้านอาหารเวียดนามแห่ง
ใหม่ท่ีเปิดให้บริการที่มีเม็ดเงินลงทุนถึง 200 ล้านบาท ท่ีเปิดมาเพื่อรองรับผู้บริโภคแถบอิสานใต้ และผู้บริโภคจาก
ประเทศเพ่ือนบ้าน เป็นสาคัญ ประกอบกับรัฐบาลจาดาเนินโครงการคนละครึ่ง เฟส 4 เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจช่วง ท้ังนี้
ขึ้นอยู่กับสถานการณ์โรคโควิด 19 การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัว จากกาลังซ้ือที่มาจากประเทศเพื่อนบ้าน
เข้ามาหลังจากการเปิดประเทศ ภายใต้มาตรการที่รัฐกาหนด การใช้จ่ายภาครัฐ ที่คาดว่าจะขยายตัว เนื่องจากต้องเร่ง
ฟื้นฟูประเทศให้กลับมาหลังจากการเปิดประเทศ และการมีมาตรการคลายล็อคต่าง ๆ จะส่งผลทาให้การเบิกจ่าย
ขยายตัวเพ่ิมข้ึน ด้านการค้าชายแดน จากการเปิดประเทศจะส่งผลให้การค้าชายแดนมีการขยายตัวเพ่ิมข้ึน เพราะ
นอกจากด่านถาวรท่ีสะพานไทย-ลาวแห่งที่ 2 แล้ว ยังมีเป้าหมายเปิดจุดผ่านแดนท่ีมีความสาคัญ เชน่ จดุ ผา่ นแดนถาวร
ท่าเทียบเรือ จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งเป็นจุดที่มีความสาคัญด้านการค้าและบริการของจังหวัดค่อนข้างมาก ท้ังน้ีต้องรอดู
สถานการณ์การแพรร่ ะบาดระลอกใหม่ของโรคโควิด 19 สายพันธ์ใุ หม่

ประมาณการอตั ราการขยายตวั เศรษฐกิจจังหวดั มกุ ดาหาร 2564 และแนวโนม้ ปี 2565

20.0 15.7
15.0
10.0 10.8 7.9 5.8 (3.9-6.0) (5.7-7.2)
5.0 1.4
3.4 3.7 4.9 6.5

0.6 2.9 1.5 2.3

0.0 2554r 2555r 2556r 2557r 2558r 2559r 2560r 2561r 2562p 2563E 2564F 2564F 2565F

(ณ (ณ (ณ
กนั ยายน ธนั วาคม ธันวาคม
2564) 2564) 2564)

หมายเหตุ ; r : มีการปรบั ปรุงข้อมลู , p : ข้อมลู เบอ้ื งต้น , E : Estimate = การประมาณการ F : Forecast = การพยากรณ์ 3

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564

เมอื งการค้าทนั สมยั เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เช่อื มโยงสู่สากล

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดมุกดาหาร ปี 2564 และแนวโนม้ ปี 2565

1. เศรษฐกจิ จงั หวัดมกุ ดาหาร ปี 2564
1.1 ด้านการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารในปี 2564 คาดการณ์ว่าจะขยายตัวจากปีก่อนที่ร้อยละ 4.9 (โดยมี

ช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ 3.9 – 6.0) โดยขยายตัวจากทั้งด้านการผลิต (Supply side) และด้านการใช้จ่าย (Demand
side) ของจังหวดั โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี

ด้านการผลิต (Supply side) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ
(5.3 – 7.0)) จากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 9.8 โดยเป็นผลจากภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะขยายตัวจาก
ปีก่อน เน่ืองจากการขยายตัวของปริมาณยางพารา และมันสาปะหลัง ซ่ึงเป็นไปตามพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยวและความต้องการ
ของตลาดปลายทาง จากการนาไปผลิตถุงมือยางและแอลกอฮอล์ เป็นสาคัญ ส่วนข้าวนาปีและอ้อยคาดว่าจะมีปริมาณ
ลดลงจากปีก่อน ภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัวจากรายได้ภาคอุตสาหกรรมท่ีคาดว่าจะเพ่ิมขึ้น เนื่องจากมีคาส่ัง
ซ้ือเข้ามาต่อเนื่อง เน่ืองจากมีการทยอยฉีดวัคซีนทั้งในประเทศและท่ัวโลก ส่งผลให้ความเช่ือมั่นมีแนวโน้มดีข้ึน
ประกอบกับโรงงานอุตสาหกรรมน้าตาลในจังหวัดมีการขยายกาลังการผลติ เพิ่มข้ึน รวมทั้งจากยางพารามันสาปะหลงั ท่ี
มีความต้องการของตลาดปลายทางอย่างต่อเนื่อง ภาคบริการ คาดว่าจะขยายตัวจากปีก่อน เน่ืองจากปีก่อนมีการ
ดาเนินมาตรการเข้มข้นมีมาตรการปิดเมือง (Lock down) ทาให้ไม่สามารถเดินทางท่องเที่ยวได้สะดวกในช่วงเดือน
เมษายน – มิถุนายน 2563 และมีการระบาดระลอก 2 ช่วงปลายปี ทาให้นักท่องเท่ียวลดลงอย่างมาก สาหรับในปี
2564 มีการผ่อนคลายมาตรการโดยไม่ได้จากัดการเดินทางของประชาชน แต่ต้องปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัย
ตามที่ ศบค. และตามประกาศของจังหวัด แม้ว่าจะมีการระบาดระลอก 2 และ 3 ที่มีความรุนแรงในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพฯและ
ปริมณฑล และจังหวัดมุกดาหารเองก็ได้รับผลกระทบเพิ่มข้ึน อย่างไรก็ตามรัฐบาลยังมีมาตรการช่วยเหลือเยียวยา ทาให้มี
เม็ดเงนิ หมุนเวียนในจังหวัดเพ่ิมขนึ้ ได้แก่ โครงการคนละคร่ึง โครงการเราชนะ โครางการเราเที่ยวดว้ ยกัน ซ่งึ มีเม็ดเงิน
ท่ีมาหมุนเวียนจากโครงการดังกล่าวของจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 4,000 ล้านบาท โครงการประกันรายได้เกษตรกร
ผู้ปลูกข้าวและค่าบริหารจัดการคุณภาพข้าวที่จ่ายให้เกษตรกรผ่านทาง ธกส.ช่วงเดือนธันวาคม 2564 โดยมีเม็ดเงิน
จานวน 1,095 ล้านบาท ประกอบกับมีการให้เงินกู้ดอกเบ้ียต่าแก่ภาคธุรกิจ (soft loan) การช่วยเหลือเกษตรกร
ช่วยพยุงเศรษฐกิจให้สามารถขับเคลื่อนไปได้

ด้านการใช้จ่าย (Demand side) คาดว่าจะขยายตัวท่ีร้อยละ 8.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ
(6.9 - 9.4) จากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 17.8 คาดว่าจะมาจากการใช้จ่ายภาครัฐ โดยมีการเร่งรัด
เบิกจ่ายเงินเข้าระบบท้ังรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนผ่านหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือให้มีเม็ดเงินเข้าสู่ระบบและสาหรับ
โครงการกระตุ้นเศรษฐกิจและเยียวยา ผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการคนละครึ่ง ทใี่ หว้ งเงินผู้ผ่านเกณฑ์คนละ 3,500 บาท
โครงการเราชนะ ท่ีมีการช่วยเหลือค่าครองชีพให้กับประชาชนท่ีผ่านเกณฑ์ เป็นวงเงินคนละ 9,000 บาท ในครึ่งปีแรก และ
ครึ่งปีหลัง ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางท่ีร่วมโครงการเราชนะอีกรายละ 200 บาท/เดือน โครงการเรารักกัน ท่ีช่วยเหลือ
ผู้ประกันตนมาตรา 33 รายละ 4,000 บาท และเพิ่มวงเงินให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการ 675 และ 700 บาท ให้กับผู้มีรายได้
ไม่เกิน 100,000 บาท/ปี และผู้ที่รายได้ไม่เกิน 30,000 บาท/ปี โดยมีเม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัดมุกดาหาร จากโครงการ
ดังกล่าวประมาณ 4,000 ล้านบาท เพ่ือเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัว
เมื่อเทียบกับปีท่ีผ่านมา เน่ืองจากมาตรการผ่อนปรนการเดินทางของประชาชนโดยสามารถเดินทางไปมาข้ามจังหวัดได้
การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด และจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ ทาให้มีเม็ดเงินหมุนเวียน
ในจังหวัดเพิ่มขึ้น โดยมีเครื่องชี้สาคัญ ได้แก่ ยอดการขายส่งขายปลีกที่คาดว่าจะเพ่ิมข้ึนจากปีก่อนประมาณร้อยละ 20
และคาดว่าการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ได้อย่างครอบคลุมจะทาให้เศรษฐกิจมีการปรับตัวดีข้ึนกว่าปีก่อน สาหรับ
การค้าชายแดน คาดว่าจะขยายตัวจากปีที่ผ่านมา เนื่องจากผู้ประกอบการขนส่งเลือกใช้เส้นทางนาเข้า – ส่งออก
ผ่านด่านมุกดาหาร เน่ืองจากมีพิธีการขั้นตอนและระยะเวลาไม่นานเม่ือเทียบกับด่านอื่นท่ีมีเส้นทางใกล้เคียงกัน
ในสถานการณ์โรคโควิด 19 เน่ืองจากเป็นเส้นทาง EWEC ซ่ึงเช่ือมโยงถึงเวียดนามและจีนตอนใต้ ประกอบกับมีการ

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 4

เมืองการค้าทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

เช่ือมโยงการผลิตสินค้าระหว่างโรงงานอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกของไทยกับเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวันเซโน
แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาวการลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวเม่ือเทียบกับปีท่ีผ่านมา เน่ืองจากอัตราดอกเบ้ีย
นโยบายท่ียังตรึงไว้ที่ร้อยละ 0.5 ทาให้อัตราดอกเบี้ยธนาคารอยู่ในระดับต่ากว่าท่ีผ่านมา เพ่ือเป็นแรงหนุนให้เศรษฐกิจ
สามารถขับเคล่ือนและสร้างแรงจูงใจในการลงทนุ ในภาคเอกชนเพ่ิมมากข้ึน ซ่งึ จะเหน็ ได้จากการโครงการก่อสร้างบ้านจัดสรร
ทีอ่ ยใู่ นเขตเทศบาลเมืองทเ่ี พิ่มขึ้น สอดคลอ้ งกบั การขออนุญาตก่อสร้างในเขตอาเภอเมืองที่เพิ่มข้ึนจากปกี ่อน

1.2 สาหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564
คาดว่าจะอยู่ท่ีร้อยละ 1.2 (ทรงตัวจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้อยู่ที่ร้อยละ 1.2) เพิ่มข้ึนจาก
ปีก่อนท่ีอยู่ท่ีร้อยละ 0.1 โดยมีสาเหตุจากราคาน้ามันเช้ือเพลิงโดยเฉล่ียปรับเพิ่มข้ึน เนื่องจากปีที่ผ่านมาเกิดการแพร่ระบาด
ของโรคโควิด 19 ซึ่งเป็นโรคอบุ ัติใหม่ ยังไมม่ ยี ารกั ษาและท่วั โลกมีความตน่ื ตระหนก มกี ารปิดประเทศหา้ มเดนิ ทางขา้ มประเทศ
เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาด ทาให้ความต้องการการใช้น้ามันเชื้อเพลิงในตลาดโลกลดลง ส่งผลต่อราคาน้ามันลดต่า
เป็นประวัติการณ์ในรอบหลายสิบปี สาหรับในปีน้ีราคาน้ามันกลับมาเพิ่มข้ึนราคาโดยเฉล่ียเท่าๆกับก่อนการเกิดโรคโควิด 19
ซ่ึงมาจากหลายสาเหตุ ท้ังกิจกรรมทางการผลิตแต่ละประเทศเร่ิมกลับมาดาเนนิ การได้ปกติและการปรับตัวของประเทศผู้ผลติ
น้ามัน เพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้น้ามันท่ัวโลกและไม่ให้ให้เกิดปริมาณน้ามันล้นตลาด (Over Supply)
จ้างงานในจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่ามีการจ้างงานจานวน 196,276 คน หรือเพ่ิมขึ้นจากปกี ่อน จานวน 2,831 คน
(สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 จานวน 195,578 คน) เน่ืองจากมีการส่งเสริมการจ้างงานของภาครัฐ
เพ่ือบรรเทาปัญหาจากการวา่ งงาน ทไ่ี ด้รับผลกระทบจากโรคโควิด 19 และการฟนื้ ตวั ของเศรษฐกิจ ทาให้มกี ารจา้ งงานเพ่ิมขึ้น
โดยเฉพาะภาคก่อสร้าง เป็นสาคัญ

ปัจจยั สนบั สนุนตอ่ ระบบเศรษฐกิจของจงั หวดั มุกดาหารในปี 2564
1. เปน็ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจงั หวดั มุกดาหาร จากการได้รับประกาศจดั ต้ังให้เป็นเขตพัฒนาเศรษฐกจิ

พิเศษ 1 ใน 5 จังหวัดแรก ทาให้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ ได้แก่ ถนนสี่ช่องจราจร เนื่องจากอยู่ในเส้นทางระเบยี ง
เศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East – West Economics Corridor : EWEC) หรือเส้นทางหมายเลข 9 (R9) และถนน
ในเขตจังหวดั มุกดาหารมกี ารปรบั ปรุงให้ดขี ้นึ

2. มีสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 2 โดยได้รับการผลักดันให้เป็น “ท่าเรือบก” เป็นประตูเช่ือมโยง
อาเซียนได้อย่างสะดวก เนื่องจากมีเขตติดต่อกับ สปป.ลาว เป็นเส้นทางการค้าท่ีสาคัญกับเวียดนามและจีน เนื่องจากมีมูลค่า
การนาเข้า – สง่ ออก เป็นอนั ดบั ตน้ ๆ ของประเทศ เน่อื งจากเปน็ ระยะทางทสี่ ะดวกและมีการบรหิ ารจัดการทีด่ ี ทาใหก้ ารขนส่ง
สินคา้ มคี วามสะดวกรวดเร็ว

3. มีโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรท่ีสาคัญของจังหวัด ได้แก่ โรงสีข้าว โรงงานน้าตาล โรงงานแปรรูป
ยางพารา และโรงงานแป้งมันสาปะหลัง เพื่อรองรับสินค้าเกษตรจากเกษตรกรในจังหวัดและจากจังหวัดใกล้เคียง โดยเฉพาะ
มกี ารเพิ่มกาลังการผลิตของโรงงานน้าตาลจากเดิม 14,000 ตนั ออ้ ย/วัน เปน็ 26,000 ตันอ้อย/วนั ทาให้มลู ค่าการผลิตมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน

4. เป็นเขตส่งเสรมิ เมอื งอจั ฉรยิ ะมุกดาหาร โดยกระทรวงดิจติ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ประกาศใหจ้ ังหวดั
มุกดาหาร เป็นเขตส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ (Smart City มุกดาหาร) ประเภทเมืองเดิมน่าอยู่ (Liveable City) ได้แก่ สิ่งแวดล้อม
อจั ฉริยะ (Smart Environment) การเดนิ ทางและการขนสง่ อัจฉรยิ ะ (Smart Mobility) การดารงชีวิตอจั ฉรยิ ะ (Smart Living)
และเศรษฐกิจอัจฉริยะ (Smart Economy) ทาให้มีโครงการท่เี ก่ยี วเน่ืองเพ่ิมข้นึ

ปัจจัยเสีย่ งตอ่ ระบบเศรษฐกิจของจงั หวัดมกุ ดาหารในปี 2564
1. การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 หากการระบาดของโรคโควิด 19

ทั่วโลกยงั ไมล่ ดลง มกี ารกลายพนั ธุข์ องไวรัส หรือมกี ารระบาดซ้าในพ้ืนท่เี ดิม และถ้าวัคซีนปอ้ งกันโรคโควดิ 19 ยงั ไมไ่ ด้ใชอ้ ย่าง
ทั่วถงึ กจ็ ะกระทบกับเศรษฐกจิ ต่อไป

2. ความผันผวนของราคาน้ามันในตลาดโลก เน่ืองจากปัจจุบันประเทศผู้ผลิตและส่งออกน้ามันยังมี
ความขดั แย้งกนั และภาวะเศรษฐกิจโลกท่ชี ะลอตัวเนือ่ งจากการแพรร่ ะบาดของไวรสั โควดิ 19

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 5

เมอื งการคา้ ทันสมัย เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล 6

3. เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า และนโยบายการค้าการลงทุนของประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากจังหวัด
มกุ ดาหารเปน็ จังหวัดชายแดนท่ตี อ้ งอาศัยกาลงั ซ้อื จากประเทศเพอื่ นบ้าน เปน็ สาคัญ

4. ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตร เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดมุกดาหารประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม หากราคาสินค้าเกษตรตกต่าก็จะส่งผลต่อกาลังซื้อของประชากรส่วนใหญ่ท่ีจะลดลง หากราคาสินค้าเกษตร
อยู่ในเกณฑด์ จี ะสง่ ผลทาใหเ้ ศรษฐกิจฐานรากของจงั หวดั มกี ารขบั เคลอื่ นทดี่ ี

5. ภัยธรรมชาติ ได้แก่ สภาพอากาศท่ีแปรปรวนทาให้กระทบต่อการเพาะปลูกพืชของเกษตรกร ได้แก่
ฝนทงิ้ ชว่ ง พายเุ ขา้ ทาใหพ้ นื้ ที่เพาะปลูกบางสว่ นเสียหาย

2. แนวโนม้ เศรษฐกจิ จังหวัดมุกดาหาร ปี 2565
2.1 ด้านการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ
เศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร ปี 2565 คาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์

ที่ร้อยละ 5.7 – 7.2) โดยขยายตัวจากทั้งด้านการผลิต (Supply side) และด้านการใช้จ่าย (Demand side)
ของจังหวัด โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้

ด้านการผลิต (Supply side) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 1.9 –
3.3) ซ่ึงขยายตัวจากปีก่อนจากภาคบริการ คาดว่าจะขยายตัว เนื่องจากมีเป้าหมายเปิดประเทศในปี 2565 ส่งผลให้
ภาคบริการ ไดแ้ ก่ การค้า การทอ่ งเที่ยว และการบริการตา่ ง ๆ ซึง่ อาศยั กาลังซ้ือหลักจากประเทศเพอ่ื นบ้าน เปน็ สาคัญ
ถ้ามีการเปิดประเทศประชาชนสามารถข้ามไปมาได้ภายใต้มาตรการความปลอดภัย คาดว่ากาลังซ้ือจะกลับมา
ภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะขยายตัวจากปริมาณสินค้าเกษตรหลัก ได้แก่ ยางพารา เน่ืองจากเน้ือท่ีเปิดกรีดยางเพ่ิมขึ้น
และอายุยางอยู่ในช่วงท่ีให้ผลผลิตสูง อ้อยโรงงานที่ได้รับการส่งเสริมจากโรงงานน้าตาลในจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียง
ที่ต้องการจูงใจให้เกษตรกรปลูกอ้อยเพื่อป้อนโรงงาน ด้วยวิธีช่วยค่าปลูก ค่าขนส่ง และวิธีการเพ่ิมผลผลิต เป็นต้น
ประกอบกับจังหวัดมีการส่งเสริมเล้ียงโคเน้ือโคขุนและการเล้ียงปลากดแก้ว ในพื้นที่เป้าหมาย และมีการปลูกพืช
เศรษฐกิจใหม่ ได้แก่ กัญชง โดยการลงทุนของบริษัทเอกชนและความร่วมมือจากภาครัฐ ซ่ึงจะทาให้เกิดมูลค่าการผลติ
และสร้างรายได้ให้กับจังหวัดเพ่ิมข้ึน ภาคอุตสาหกรรม ที่คาดว่าจะขยายตัวจากการขยายกาลังการผลิตของโรงงาน
น้าตาลและการคาดการณ์ปริมาณนาเข้าอ้อยในปีการผลิต 64/65 ซึ่งคาดว่าจะมีเพ่ิมขึ้น และปริมาณยางพาราท่ีออกสู่
ตลาดเพิ่มจากพ้ืนที่เปิดกรีดและอายุยางที่ให้ผลผลิตเพิ่มข้ึน ประกอบกับความต้องการของตลาดปลายทางที่มีเพิ่มข้ึน
ทาให้โรงงานแปรรปู มีการรบั ซ้อื วัตถุดบิ จากตา่ งพ้ืนที่ใหเ้ พียงพอกับกาลงั การผลติ

ด้านการใช้จ่าย (Demand side) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 17.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ 17.0 -
18.8) โดยมาจากภาคการค้าชายแดน ที่คาดว่าจะขยายตวั เน่ืองจากมีเป้าหมายเปิดประเทศในปี 2565 คาดการณ์ว่าจะมีการ
นาเข้าและส่งออกสินค้าเพ่ิมข้ึน ประกอบกับมีการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ให้กับประชาชนเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันหมู่
ให้เกิดข้ึน และการเปิดจุดผ่านแดนถาวรภายใต้มาตรการความปลอดภัยจากโควิด การใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัวจาก
การลงทุนภาครัฐที่มีการเร่งรัดการเบิกจ่ายให้เป็นไปตามแผนงานโครงการของหน่วยงานที่ได้วางไว้ เพ่ือให้เม็ดเงินเข้าสู่ระบบ
เศรษฐกิจ และเพื่อเป็นการฟื้นฟูเศรษฐกจิ ซ่งึ คาดว่าจะมกี ารลงทะเบยี นบัตรสวัสดิการรอบใหม่ภายในต้นปี 2565 เพอื่ เป็นการ
คัดกรองผู้ที่มีคุณสมบัติตามท่ีโครงการกาหนด การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวเพ่ิมข้ึน จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ทจี่ ะมีเพิม่ ขน้ึ ตามมาตรการผ่อนคลายตามสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 สาหรบั การลงทนุ ภาคเอกชน คาดว่าจะ
ทรงตัวจากปีก่อน เน่ืองจากนักลงทุนบางส่วนยังรอดูสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 สายพันธ์ุใหม่ และบางส่วน
ยังไมส่ ามารถฟ้ืนตัวไดเ้ ต็มท่ี

2.2 ด้านเสถยี รภาพเศรษฐกิจ
สาหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร อัตราเงินเฟ้อท่ัวไปจังหวัด ในปี 2565 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3
(โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ 1.2-1.3) เพ่ิมข้ึนจากปีก่อนที่อยู่ท่ีร้อยละ 1.2 เน่ืองจากราคาน้ามันท่ีคาดว่าจะสูงข้ึนตามความ
ต้องการ เพราะการมีเป้าหมายเปิดประเทศทั้งไทยและประเทศต่าง ๆ ที่มีความพร้อมและต้องอาศัยภาคบริการเป็นตัว
ขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ภายใต้มาตรการความปลอดภัยจากโควิด 19 การจ้างงานในจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่าจะมีการ

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564

เมืองการคา้ ทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เช่อื มโยงสู่สากล

จ้างงานจานวน 200,072 คน หรือเพ่ิมขึ้น 3,796 คน จากปีก่อน (โดยมีช่วงคาดการณ์ 199,601 - 200,485 คน) คาดว่าจะ
เพ่ิมขนึ้ จากกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทสี่ ามารถดาเนินการได้ ตามมาตรการการผอ่ นคลาย ของ ศบค. เนอ่ื งจากมกี ารฉดี วัคซีนเพ่ือ
สร้างภมู คิ มุ้ กันหมู่ให้กบั ประชาชนไดเ้ พิ่มขนึ้

ปจั จัยสนับสนุนต่อระบบเศรษฐกิจของจังหวดั มกุ ดาหารในปี 2565
1. เปน็ เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษจังหวัดมกุ ดาหาร จากการได้รับประกาศจดั ตัง้ ให้เปน็ เขตพฒั นาเศรษฐกจิ

พิเศษ 1 ใน 5 จังหวัดแรก ทาให้มีการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ ได้แก่ ถนนสี่ช่องจราจร เน่ืองจากอยู่ในเส้นทางระเบยี ง
เศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East – West Economics Corridor : EWEC) หรือเส้นทางหมายเลข 9 (R9) และถนน
ในเขตจังหวัดมกุ ดาหารมกี ารปรับปรงุ ใหด้ ขี น้ึ

2. มีสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งท่ี 2 โดยได้รับการผลักดันให้เป็น “ท่าเรือบก” เป็นประตูเช่ือมโยงสู่
สากลได้ เนื่องจากมุกดาหารมีเส้นทางขนส่งสินค้าท่ีเช่ือมกับ สปป.ลาว เวียดนาม และจีนตอนใต้ และสามารถเช่ือมโยงไปยัง
ประเทศต่าง ๆ ได้โดยผา่ นเสน้ ทางนี้ ส่งผลใหม้ ีมลู ค่าการนาเข้า – ส่งออก เปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ ของประเทศ เน่ืองจากเป็นระยะทาง
ท่ีสะดวกและมีการบริหารจัดการที่ดี ทาให้การขนส่งสินค้ามีความสะดวกรวดเร็วเพราะมีการทา CCA ที่ด่านลาวบาว สาหรบั
การทา CCA ไทยและสปป.ลาว รอการอนุมตั จิ ากรฐั บาลกลางของ สปป.ลาว

3. มีโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรสาคัญในจังหวัด ได้แก่ โรงสขี า้ วขนาดใหญ่ โรงงานน้าตาล โรงงานแปรรูป
ยางพารา และโรงงานแป้งมันสาปะหลัง เพื่อรองรับผลผลิตจากเกษตรกรในจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียง โดยโรงสีข้าวมีความ
ต้องการรับซื้อข้าว จานวน 149,000 ตัน/ปี โรงงานน้าตาลมีกาลังการผลิต 26,000 ตันอ้อย/วัน โรงงานยางพารา มีปริมาณ
การรบั ซ้ือ จานวน 113,000 ตัน/ปี โรงงานผลิตแปง้ มนั สาปะหลัง มีความต้องการรับซื้อจานวน 250,000 ตัน/ปี

4. เป็นเขตสง่ เสรมิ เมอื งอัจฉริยะมุกดาหาร โดยกระทรวงดิจิตลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คม ประกาศให้จังหวัด
มุกดาหาร เป็นเขตส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ (Smart City มุกดาหาร) ประเภทเมืองเดิมน่าอยู่ (Liveable City) ได้แก่ สิ่งแวดล้อม
อัจฉรยิ ะ (Smart Environment) การเดนิ ทางและการขนสง่ อจั ฉริยะ (Smart Mobility) การดารงชีวิตอจั ฉรยิ ะ (Smart Living)
และเศรษฐกจิ อจั ฉริยะ (Smart Economy) ทาใหม้ โี ครงการท่เี ก่ยี วเน่ืองเพิ่มขนึ้

5. การฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ให้กับประชาชน และให้เป็นตัวขับเคล่ือน
เศรษฐกิจภายใตส้ ถานการณ์โรคโควดิ 19

6. การส่งเสริมปลูกพืชเศรษฐกิจใหม่ (กัญชงครบวงจร) โดยการลงทุนของบริษัทเอกชน และการทา
MOU กับสถาบันพระบรมราชชนก, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย และสถาบันอาหาร และ
เร่ิมปลกู ต้งั แตเ่ ดอื นกันยายน 2564

ปจั จยั เส่ียงต่อระบบเศรษฐกิจของจงั หวดั มกุ ดาหารในปี 2565
1. การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควดิ 19 แม้ว่าจะมกี ารฉดี วัคซนี สรา้ งภูมิคมุ้ กนั

หม่แู ล้ว แต่กต็ อ้ งระวงั เช้ือกลายพันธท์ุ อ่ี าจสง่ ผลกระทบต่อประชาชนได้ และปฏบิ ตั ิตามมาตรการความปลอดภัยของ สบค.
2. ความผันผวนของราคาน้ามันในตลาดโลก เน่ืองจากปัจจุบันประเทศผู้ผลิตและส่งออกน้ามัน

ยงั มคี วามขัดแย้งกนั และภาวะเศรษฐกจิ โลกที่ยังไม่แน่นอนจากการระบาดของโรคโควิด 19 สายพันธ์ใุ หม่
3. เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า และนโยบายการค้าของประเทศเพ่ือนบ้าน เนื่องจากจังหวัดมุกดาหาร

เป็นจงั หวัดชายแดน ทตี่ อ้ งอาศัยกาลงั ซ้อื จากประเทศเพ่อื นบา้ น เป็นสาคญั
4. ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตร เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดมุกดาหารประกอบอาชีพ

เกษตรกรรม หากราคาสินค้าเกษตรตกต่า ก็จะส่งผลต่อรายได้และกาลังซื้อของประชากรส่วนใหญ่ที่จะลดลง หากราคาสินคา้
เกษตรอยู่ในเกณฑด์ ีจะส่งผลทาใหเ้ ศรษฐกจิ ฐานรากของจังหวัดมีการขบั เคลือ่ นท่ดี ี

5. ภัยธรรมชาติ ที่เกิดจากสภาวะโลกร้อน (Global warming) ทาให้มีสภาพอากาศที่แปรปรวน ส่งผล
กระทบต่อการผลิตสินค้าเกษตร

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 7

เมืองการคา้ ทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล

ตารางสรุปสมมตฐิ านและผลการประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั มุกดาหาร ปี 2564 และแนวโน้ม ปี 2565
(ณ เดือนธนั วาคม 2564)

2560r 2561r 2562p 2563E 2564F (ณ เดือนธันวาคม 2564) 2565F (ณ เดือนธันวาคม 2564)
เฉลี่ย ช่วงคาดการณ์ เฉล่ีย ช่วงคาดการณ์

สมมตฐิ านหลกั 18.9 0.4 -0.4 -3.8 3.8 3.0 - 5.0 -3.3 -5.0 - -2.0

สมมติฐานหลักภายนอก
1) ปรมิ าณผลผลติ : ขา้ ว (รอ้ ยละตอ่ ป)ี

2) ปริมาณผลผลติ : มันสาปะหลงั (ร้อยละตอ่ ป)ี 46.1 -32.4 10.4 14.3 7.7 5.0 - 10.0 3.1 2.8 - 3.5

3) ปริมาณผลผลติ : ออ้ ยโรงงาน (รอ้ ยละตอ่ ป)ี -44.2 1.1 -4.1 -7.3 -8.8 -10.0 - -8.0 10.0 8.0 - 12.0

4) ปริมาณผลผลติ : ยางพารา (ร้อยละตอ่ ป)ี 35.3 -24.0 -10.0 22.3 7.3 6.5 - 8.0 2.4 2.0 - 3.0

5) ราคาขา้ วเฉลยี่ (บาท/ตนั ) 11,189 11,856 12,783 14,138 12,889 12,725 - 13,007 13,427 13,341 - 13,534

6) ราคามันสาปะหลงั (บาท/ตนั ) 1,323 1,930 1,810 1,809 1,975 1,954 - 1,990 2,038 2,015 - 2,054

7) ราคาออ้ ยโรงงาน (บาท/ตนั ) 920 739 622 709 757 744 - 766 802 795 - 810

8) ราคายางพารากอ้ นถว้ ย(บาท/ตนั ) 24,672 18,639 19,857 20,438 21,221 21,051 - 21,459 22,353 22,176 - 22,600

9) จานวนโรงงานภาคอตุ สาหกรรมการผลติ (โรง/แหง่ ) 364 362 344 131 132 132 - 133 133 133 - 134

10) จานวนทนุ จดทะเบยี นของอตุ สาหกรรม 5,192 6,590 6,557 6,500 6,591 6,565 - 6,630 6,760.47 6,723.12 - 6,789.03
การผลติ (ลา้ นบาท)

11) ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม(รอ้ ยละตอ่ ป)ี 0.6 4.0 6.6 3.1 4.3 3.5 - 5.0 2.5 2.0 - 3.0

12) รายไดจ้ ากภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละตอ่ ป)ี 2.2 -4.8 5.0 -1.0 7.5 7.0 - 8.0 7.2 6.5 8.0

12) ภาษมี ูลคา่ เพมิ่ การบรกิ ารโรงแรม (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 64.7 -0.5 -4.0 1.6 -3.8 -5.0 - -3.0 2.5 2.5 - 2.5

13) จานวนนักทอ่ งเท่ียวโดยเฉลยี่ ทผี่ า่ นเขา้ -ออกดา่ นตรวจคนเขา้ เมือง (คน) 1,028,301 987,775 1,099,699 338,080 244,545 236,656 - 253,560 266,798 264,108 - 268,999

14) จานวนผ้เู ยีย่ มเยอื นจังหวดั มุกดาหาร(คน) 1,985,893 2,120,289 2,108,025 869,560 757,966 739,126 - 782,604 826,941 818,604 - 833,763

15) ยอดขายสง่ ขายปลกี (ร้อยละตอ่ ป)ี -32.4 -14.9 35.3 -3.0 3.4 2.8 4.0 3.50 2.00 5.00

16) การจดทะเบยี นใหม่รถยนตน์ ่ังสว่ นบคุ คล 1,703 1,936 1,830 1,400 1,528 1,512 - 1,540 1,600 1,582 - 1,612
ไม่เกนิ 7 ทนี่ ่ัง (คนั )

17) การจดทะเบยี นใหม่รถจกั รยานยนต์(คนั ) 9,718 9,285 7,819 7,702 8,275 8,241 - 8,318 8,578 8,523 - 8,647

18) พนื้ ที่อนุญาตกอ่ สร้างในเขตเทศบาลเมือง (ตารางเมตร) 52,781 48,451 55,749 54,019 60,951 59,421 - 62,122 63,654 63,389 - 63,999

19) การจดทะเบยี นใหม่รถยนตเ์ พอื่ การพาณชิ ย์(คนั ) 1,149 1,113 1,061 915 936 929 - 947 957 950 - 964

20) สนิ เชือ่ เพอื่ การลงทนุ (ลา้ นบาท) 9,716 10,261 10,293 11,308 11,534 11,477 - 11,590 11,765 11,707 - 11,822
209,882 214,406 224,803 282,061 311,207 307,446 - 315,908 382,266 379,673 - 385,897
21) การคา้ ชายแดน มูลคา่ การสง่ ออกนาเขา้ เฉลย่ี (ลา้ นบาท)
(รอ้ ยละตอ่ ป)ี 57.1 2.2 4.8 25.5 10.3 9.0 - 12.0 22.8 22.0 - 24.0

สมมติฐานด้านนโยบาย

22) การเบกิ จ่ายงบประมาณ งบประจา(ลา้ นบาท) 7,061 6,388 7,631 7,893 8,196 8,130 - 8,248 8,965.94 8,933.15 - 9,015.11

(ร้อยละตอ่ ป)ี 40.6 -9.5 19.5 3.4 3.8 3.0 - 4.5 9.4 9.0 - 10.0

23) การเบกิ จ่ายงบประมาณ งบลงทนุ (ลา้ นบาท) 1,404 1,334 1,224 2,069 2,252 2,235 - 2,276 2,447 2,432 - 2,466

(ร้อยละตอ่ ป)ี -48.3 -5.0 -8.2 69.0 8.8 8.0 - 10.0 8.7 8.0 - 9.5

24) การเบกิ จา่ ยงบประมาณทอ้ งถ่ิน งบประจา(ลา้ นบาท) 2,074 2,146 2,146 2,146 2,261 2,254 - 2,275 2,381 2,374 - 2,396

(ร้อยละตอ่ ป)ี 146.0 3.5 0.0 0.0 5.3 5.0 - 6.0 5.3 5.3 - 6.0

25) การเบกิ จา่ ยงบประมาณทอ้ งถิ่น งบลงทนุ (ลา้ นบาท) 392 398 254 364 318 310 - 328 339 334 - 344

(รอ้ ยละตอ่ ป)ี 146.4 1.6 -36.1 43.3 -12.7 -15.0 - -10.0 6.7 5.0 - 8.0

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 8

เมอื งการคา้ ทันสมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเที่ยวชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

(ต่อ)

2560r 2561r 2562p 2563E 2564F (ณ เดือนธันวาคม 2564) 2565F (ณ เดือนธันวาคม 2564)
เฉล่ีย ช่วงคาดการณ์ เฉลี่ย ช่วงคาดการณ์
ผลการประมาณการ
1) อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ (ร้อยละ) 7.9 1.5 5.8 2.3 4.9 3.9 - 6.0 6.5 5.7 - 7.2
2) อตั ราการขยายตวั ของภาคเกษตรกรรม (รอ้ ยละ) 34.2 -23.1 -9.9 20.8 7.1 6.2 - 7.7 2.3 1.9 - 3.0
3) อตั ราการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละ) 1.3 2.4 5.6 -4.0 4.9 4.4 - 5.5 4.7 4.1 - 5.4
4) อตั ราการขยายตวั ของภาคบรกิ าร (รอ้ ยละ) -6.1 -5.7 13.3 -10.9 4.2 2.9 - 5.4 3.5 1.4 - 3.5
5) อตั ราการขยายตวั ของการบรโิ ภคภาคเอกชน (รอ้ ยละ) -0.6 -12.5 -27.1 -3.9 1.7 0.5 - 2.5 4.1 2.8 - 5.1
6) อตั ราการขยายตวั ของการลงทนุ ภาคเอกชน (ร้อยละ) 0.2 7.8 5.9 4.3 2.0 1.5 - 2.5 2.0 1.5 - 2.5
7) อตั ราการขยายตวั ของการใชจ้ ่ายภาครฐั (ร้อยละ) 33.1 -6.3 10.8 0.6 4.2 3.4 - 5.0 8.5 8.1 - 9.2
8) อตั ราการขยายตวั ของการคา้ ชายแดน (ร้อยละ) 57.1 2.2 4.8 25.5 10.3 9.0 - 12.0 22.8 22.0 - 24.0
9) อตั ราการขยายตวั ของรายไดเ้ กษตรกร (ร้อยละ) 26.5 -22.6 -10.6 28.5 2.6 0.6 - 4.2 6.7 5.5 - 8.2
10) อตั ราเงินเฟอ้ ทวั่ ไป (ร้อยละ) 0.3 0.6 5.6 0.1 1.2 1.1 - 1.2 1.3 1.2 - 1.3
11) จานวนผมู้ ีงานทา (คน) 193,972 196,270 193,359 193,445 196,276 195,687 - 196,855 200,072 199,601 - 200,485
-518 2,297 -2,911 86 2,831 2,242 - 3,410 3,796 3,325 - 4,209
เปลย่ี นแปลง (คน)

ทม่ี า : กลุ่มงานบริหารการคลังและเศรษฐกจิ สานักงานคลังจังหวัดมกุ ดาหาร
r = Revised : แกไ้ ข
p = Prelimenary : เบ้ืองตน้
E = Estimate : การประมาณการ
F = Forecast : การพยากรณ์

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 9

เมอื งการค้าทันสมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเท่ยี วชายโขง เช่อื มโยงสู่สากล

สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจจงั หวัดมกุ ดาหาร ปี 2564
(ณ เดือนธนั วาคม 2564)

1.ด้านการผลิต (Supply side) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ (5.3 – 7.0)
จากปีก่อนหน้าท่ีคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 9.8 โดยเป็นผลจากภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัวจากรายได้
ภาคอุตสาหกรรมที่คาดว่าจะเพิ่มข้ึน เน่ืองจากมีการทยอยฉีดวัคซีนทั้งในประเทศและท่ัวโลก ส่งผลให้ความเชื่อม่ัน
มแี นวโนม้ ดขี นึ้ ประกอบกบั โรงงานอตุ สาหกรรมน้าตาลในจงั หวัดมกี ารขยายกาลังการผลิตเพ่ิมขึ้น รวมทั้งจากยางพารา
มันและสาปะหลังที่มีความต้องการของตลาดปลายทางอย่างต่อเนื่อง ภาคบริการ คาดว่าจะขยายตัวจากปีก่อน
เนื่องจากปีก่อนมีการดาเนินมาตรการเข้มข้นมีมาตรการปิดเมือง (Lock down) ทาให้ไม่สามารถเดินทางท่องเท่ียวได้
สะดวกในช่วงเดือนเมษายน – มิถุนายน 2563 และมีการระบาดระลอก 2 ช่วงปลายปี ทาให้นักท่องเที่ยวลดลง
อย่างมาก สาหรับในปี 2564 มีการผ่อนคลายมาตรการโดยไม่ได้จากัดการเดินทางของประชาชน แต่ต้องปฏิบัติตาม
มาตรการความปลอดภัย ตามที่ ศบค. และตามประกาศของจังหวัด แม้ว่าจะมีการระบาดระลอกใหม่จากการกลายพันธุ์
ของเชื้อไวรสั ที่มคี วามรุนแรงในเขตพ้ืนที่กรุงเทพฯและปริมณฑล และจงั หวัดมุกดาหารเองก็ได้รับผลกระทบเพิ่มขึ้น อย่างไร
ก็ตามรัฐบาลยังมีมาตรการช่วยเหลือเยียวยาและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ทาให้มีเม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัดเพ่ิมขึ้น
ได้แก่ โครงการคนละคร่ึง โครงการเราชนะ โครงการเราเที่ยวด้วยกัน ซึ่งมีเม็ดเงินท่ีมาหมุนเวียนจากโครงการดังกล่าว
ของจังหวัดมุกดาหาร ประมาณ 4,000 ล้านบาท ประกอบกับมีการให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่าแก่ภาคธุรกิจ (soft loan)
การช่วยเหลือเกษตรกร จะช่วยพยุงเศรษฐกิจให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ ภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะขยายตัวจากปีก่อน
เนอ่ื งจากการขยายตวั ของปริมาณยางพารา และมนั สาปะหลงั ซง่ึ เป็นไปตามพนื้ ที่เก็บเก่ียวและความต้องการของตลาด
ปลายทาง เนื่องจากยางพาราเป็นช่วงที่ต้นยางให้ผลผลิต (น้ายาง) สูงประกอบกับราคาท่ีจูงใจและความต้องการของ
ตลาดปลายทางท่ีมีอย่างต่อเนื่อง ทั้งการส่งเสริมการใช้ยางพาราของภารัฐ การนาไปผลิตในภาคอุตสาหกรรม เช่น ยาง
รถยนต์ ถงุ มือยาง เปน็ ต้น สว่ นข้าวนาปีคาดว่าปรมิ าณเพิ่มขน้ึ จากปีกอ่ น และในปี 2565 คาดวา่ จะชะลอตวั ร้อยละ 2.8
ซ่ึงต้องรอประเมนิ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สายพนั ธุ์ใหม่ (โอมิครอน) อาจทาให้กระทบกับกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจในช่วงคร่ึงปีแรก อย่างไรก็ตามประชาชนส่วนใหญ่ได้รับวัคซีนเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ และมีเป้าหมายเปิด
ประเทศในปี 2565 ซึง่ จังหวดั มุกดาหารอาศัยกาลงั ซื้อส่วนใหญ่จากประเทศเพ่ือนบา้ น หากเปิดประเทศกจ็ ะให้กจิ กรรม
ทางเศรษฐกจิ การค้าและบริการต่าง ๆ ขยายตัวได้ดขี น้ึ

ประมาณการอตั ราการขยายตัวเศรษฐกิจจังหวดั มุกดาหาร (ดา้ นการผลิต)

50.0 43.7
40.0 37.6

30.0 18.2 22.3 21.6 20.8
20.0 12.5
9.8
%YOY 10.0 -17.8 -3.1 3.9 6.3 2.8

0.0
-10.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F
(ณ (ณ (ณ ปี
-20.0
กนั ยายน ธนั วาคม ธนั วาคม

-30.0 2564) 2564) 2564)

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 10

เมอื งการคา้ ทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เช่อื มโยงสู่สากล

1.1 ปริมาณผลผลิตข้าวนาปี ในปี 2564 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นที่ร้อยละ 3.8 (ทรงตัวจากที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือน
กันยายน 2564 ที่คาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 3.8) ขยายตัวจากปีก่อนที่หดตัวร้อยละ 3.8 โดยคาดว่าปีน้ีจะมี
ปริมาณน้าเพียงพอกับการทาการเกษตร ประกอบกับมีเทคโนโลยีและความรู้ด้านการเพิ่มผลผลิตเพ่ิมขึ้น และมีการ
บริหารจัดการอย่างเป็นระบบมากข้ึน และในปี 2565 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ 3.3 เน่ืองจากบางส่วนลดพ้ืนที่ปลูกข้าว
เน้นปลูกเพียงเพ่ือบริโภคในครัวเรือน และนาพ้ืนท่ีทาอย่างอื่น เช่น ปลูกหญ้าเล้ียงสัตว์ ซ่ึงจังหวัดมีการส่งเสริมให้
เกษตรกรเล้ยี งโคเน้อื โคขุน เนื่องจากมีตลาดรองรับที่แน่นอน ผลตอบแทนท่ีดสี ร้างมูลค่าเพ่มิ ได้มากกวา่ การทานา

ประมาณการอัตราการขยายตวั ของปริมาณผลผลติ ข้าว
30.0 27.7
20.0 18.9

10.0 6.1 0.4 -0.4 -3.8 3.8 3.8 -3.3
0.0 -17.8 -7.6 -8.4 -17.9

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F

-10.0 (ณ (ณ (ณ

-20.0 กนั ยายน ธันวาคม ธนั วาคม

2564) 2564) 2564)

-30.0

1.2 ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลัง ในปี 2564 คาดว่าจะชะลอตัวท่ีร้อยละ 7.7 (ทรงตัวกับท่ีคาดการณ์ไว้ ณ
เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ว่าจะชะลอตัวท่ีร้อยละ 7.7) เนื่องจากส่วนใหญ่เกษตรกรจะสลับสับเปล่ียนพ้ืนท่ี
ปลูกระหว่างมันสาปะหลังกับอ้อยโรงงาน ซึ่งในปีท่ีผ่านมาและปีนี้คาดว่าราคาอ้อยโรงงานจะมีราคาท่ีสูงขึ้น
แต่เกษตรกรก็ยังคงพ้ืนท่ีปลูกและใช้ความรู้และเทคโนโลยีเข้าช่วยเพิ่มปริมาณผลผลิตให้เพ่ิมขึ้น เนื่องจากตลาด
ปลายทางมีความต้องการอย่างต่อเน่ือง และในปี 2565 คาดว่าปริมาณผลผลิตจะเพิ่มข้ึนในอัตราชะลอลง เน่ืองจาก
มีการระบาดของโรคใบดา่ งมันสาปะหลัง อาจจะกระทบตอ่ ปรมิ าณผลผลติ ตอ่ ไร่

ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลติ มนั สาปะหลัง

60.0 46.1

40.0

%YOY 20.0 16.8 14.5 10.4 14.3 7.7 7.7 3.1
0.0 -36.2 -9.3 -15.2 -35.7 -32.4

-20.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F
(ณ (ณ (ณ ปี
-40.0 กนั ยายนธันวาคมธันวาคม

-60.0 2564) 2564) 2564)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 11

เมอื งการคา้ ทันสมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเที่ยวชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

1.3 ปริมาณผลผลิตอ้อยโรงงานในปี 2564 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ 8.8 (ลดลงจากที่คาดการณ์ไว้ ณ
เดือนกนั ยายน 2564 คาดการณว์ า่ จะขยายตวั ร้อยละ 5.7) ลดลงจากปกี อ่ นหน้าทห่ี ดตวั ร้อยละ 7.3 เนือ่ งจากพ้นื ที่ปลูก
และปริมาณการผลิตลดลง เน่ืองจากเกษตรกรบางส่วนปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสาปะหลัง และในปี 2565 คาดว่าจะ
เพ่มิ ข้ึนจากการสง่ เสรมิ ของโรงงานนา้ ตาลเพอ่ื ใหเ้ พยี งพอต่อกาลงั การผลติ ที่ขยายตวั

%YOY ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณผลผลิตอ้อยโรงงาน

80.0 67.2

60.0

40.0 34.8

20.0 -3.4 6.4 -22.9 -44.2 1.1 -4.1 -7.3 5.7 10.0
0.6 -8.8

0.0

-20.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F ปี
(ณ (ณ (ณ
-40.0 กนั ยายน ธันวาคม ธนั วาคม

-60.0 2564) 2564) 2564)

1.4 ปริมาณผลผลิตยางพาราในปี 2564 คาดว่าจะเพ่ิมขึ้นร้อยละ 7.3 (ขยายตัวจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือน
กันยายน 2564 ที่คาดการณ์ว่าจะชะลอตัวที่ร้อยละ 4.3 ) จากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 22.3 เนื่องจากความ
ต้องการของตลาดปลายทาง จากสถานการณโ์ รคโควดิ 19 เพื่อนาไปใช้อุตสาหกรรมผลิตถุงมือยาง ทาให้เปน็ ปจั จัยบวก
ใหร้ าคายางพาราปรับตัวดีขึ้น ตามความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ของยางพารายงั มีเพิ่มข้ึน ประกอบกับนโยบายของรัฐบาล
ท่ีส่งเสริมการใช้ยางพาราในประเทศเพิ่มขึ้น และในปี 2565 คาดว่าจะชะลอตัว จากปริมาณเปิดกรีดท่ียังทรงตัวจาก
ปีกอ่ น ประกอบกบั ราคาที่คาดวา่ จะทรงตัวจากปีก่อน

160.0 ประมาณการอตั ราการขยายตวั ของปริมาณผลผลติ ยางพารา
140.0 136.8

120.0

100.0

%YOY 80.0 54.7
60.0 53.5 52.4
40.0 34.2 35.3 22.3
20.0 16.5
0.0
-24.0 -10.0 4.3 7.3 2.4

-20.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F
(ณ (ณ (ณ ปี
-40.0
กันยายน ธนั วาคม ธนั วาคม

2564) 2564) 2564)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 12

เมอื งการคา้ ทนั สมัย เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

1.5 จานวนทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมการผลิต ในปี 2564 คาดว่าจะมี จานวน 6,591 ล้านบาท (เพ่ิมขึ้นจาก
ท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ประมาณ 6,450 ) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าที่มีทุนจดทะเบียน 6,500
ล้านบาท เนื่องจากมีการเพิ่มทุนจดทะเบียนของโรงงานน้าตาล เพื่อรองรับการเพ่ิมกาลังการผลิต จากวันละ 14,000
ตันอ้อย/วัน เป็น 26,000 ตันอ้อย/วัน โดยมีการทาสัญญากับเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยเพื่อรับซ้ือผลผลิตท้ังในจังหวัดและ
จังหวดั ใกล้เคยี งเพอ่ื ใหเ้ พียงพอตอ่ กาลงั การผลิตดงั กลา่ ว และในปี 2565 คาดวา่ จะเพิม่ ข้นึ จากเศรษฐกิจทมี่ ที ิศทางดีข้นึ

ประมาณการทุนจดทะเบยี นอตุ สาหกรรมการผลติ

8,000
7,000 6,590 6,557 6,500 6,450 6,591 6,760

6,000 4,485 4,529 4,685 5,155 5,192
5,000
4,382 4,360

4,000

3,000

2,000

1,000

0
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F

(ณ (ณ (ณ
กนั ยายน ธันวาคม ธนั วาคม

2564) 2564) 2564)

1.6 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวท่ีร้อยละ 4.3 (ทรงตัวจากที่
คาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 4.3) ขยายตัวจากปีก่อนหน้าท่ีร้อยละ 3.1 โดยโรงงาน
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในจังหวัดมุกดาหาร มีการขยายกาลังการผลิต อย่างไรก็ตามผู้ผลิตได้มีการลดต้นทุนด้านไฟฟ้า
ด้วยการผลิตไฟฟ้าชีวมวลจากเศษวัสดุเหลอื ใช้ในโรงงาน และบางส่วนใช้เองในกิจการและบางส่วนขายให้กับการไฟฟ้า
ฝา่ ยผลติ และในปี 2565 คาดวา่ จะชะลอตวั จากปกี ่อน เนื่องจากกาลงั การผลติ ยังทรงตัวจากปกี ่อน

ประมาณการอัตราการขยายตัวปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม

35.0 31.6
30.0

%YOY 25.0 22.7
20.0 16.7
15.0 13.1

10.0 4.0 6.6 4.3 4.3
5.0 -4.3 -2.7 0.6 3.1 2.5
0.0

-5.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F

-10.0 (ณ (ณ (ณ ปี
กนั ยายน ธนั วาคม ธันวาคม

2564) 2564) 2564)

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 13

เมอื งการค้าทนั สมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเท่ียวชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

1.7 รายได้ภาคอุตสาหกรรม ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 14.1 (เพิ่มข้ึนจากที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือน
กันยายน 2564 ที่คาดการณ์จะขยายตัวร้อยละ 12.7) ซ่ึงขยายตัวจากปีก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 1.0 เน่ืองจากเป็นไปตาม
ความต้องการของตลาดปลายทาง เช่น อุตสาหกรรมยางพาราที่มีความต้องการเพ่ิมข้ึนจากการผลิตถุงมือยางที่นาไปใช้
ทางการแพทย์ ประกอบกับมีการขยายกาลังการผลิตของโรงงานน้าตาลในจังหวัด และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัว
เนื่องจากเป็นไปตามความต้องการตลาดปลายทาง และเศรษฐกิจโลกที่มีทิศทางดีขึ้น ประกอบกับโรงงานแป้งมันสาปะหลัง
มแี ผนขยายกาลงั การเพ่ิม ตามความต้องการของตลาดปลายทาง

ประมาณการอัตราการขยายตวั รายไดภ้ าคอุตสาหกรรม

60.0 55.7 45.1 39.7
50.0
40.0

30.0 18.6 12.7 14.1
20.0 -1.0
10.0 2.6 -9.1 2.2 -4.8 5.0 8.8
0.0
-10.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F

-20.0 (ณ (ณ (ณ
มถิ นุ ายน กนั ยายน กันยายน

2564) 2564) 2564)

1.8 จานวนนักท่องเท่ียวโดยเฉลี่ยท่ผี ่านเข้า–ออกด่านตรวจคนเข้าเมือง ในปี 2564 คาดว่าจะลดลงร้อยละ 27.7 หรือ
มีจานวนนกั ทอ่ งเทย่ี วเฉล่ียประมาณ 244,545 คน (ทรงตัวจากทคี่ าดการณ์ไว้ ณ เดอื นกนั ยายน 2564 ท่คี าดการณ์จะมี
ประมาณ 244,545 คน) ลดลงจากปกี ่อนหน้าท่ีมจี านวน 338,080 คน โดยเป็นผลจากการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19
และมีมาตรการปิดประเทศห้ามเดินทางเข้าออกกรณีไม่มีความจาเป็น และอนุญาตให้ผ่านเข้าออกได้เฉพาะรถบรรทุก
สินค้าและกรณีมีเหตุจาเป็นตามที่ได้ขออนุญาตเท่าน้ัน และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มข้ึนจากมาตรการเปิด
ประเทศ ที่มีการฉดี วคั ซีนปอ้ งกันโรคโควดิ 19 และการดาเนนิ ชีวติ แบบ new normal

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 14

เมอื งการคา้ ทนั สมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

1.9 จานวนผู้เย่ียมเยือนจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่าจะลดลงร้อยละ 12.8 (ลดลงจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือน
กันยายน 2564 ที่คาดการณ์ไว้ลดลงร้อยละ 7.8) ลดลงจากปีก่อนหนา้ ที่ลดลงร้อยละ 58.8 เนอื่ งจากมีการระบาดระลอกใหม่ ไวรสั
มีการกลายพันธ์ุเรื่อย ๆ อย่างไรก็ตามได้มีการวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ภายในประเทศและต่างประเทศ โดยมีการผ่อนคลาย
มาตรการแต่คงไว้ซ่ึงความปลอดภัย เพ่ือให้เศรษฐกิจสามารถขับเคล่ือนไปควบคู่กันได้ ประกอบกับจังหวัดมีนโยบายการกระตุ้น
เศรษฐกิจ เชิญชวนนกั ทอ่ งเที่ยวตามความเช่ือเร่ืองพญานาค “มหัศจรรย์ มกุ ดาหาร 3 พิภพ” (Miracle Mukdahan) และรว่ มถวาย
บญุ กฐนิ 3 พภิ พแด่พระใหญ่ แรม 1 คา่ เดอื น 12 และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวเพ่ิมขนึ้ เนอื่ งจากมกี ารฉีดวคั ซีนป้องกันโรคโค
วดิ 19 และรัฐบาลมกี ารผ่อนปรนมาตรการเพอ่ื กระต้นุ เศรษฐกิจ ควบคู่ไปกบั วิถี new normal

1.10 ยอดการขายส่งขายปลีก ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.4 (ลดลงจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ
เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ขยายตัวท่ีร้อยละ 4.2) ขยายตัวจากปีก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 3.0 เนื่องจาก
มีโครงการกระต้นุ เศรษฐกิจจากภาครัฐ ไดแ้ ก่ โครงการเราชนะ โครงการคนละครึ่ง โครงการ ม.33 เรารักกนั และการเพิ่มกาลังซ้ือ
ให้กับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ซึ่งจากโครงการดังกล่าวสามารถอัดฉีดเม็ดเงินเข้าสู่ระบบได้ประมาณ 4,000 ล้านบาท
ทาให้กระตุ้นการใชจ้ ่ายผ่านประชาชนและเป็นการช่วยเหลอื ผู้ประกอบการร้านค้าให้มีความคลอ่ งตัวขึ้น และในปี 2565 คาดวา่
จะขยายตัวเพิม่ ขึน้ จากการฉดี วคั ซีนป้องกนั โควดิ 19 และเปา้ หมายเปดิ ประเทศ คาดว่าจะมีกิจกรรมทางเศรษฐกจิ เพิม่ ข้ึน

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 15

เมอื งการค้าทนั สมัย เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล

2. ด้านการใช้จ่าย (Demand side) คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 8.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ
(6.9 - 9.4) ชะลอตัวจากปีก่อนหน้าท่ีคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 26.7 คาดว่าจะมาจากการใช้จ่ายภาครัฐ โดยมีการเร่งรัด
เบิกจ่ายเงินเข้าระบบทั้งรายจ่ายประจาและรายจ่ายลงทุนผ่านหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือให้มีเม็ดเงินเข้าสู่ระบบและสาหรับ
โครงการกระตุ้นเศรษฐกจิ และเยียวยา ผ่านโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการคนละครึ่ง ท่ใี หว้ งเงนิ ผผู้ ่านเกณฑ์คนละ 3,500 บาท
และเพ่ิมให้อีก 1,500 บาท รวมเป็น 4,500 บาท/คน โครงการเราชนะ ที่มีการช่วยเหลือค่าครองชีพให้กับประชาชนที่ผ่าน
เกณฑ์ เป็นวงเงินคนละ 9,000 บาท ในครึ่งปีแรก และคร่ึงปีหลัง ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางที่ร่วมโครงการเราชนะอีกรายละ
200 บาท/เดือน โครงการเรารักกัน ที่ช่วยเหลือผู้ประกันตนมาตรา 33 รายละ 4,000 บาท และเพ่ิมวงเงินให้กับผู้ถือบัตร
สวัสดิการ 675 และ 700 บาท ให้กับผู้มีรายได้ไม่เกิน 100,000 บาท/ปี และผู้ที่รายได้ไม่เกิน 30,000 บาท/ปี โดยมีเม็ดเงิน
หมุนเวียนในจังหวัดมุกดาหาร จากโครงการดังกล่าวประมาณ 4,000 ล้านบาท เพื่อเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ
การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวเม่ือเทียบกับปีท่ีผ่านมา เน่ืองจากการผ่อนปรนการเดินทางของประชาชนโดย
สามารถเดินทางไปมาข้ามจังหวัดได้ และจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ เป็นการเพ่ิมกาลังซ้ือทาให้ประชาชนมี
การจับจ่ายใช้สอยเพ่ิมขึ้น โดยมีเครื่องช้ีสาคัญในช่วงครึ่งปีแรก ได้แก่ การจดทะเบียนรถยนต์ส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน และจด
ทะเบียนรถจักรยายนต์ เพิ่มข้ึน และคาดว่าการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ได้อย่างครอบคลุมจะทาให้เศรษฐกิจมีการ
ปรบั ตวั ดีขน้ึ กว่าปีก่อน สาหรบั การค้าชายแดน คาดวา่ จะขยายตวั ในอัตราชะลอลงจากปีท่ีผ่านมา เนื่องจากปีทผ่ี ่านมามีการ
ขยายตัวในอัตราท่ีสูงมากจากการที่ผู้ประกอบการขนส่งเลือกใช้เส้นทางนาเข้า – ส่งออก ผ่านด่านมุกดาหาร เน่ืองจากมีพิธี
การข้ันตอนและระยะเวลาไม่นานเมื่อเทียบกับด่านอ่ืนท่ีมีเส้นทางใกล้เคียงกัน เนื่องจากเป็นเส้นทาง EWEC และมีสินค้า
อุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกัน การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะชะลอตัวเม่ือเทียบกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากนักลงทุนรอดูทิศทาง
ของเศรษฐกิจและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของหน่วยงานภาครัฐ ประกอบกับการเข้าถึงสินเชื่อในเชิงปฏิบัติมีข้ันตอน
ท่ีค่อนข้างซับซ้อน ทาให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ไม่เต็มที่ และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มข้ึน จากการฉีดวัคซีนป้องกัน
โรคโควิด 19 ให้กับประชาชน การผ่อนคลายมาตรการ และเป้าหมายการเปิดประเทศ ในปี 2565 และมาตรการกระตุ้นและ
ฟืน้ ฟเู ศรษฐกิจของภาครฐั

ประมาณการอตั ราการขยายตวั เศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร (ด้านการใชจ้ า่ ย)

50.0 46.7

40.0 32.5
32.6 25.9

30.0

20.0 14.7 17.8 17.8

%YOY 10.0 6.5 8.4 8.0

0.0 -10.1 -0.6 0.3 ปี

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F

-10.0 (ณ (ณ (ณ

กันยายน ธนั วาคม ธันวาคม

-20.0 2564) 2564) 2564)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 16

เมืองการค้าทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเท่ียวชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

2.1 ภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ีจัดเก็บได้ (ไม่รวมด่านศุลกากร) ในปี 2564 คาดว่าจะหดตัวท่ีร้อยละ 1.8 (ทรงตัวจากที่
คาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ที่คาดการณ์จะหดตัวที่ร้อยละ 1.8) ซ่ึงมาจากผู้ประกอบการรายใหญ่ในจังหวัด
มียอดขายสินค้าลดลง โดยได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ระลอกใหม่ และในปี 2565 คาดว่าจะ
ขยายตัว เนือ่ งจากการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ไดค้ รอบคลมุ ยิ่งขึ้น และเปา้ หมายการเปิดประเทศทาให้กาลังซ้ือจาก
ประเทศเพื่อนบ้านกลับมาขยายตัวเพม่ิ ขน้ึ

ประมาณการอตั ราการขยายตวั ภาษมี ูลคา่ เพิ่มท่ีจัดเกบ็ ได้ (ไม่รวมด่านศลุ กากร)

60.00
50.00 48.1

40.00

30.00 25.4 21.2 16.4
20.00 10.0
%YOY 10.00 7.9 3.8
0.00 -8.3
-10.00 -1.4 -20.3 -36.4 -1.8 -1.8

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F

-20.00 (ณ (ณ (ณ
กนั ยายน ธันวาคม ธันวาคม
-30.00 2564) 2564) 2564) ปี

-40.00

-50.00

2.2 จานวนการจดทะเบียนใหม่รถยนต์น่ังส่วนบุคคลไม่เกิน 7 ที่น่ัง ในปี 2564 คาดว่าจะมีประมาณ 1,528 คัน
(ลดลงจากที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ที่คาดการณ์ไว้ประมาณ 1,647 คัน) เพิ่มข้ึนจากปีก่อนหน้าที่มีจานวน
1,400 คัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.2 เน่ืองจากบริษัทหรือตัวแทนจาหน่ายรถยนต์ค่ายต่าง ๆ มีกิจกรรมส่งเสริมการขาย
ออกมากระตุ้นยอดการจาหน่ายจูงใจผู้ซ้ือมากขึ้น ทาให้จูงใจผู้ท่ีต้องการซ้ือรถยนต์ท่ียังพอมีกาลังซ้ือในช่วงน้ี ประกอบ
กับสถิติการจดทะเบียนรถปีที่ผ่านมาอยู่ในระดับท่ีไม่สูงมากนัก ส่งผลให้อัตราการขยายตัวมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน และในปี
2565 คาดวา่ จะขยายตัว เน่ืองจากเศรษฐกจิ กลบั มาฟื้นตัวหลังจากการระบาดของโรคโควดิ 19

จานวนการจดทะเบยี นใหมร่ ถยนต์นัง่ ส่วนบุคคลไมเ่ กนิ 7 ท่ีน่งั

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 17

เมืองการค้าทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเที่ยวชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

2.3 จานวนการจดทะเบียนใหม่รถจักรยานยนต์ ในปี 2564 คาดว่าจะมีประมาณ 8,275 คัน หรือเพ่ิมข้ึน
ร้อยละ 8.8 (ลดลงที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ที่คาดการณ์ไว้ประมาณ 8,382 คัน) เพ่ิมข้ึนจากปีก่อนที่มี
จานวน 7,702 คัน เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรหลักของจังหวัดมีแนวโน้มที่ดีข้ึน ได้แก่ ยางพารา มันสาปะหลัง
อ้อยโรงงาน เป็นสาคัญ ประกอบกับมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายของตัวแทนผู้จัดจาหน่าย เพื่อจูงใจลูกค้าเพ่ิมข้ึน
และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มข้ึนตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น และราคาสินค้าเกษตร
สาคัญในจังหวัดทีค่ าดวา่ จะเพ่มิ ขน้ึ ตามความตอ้ งการของตลาดปลายทาง

จานวนการจดทะเบียนใหมร่ ถจักรยานยนต์ ร้อยละ

2.4 จานวนพื้นที่อนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลเมือง ในปี 2564 คาดว่าจะมีประมาณ 60,951 ตารางเมตร
หรอื เพม่ิ ขึ้นร้อยละ 12.7 (ทรงตัวจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกนั ยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ประมาณ 55,640 ตารางเมตร)
ขยายตัวจากปีก่อนที่หดตัวร้อยละ 3.1 เนื่องจากมีการก่อสร้างทั้งโครงการบ้านจัดสรรของเอกชนเพ่ิมข้ึน ท้ังในรูปแบบ
การขยายโครงการเดิมและแบบเนน้ โครงการขนาดเล็ก สร้างในพนื้ ที่วา่ งของชมุ ชนเดมิ ในเขตเทศบาลเมอื ง ประกอบกับ
การก่อสร้างท่ีเป็นงบรายจ่ายลงทุนของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจและเพ่ิมการจ้างงาน เป็นสาคัญ
และในปี 2565 คาดวา่ จะขยายตวั เพม่ิ ข้ึน ตามเศรษฐกิจทีค่ าดว่าจะฟืน้ ตัว

พน้ื ที่อนญุ าตก่อสร้างในเขตเทศบาลเมือง ร้อยละ

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 18

เมอื งการค้าทนั สมัย เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเท่ยี วชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

2.5 สินเช่ือเพ่ือการลงทุนของจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่าจะมีจานวน 11,534 ล้านบาท (ทรงตัวจาก
ที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ประมาณ 11,534 ล้านบาท) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 เนื่องจาก
รัฐบาลมีมาตรการช่วยเหลือภาคธุรกิจที่ได้รับผลกร ะทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโวคิด 19 ในรูปแบบ
สินเชื่อดอกเบี้ยต่า (Soft Loan) เพื่อช่วยให้มีเงินลงทุนและเสริมสภาพคล่องในการดาเนินธุรกิจเพิ่มขึ้น เพ่ือให้มีการ
จ้างงานในระบบเศรษฐกิจ และกระตุ้นเศรษฐกิจให้มีการขับเคลื่อนต่อไป และในปี 2565 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากการฟืน้ ฟู
กจิ การเพ่อื รองรับการผ่อนปรนมาตรการและการเตรียมเปิดประเทศ ท่จี ะทาให้ภาคบรกิ ารและการท่องเที่ยวปรับตวั ดีขึน้

ประมาณการสนิ เชอ่ื เพ่ือการลงทนุ จงั หวดั มุกดาหาร ร้อยละ

2.6 การจดทะเบียนใหม่รถยนต์เพ่ือการพาณิชย์ ในปี 2564 คาดว่าจะมีจานวนท้ังส้ิน 936 คัน หรือเพิ่มขึ้น
รอ้ ยละ 2.3 (ทรงตัวกบั ที่คาดการณ์ไว้ ณ เดอื นกนั ยายน 2564 ทีค่ าดการณ์ไว้ประมาณ 936 คนั หรือเพ่มิ ขึน้ รอ้ ยละ 2.3)
เพ่ิมข้ึนจากปีก่อนหน้าท่ีมีจานวน 915 คัน เนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 ทาให้ภาคการขนส่งเอกชนขยายตัว
โดยเฉพาะธุรกิจการขายออนไลน์ ประกอบกับมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขยายของบริษัทตัวแทนค่ายรถต่าง ๆ
เพอื่ จูงใจลูกค้าให้ซอ้ื รถเพม่ิ ข้ึน และในปี 2565 คาดว่าจะเพม่ิ ขึ้นตามเศรษฐกจิ ท่ีมีทิศทางดขี ้นึ

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 19

เมืองการค้าทันสมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

2.7 การค้าชายแดน ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 10.3 (ทรงตัวกับที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน
2564 ท่คี าดการณ์ว่าจะขยายตวั ร้อยละ 10.3) ชะลอตัวจากปกี ่อนหน้าทขี่ ยายตัวร้อยละ 40.0 โดยเป็นการขยายตัวของ
สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ พลังงานฟ้า น้ามันเชื้อเพลิง เน่ืองจากด่านศุลกากรยังเปิดให้บริการสาหรับการขนส่งสินค้า
ได้ตามปกติ ประกอบกับผู้ประกอบการขนส่งมาใช้เส้นทางผ่านสะพานมิตรมุกดาหาร-สะหวันนะเขต เพ่ิมขึ้น เนื่องจาก
มีการอานวยความสะดวกในการขนส่งมากกว่าด่านอ่ืน แม้ว่าจะมีมาตรการเข้มงวดด้านสาธารณสุขจากการแพร่ระบาด
ของโรคโควิด 19 เพ่ิมขึ้นก็ตาม แต่ตัวเลขการนาเข้าสง่ ออก ของปี 2564 ยังมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนตามลาดับ และในปี 2565
คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มข้ึนตามปัจจัยของเศรษฐกิจโลกที่คาดว่าจะขยายตัว ความต้องการนาเข้า – ส่งออกสินค้าต่างๆ
เพิ่มขึ้น

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 20

เมอื งการคา้ ทันสมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเที่ยวชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

2.8 การใช้จ่ายภาครัฐ ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.2 (ทรงตัวกับท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564
ที่คาดการณ์ไว้ท่ีร้อยละ 4.2) ขยายตัวจากปีก่อนหน้าท่ีชะลอตัวร้อยละ 0.6 เนื่องจากมีการเร่งรัดการเบิกจ่าย
งบประมาณให้เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ เพ่ือเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจให้ขับเคล่ือนต่อไป และในปี 2565 คาดว่าจะ
ขยายตัวเพิ่มข้นึ เน่ืองจากมีการฟื้นฟแู ละกระตนุ้ เศรษฐกจิ หลังการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 พร้อมทงั้ มเี ปา้ หมายเปิด
ประเทศในปี 2565 คาดวา่ จะมีการเบกิ จ่ายเม็ดเงนิ เขา้ สู่ระบบไดเ้ พมิ่ ขนึ้

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 21

เมืองการค้าทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กาหนดเป้าหมายการใช้จ่ายงบประมาณภาพรวมไว้ท่ีร้อยละ 100 ของวงเงิน

งบประมาณในภาพรวม และเป้าหมายการใช้จ่ายงบลงทุนไว้ที่ร้อยละ 100 ของวงเงินงบประมาณงบลงทุน

โดยเป้าหมายการใช้จ่ายรายไตรมาสประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เปน็ ดังนี้

เปา้ หมายการใช้จ่ายงบประมาณ ภาพรวม (ร้อยละ) งบลงทุน (ร้อยละ)

ไตรมาส 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 34.08 28.96

ไตรมาส 2 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 56.24 58.15

ไตรมาส 3 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 81.74 81.65

ไตรมาส 4 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 100.00 100.00

สาหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมได้ท้ังส้ิน 11,413.01 ล้านบาท
โดยรายจ่ายประจาคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 8,965.94 ล้านบาท ซึ่งผลการเบิกจ่ายรายจ่ายประจาสะสมต้ังแต่
ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนธันวาคม 2564 (ตุลาคม 2564 – ธันวาคม 2564) มีจานวนทั้งส้ิน 310.19 ล้านบาท
คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 57.46 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาท่ีได้รับจัดสรร สาหรับรายจ่ายลงทุน
คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 2,447.07 ล้านบาท โดยผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง
เดือนธันวาคม 2564 (ตุลาคม 2564 – ธันวาคม 2564) มีจานวนทั้งสิ้น 313.41 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเบิกจ่าย
รอ้ ยละ 20.50 ของวงเงินงบประมาณรายจา่ ยลงทนุ ทไี่ ดร้ บั จัดสรร

ตารางแสดงผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
คาดการณ์
ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ ผลการ ร้อยละ เป้าหมาย สูงกว่า/ตา่ กว่า
สะสมตงั้ แต่ตน้ ปี คาดการณ์ การ การใชจ้ ่าย เป้าหมาย
งบประมาณจัดสรร งปม.จนถึงเดอื น การเบิกจ่าย เบิกจ่าย ปีงปม. งบประมาณ
เบิกจ่าย
ธ.ค.64 2565

1. งบประมาณประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

รายจ่ายประจา 539.80 310.19 57.46 8,965.94 98.0 100 ตา่ กวา่ เปา้ หมาย

รายจ่ายลงทุน 1,528.82 313.41 20.50 2,447.07 75.0 100 ต่ากวา่ เปา้ หมาย

รายจา่ ยภาพรวม 2,068.62 623.60 30.15 11,413.01 93.0 100ตา่ กวา่ เป้าหมาย

2. งบประมาณเหลอื่ มปี

ปงี บประมาณ พ.ศ.2564 627.90 278.66 44.38 - -- -

กอ่ นปงี บประมาณ พ.ศ 2564 - -- - -- -

รวมงบเหลอื่ มปี 627.90 278.66 44.38 - -- -

3.รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 2,696.52 902.26 33.46 - -- -

หมายเหตุ : งปม.2565 งบประจาจา่ ยตรงเงนิ เดอื น บานาญ (ต.ค.64- ธ.ค.64) 1,735.77 ลา้ นบาท

ทมี่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ ส์

หมายเหตุ : ไมร่ วมการเบกิ จา่ ยตรงจากกรมบญั ชกี ลาง

สาหรับการเบิกจ่ายรายจ่ายประจาท่ีเบิกจ่ายตรงโดยกรมบัญชีกลาง ประเภทเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง
ค่าจ้างประจา และค่าตอบแทน ของจังหวัดมุกดาหารปีงบประมาณ 2565 (ตุลาคม 2564 – ธันวาคม 2564)
มีจานวน 1,735.77 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจากช่วงเดียวกันปีก่อน 78.07 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.71
ดังนั้น งบประจารวมทั้งที่เบิกผ่าน GFMIS และเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลาง ต้ังแต่ตุลาคม 2564 -เดือนธันวาคม
2564 เปน็ จานวนเงนิ 2,045.96 ลา้ นบาท

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 22

เมอื งการค้าทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทยี บกับ
เป้าหมายการใช้จา่ ยงบประมาณสะสมตงั้ แต่ตน้ ปงี บประมาณจนถึงเดือนธนั วาคม 2564

ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณภาพรวม

120.00

100.00 87.83 93.91 100.00
80.00 81.74
60.00 73.24
40.00 64.74
48.85 56.24
34.08 41.47

20.00 11.36 22.72 30.15
23.14

0.00 10.79

ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 มี.ค.-65 เม.ย.-65 พ.ค.-65 ม.ิ ย.-65 ก.ค.-65 ส.ค.-65 ก.ย.-65
เปา้ หมาย ผลการเบกิ จ่าย

ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงนิ การคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทยี บกับ
เป้าหมายการใช้จา่ ยงบประมาณสะสมตง้ั แต่ตน้ ปีงบประมาณจนถึงเดือนธนั วาคม 2564

ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณลงทุน

120.00 58.15 65.98 73.82 81.65 87.77 93.88 100.00
100.00
80.00 38.69 48.42
60.00
40.00 19.31 28.96
20.00
9.65 14.84 20.50
0.00 11.40

ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 มี.ค.-65 เม.ย.-65 พ.ค.-65 ม.ิ ย.-65 ก.ค.-65 ส.ค.-65 ก.ย.-65

เป้าหมาย ผลการเบิกจา่ ย

ท่มี า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 23

เมอื งการคา้ ทันสมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

3. ด้านรายได้เกษตรกร ในปี 2564 คาดว่าจะชะลอตัวท่ีร้อยละ 2.6 (สูงกว่าท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน
2564 ท่ีคาดการณ์ว่าจะหดตัวร้อยละ 1.9) ชะลอตัวจากปีก่อนหน้าท่ีขยายตัวร้อยละ 28.5 เป็นผลจากราคาสินค้า
เกษตรหลัก ได้แก่ ข้าวนาปี ซึ่งมีราคาตกต่า จากความสามารถในการส่งออกข้าวของประเทศลดลง เน่ืองจากการ
ขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ที่ใช้ขนส่งสินค้าไม่เพียงพอ จากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และจากการแพร่
ระบาดทาให้การท่องเที่ยวภายในประเทศหดตัว นักท่องเท่ียวต่างประเทศหายไปจานวนมาก ทาให้กาลังซ้ือส่วนนี้
หายไป ในขณะท่ีผลผลิตยางพาราและมันสาปะหลังมีปริมาณออกสู่ตลาดเพิ่มข้ึน เนื่องจากราคาที่ปรับตัวดีข้ึน
ตามความต้องการของตลาดปลายทาง และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มข้นึ ตามความต้องการของตลาดปลายทาง
เศรษฐกจิ ท่คี าดวา่ จะเติบโตเพิม่ ขึ้น

3.1 ราคาข้าวเฉล่ียจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่าอยู่ที่ระดับราคา 12,889 บาท/ตัน (ทรงตัวจาก
ท่คี าดการณ์ไว้ ณ เดอื นกนั ยายน 2564 ที่คาดการณ์ไว้ทรี่ ะดบั ราคา 12,889 บาท/ตนั ) ลดลงจากปกี อ่ นประมาณ 1,249
บาท/ตัน จากราคาเฉลี่ยตันละ 14,138 บาท โดยเป็นไปตามความต้องการของตลาดปลายทาง สถานการณ์
การท่องเที่ยวภายในประเทศที่ยังไม่ฟื้นตัวเท่าที่ควร ทาให้ความต้องการในส่วนนี้หายไป ประกอบกับการส่งออก
ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ตู้คอนเทนเนอร์ที่ใส่สินค้าไม่เพียงพอ ส่งผลให้ศักยภาพ
การส่งออกลดลง และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวตามความต้องการของตลาดปลายทาง เนื่องจากพื้นท่ี
เพาะปลูกข้าวบางจังหวัดประสบปัญหาน้าท่วมทาให้ผลผลิตเสียหาย ราคาข้าวอาจปรับตัวข้ึนเล็กน้อย

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 24

เมอื งการค้าทนั สมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเท่ียวชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล
3.2 ราคามันสาปะหลังเฉล่ียจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่าอยู่ที่ระดับราคา 1,879 บาท/ตัน (สูงกว่า
ท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนมิถุนายน 2564 ที่คาดการณ์ไว้ที่ระดับราคา 1,872 บาท/ตัน) เพ่ิมข้ึนจากปีก่อน 70 บาท/ตัน
จากราคาเฉลี่ยตันละ 1,809 บาท เน่ืองจากความต้องการของตลาดปลายทางเพิ่มข้ึนตามสถานการณ์โรคโควิด 19
โดยสามารถนาไปผลิตเอทานอลและแอลกอฮอล์ได้ และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้น จากความต้องการของตลาด
ปลายทางท่ยี ังมเี พิ่มข้ึน จากการเปิดประเทศทาให้การค้าทาไดส้ ะดวกข้ึน

3.3 ราคาอ้อยโรงงานจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่าอยู่ท่ีระดับราคาเฉลี่ย 757 บาท/ตัน (ทรงตัวจาก
ที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ที่ระดับราคาเฉลี่ย 757 บาท/ตัน) เพ่ิมขึ้นจากปีก่อน 48 บาท/ตัน
จากราคาเฉลี่ยตันละ 709 บาท เน่ืองจากปริมาณสต๊อกน้าตาลในตลาดโลกและในประเทศลดลง โดยเฉพาะน้าตาล
ในประเทศทม่ี ปี ริมาณลดลง เนอ่ื งจากภยั ธรรมชาติในหลายพ้นื ท่ีติดต่อกันหลายปี ทาให้ผลลผิตลดลง ประกอบกับความ
ต้องการเพื่อนาไปผลิตเอทานอลและแอลกอฮอล์ที่ใช้ในสถานการณ์โรคโควิด 19 มีเพ่ิมข้ึน และในปี 2565 คาดว่าจะ
ขยายตัวจากเศรษฐกจิ โลกท่ีจะฟนื้ ตวั ความต้องการตลาดปลายทางมีเพ่มิ ขึ้น

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 25

เมอื งการค้าทันสมัย เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เช่อื มโยงสู่สากล

3.4 ราคายางพาราก้อนถ้วยจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่าอยู่ที่ระดับราคาเฉล่ียตันละ 21,221 บาท
(เพ่ิมข้ึนจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ท่ีระดับราคาเฉล่ียตันละ 21,119 บาท) เพ่ิมข้ึนจาก
ปีก่อน 783 บาท/ตัน จากราคาเฉลี่ยตันละ 20,438 บาท เน่ืองจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ส่งผลต่อ
ความต้องการยางพารามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมถุงมือยาง ส่งผลให้ความต้องการยางพาราของตลาด
ปลายทางเพ่ิมข้ึน ประกอบกับรัฐบาลมีการส่งเสริมให้ใช้ยางพาราในประเทศ สาหรับการก่อสร้างถนนเอสฟัลติกเพ่มิ ขนึ้
และในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มข้ึนตามความต้องการของตลาดปลายทาง และเศรษฐกิจที่คาดว่าจะขยายตัว
เพ่ิมขน้ึ

ประมาณการราคายางพารา ร้อยละ

หมายเหตุ : เรม่ิ ใชร้ าคายางกอ้ นถว้ ยตัง้ แต่ปี 2559 เป็นต้นไป

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 26

เมืองการค้าทันสมยั เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเที่ยวชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล

4. ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 1.2
(ทรงตัวจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 1.2) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนท่ีอยู่ที่รอ้ ยละ 1.8
โดยปรับเพ่ิมขึ้นหมวดอาหารและเครื่องดื่ม โดยเพิ่มจากหมวด เน้ือสัตว์ เป็ดไก่และสัตว์น้า และอาหารบริโภคในบา้ น
เป็นสาคัญ เน่ืองจากการแพร่ระบาดของโควิด 19 ระลอก 3 ทาให้ผู้บริโภคลดการใช้ชีวิตภายนอกบ้านลง ส่งผลให้
ดัชนีในหมวดดังกลา่ วมีการปรับตวั เพิ่มข้ึน ประกอบกับราคาน้ามันเช้ือเพลงิ ทผ่ี ันผวนในระดับสูง เมอ่ื เทยี บกบั ปีที่ผ่าน
มาที่ราคาลดต่าเป็นประวัติการณ์ เน่ืองจากความต้องการของทั่วโลกลดลงอย่างรวดเร็วจากสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคโควิด 19 ในปี 2563 และในปี 2565 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจจังหวดั ท่ีคาดวา่
จะขยายตวั จากการเปิดประเทศ ทาใหก้ จิ กรรมทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆกลับมาดาเนนิ การได้ โดยเฉพาะภาคการทอ่ งเที่ยว
และบริการ เปน็ สาคญั

5.00 4.7 ประมาณการอัตราการขยายตัวอตั ราเงินเฟ้อทัว่ ไปจังหวัดมุกดาหาร

4.00 3.3

3.00 2.2 2.2 1.9 1.8
2.00 1.2 1.2 1.2 1.3
1.00
0.3 0.6
0.00 -0.2
-1.00 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F

(ณ (ณ (ณ

กนั ยายน ธนั วาคม ธันวาคม

2564) 2564) 2564)

5. การจ้างงานในจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2564 คาดว่ามีการจ้างงานจานวน 196,276 คน หรือเพิ่มขึ้น

จากปีก่อน ท่ีมีจานวน 193,445 คน (สูงกว่าท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนกันยายน 2564 จานวน 195,578 คน) เพ่ิมขึ้น

เน่ืองจากมีมาตรการส่งเสริมการจ้างงานของภาครัฐผ่านโครงการของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น การจ้างบัณฑิตจบใหม่ท่ีได้รับ

ผลกระทบจากโควิด 19 การจ้างงานในบริษัทเปิดใหม่ในพ้ืนท่ี เช่น บริษัทผลิตกัณชงครบวงจร เป็นต้น รวมทั้งการส่งเสริมการ

จ้างงานของภาคเอกชนโดยการสนับสนุนจากภาครัฐ ส่งผลให้มีการจ้างงานในพื้นท่ีเพิ่มขึ้น และในปี 2565 คาดว่าจะมีการ

จ้างงานเพม่ิ ขึ้นจากหลายกจิ การ ไดแ้ ก่ การกอ่ สรา้ งในจงั หวัด ปั้มน้ามันเปดิ ใหม่ รา้ นอาหารเวยี ดนามเปิดใหม่ เป็นสาคัญ

10,000 7,534 ประมาณการเปล่ยี นแปลงจานวนผมู้ งี านทา

5,000 -1,091 -1,285 -12,578 -2,207 -1,746 -518 2,297 -2,911 86 2,133 2,831 3,796
0
ปี
-5,000
คน -10,000 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564F 2564F 2565F

(ณ (ณ (ณ
กนั ยายน ธันวาคม ธนั วาคม
2564) 2564) 2564)

-15,000

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 27

ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโน้มข

เคร่ืองชี้ หนว่ ย 2554 2555 2556 2557 2558 2

Economic Growth การเจรญิ เติบโตของเศรษฐกจิ Million Baht 19,304.98 19,725.75 22,372.49 21,898.33 22,082.95 23,
GPP Current Prices (GPP ณ ราคาประจาปสี ภาพฒั น)์ %YoY 21.6 2.2 13.4 -2.1 0.8
Person
Population (จานวนประชากร) %YoY 362,682 368,232 373,783 379,336 384,884 3
1.6 1.5 1.5 1.5 1.5
GPP Per Capita (รายไดต้ อ่ หวั สภาพฒั น)์ Baht/Person/Year
GPP Chain Volume Measures (CVM) Million Baht 53,228.4 53,568.8 59,854.2 57,728.1 57,375.6 60
%YoY 10,798.0 12,497.6 12,576.9 13,932.7 14,134.0 14
Agriculture (ภาคการเกษตร) %YoY
Industry (ภาคอตุ สาหกรรม) %YoY 15.7 0.6 10.8 1.4 3.4
Service (ภาคบรกิ าร) %YoY 20.1 35.5 109.8 30.0 14.2
Private Consumption (ภาคการบริโภค) %YoY 29.1 20.0 23.3 12.4 6.1
Private Investment (ภาคการลงทนุ ) %YoY 14.3 14.1 -2.5 10.9 11.6
Government Expenditure (ภาคการใชจ้ ่ายภาครฐั ) %YoY 23.3 39.8 30.2 -0.2 1.2
Border Trade (ภาคการคา้ ชายแดน) %YoY 16.5 22.4 19.9 7.4 52.9
Farm Income (รายไดเ้ กษตรกร) %YoY 17.6 12.7 5.0 14.6 -7.0
Economic Stabilities เสถยี รภาพเศรษฐกจิ 84.1 35.6 -39.1 11.0 21.4
Inflation rate (อตั ราเงินเฟอ้ ) %p.a. 33.2 23.9 105.7 21.0 7.3
GPP Deflator (ระดบั ราคา) %YoY
Employment (การจา้ งงาน) Person 4.7 2.2 2.2 3.3 -0.2
YoY 5.83 1.55 2.64 -3.56 -2.72
213,398 212,306 211,021 198,443 196,236 1
7,534 -1,091 -1,285 -12,578 -2,207

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564

เมืองการค้าทันสมัย เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล
ของจังหวดั มุกดาหาร ปี 2564 และแนวโน้ม ปี 2565

2559r 2560r 2561p 2562E 2563E 2564F 2565F
MIN CONSENSUS MAX MIN CONSENSUS MAX

,636.09 26,106.01 25,583.50 27,315.92 27,852.6 29,266.4 29,583.8 29,896.2 31,612.8 31,867.5 32,092.3
7.0 10.4 -2.0 6.8 2.0 5.1 6.2 7.3 6.9 7.7 8.5

391,302 397,820 404,088 410,158 406,189 407,895 408,301 408,708 405,366 406,178 406,587
1.7 1.7 1.6 1.5 -1.0 0.4 0.5 0.6 -0.6 -0.5 -0.4

0,403.7 65,622.7 63,311.7 66,598.5 68,570.5 71,749.9 72,455.7 73,148.0 77,985.7 78,457.0 78,931.0
4,615.5 15,044.5 16,236.4 16,487.8 17,442.2 18,125.0 18,304.2 18,480.4 19,351.3 19,499.7 19,629.6

2.9 7.9 1.5 5.8 2.3 3.9 4.9 6.0 5.7 6.5 7.2
50.2 34.2 -23.1 -9.9 20.8 6.2 7.1 7.7 1.9 2.3 3.0
-2.8 1.3 2.4 5.6 -4.0 4.4 4.9 5.5 4.1 4.7 5.4
26.7 -6.1 -5.7 13.3 -10.9 2.9 4.2 5.4 1.4 3.5 3.5
-5.8 -0.6 -12.5 -27.1 -3.9 0.5 1.7 2.5 2.8 4.1 5.1
5.8 0.2 7.8 5.9 4.3 1.5 2.0 2.5 1.5 2.0 2.5
8.2 33.1 -6.3 10.8 8.5 3.4 4.2 5.0 8.1 8.5 9.2
65.4 57.1 2.2 4.8 25.5 9.0 10.3 12.0 22.0 22.8 24.0
35.7 26.5 -22.6 -10.6 28.5 0.6 2.6 4.2 5.5 6.7 8.2

1.2 0.3 0.6 1.9 1.8 1.1 1.2 1.2 1.2 1.3 1.3
-0.30 0.57 0.54 0.26 -0.34 1.16 1.27 1.38 1.14 1.19 1.24
194,490 193,972 196,270 193,359 193,445 195,687 196,276 196,855 199,601 200,072 200,485
-1,746 -518 2,297 -2,911 86 2,242 2,831 3,410 3,325 3,796 4,209

28

เมอื งการค้าทันสมัย เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

คานยิ ามตัวแปรและการคานวณในแบบจาลองเศรษฐกิจจังหวดั มกุ ดาหาร

GPP CVM ผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั แบบปรมิ าณลกู โซ่

GPP Current Prices ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวดั ณ ราคาปปี ัจจบุ ัน

GPPS ดชั นผี ลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั ณ ราคาปฐี าน ด้านอปุ ทาน

GPPD ดัชนผี ลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั ณ ราคาปีฐาน ดา้ นอุปสงค์

API ดชั นีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร

IPI ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม

SI ดชั นีปรมิ าณผลผลติ ภาคบริการ

Cp Index ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชน

Ip Index ดัชนกี ารลงทุนภาคเอกชน

G Index ดชั นีการใช้จ่ายภาครัฐ

X-m Index ดชั นมี ูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉล่ียจังหวดั

GPP Deflator ระดับราคาเฉล่ยี ของผลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั มุกดาหาร

CPI ดัชนีราคาผบู้ รโิ ภคจงั หวดั มุกดาหาร

PPI ดชั นรี าคาผผู้ ลิตระดับประเทศ

Inflation Rate อตั ราเงนิ เฟอ้ จงั หวัดมุกดาหาร

Farm Income Index ดชั นรี ายไดเ้ กษตรกร

Population จานวนประชากรของจงั หวดั มุกดาหาร

Employment จานวนการจ้างงานของจังหวัดมุกดาหาร

%YoY อตั ราการเปลีย่ นแปลงเทียบกับชว่ งเดียวกนั ของปีก่อน

Base year ปีฐาน (2548 = 100)

Min สถานการณ์ทค่ี าดวา่ เลวรา้ ยที่สดุ

Consensus สถานการณ์ท่คี าดวา่ จะเปน็ ได้มากท่ีสุด

Max สถานการณ์ที่คาดว่าดีทส่ี ุด

การคานวณดัชนี
ดัชนชี ว้ี ัดเศรษฐกิจดา้ นอุปทาน (Supply Side หรอื Production Side : GPPS)
ประกอบด้วย 3 ดชั นี ไดแ้ ก่

1. ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมจังหวดั มกุ ดาหาร โดยให้นา้ หนกั 0.25774
2. ดชั นีผลผลิตภาคอตุ สาหกรรมจงั หวัดมุกดาหาร โดยใหน้ ้าหนกั 0.17129
3. ดชั นีผลผลิตภาคบริการจังหวัดมุกดาหาร โดยใหน้ ้าหนกั 0.57098
การกาหนดน้าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพ่ิมราคาปีปัจจุบันของเคร่ืองช้ี
เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร การป่าไม้ และการประมง) เครื่องช้ีเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (รวม 4 สาขา
ได้แก่ 1.สาขาเหมืองแร่ 2.สาขาการผลิต 3.สาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอาศ และ 4.สาขาการจัดหาน้า
การจัดการ และการบาบัดน้าเสีย ของเสีย และสิ่งปฏิกูล) และเครื่องชี้เศรษฐกิจภาคบริการ (รวม 14 สาขา
ประกอบด้วย 1.การก่อสร้าง 2.การขายส่ง ขายปลีกและการซ่อมยานยนต์ 3.การขนส่งและสถานท่ีเก็บสินค้า 4.ท่ีพัก
แรมและบริการด้านอาหาร 5.ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 6.กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 7.กิจกรรม
อสังหาริมทรัพย์ 8.กิจกรรมวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 9.กิจกรรมการบริหารและ การบริการสนับสนุน
10.การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ 11.การศึกษา 12.กิจกรรมด้านสุขภาพ
และงานสังคมสงเคราะห์ 13.) ศิลปะ ความบันเทิง และนัทนาการ และ 14.กิจกรรมบริการด้านอ่ืน ๆ จากข้อมูล GPP
ของ สศช. แต่ละภาคการผลิต (ท่ีรวมไว้ขา้ งต้น) เทียบกับ GPP รวมท้งั 19 สาขา ราคาปปี จั จุบนั ของ สศช.

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 29

เมอื งการคา้ ทันสมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

ซึ่งดัชนีน้ีจัดทาข้ึนเพื่อติดตามภาวะการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัด
มุกดาหารเป็นรายเดือน ซ่ึงจะล่าช้าประมาณ 1 เดือนคร่ึง (45 วัน) โดยการคานวณ API (Q), IPI (Q), SI (Q) ได้กาหนด
ปีฐาน 2548 โดยคานวณจากเคร่ืองชี้ผลผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัดมุกดาหาร
รายเดือน อนกุ รมเวลายอ้ นหลังไปตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นตน้ ไป

ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจงั หวดั (Agriculture Production Index : API (Q))

ประกอบด้วยองคป์ ระกอบทั้งส้ิน 6 ตัว คือ

• ปริมาณผลผลิตขา้ ว โดยให้นา้ หนกั 0.51489

• ปริมาณผลผลติ มันสาปะหลงั โดยใหน้ า้ หนกั 0.10693

• ปริมาณผลผลติ ออ้ ยโรงงาน โดยให้น้าหนกั 0.12498

• ปรมิ าณผลผลิตยางพารา โดยใหน้ ้าหนกั 0.18944

• จานวนอาชญาบัตรสกุ ร โดยใชน้ า้ หนกั 0.02674

• จานวนอาชญาบัตรโค โดยใชน้ ้าหนัก 0.03702

โดยเคร่อื งช้แี ตล่ ะตัวได้ปรับฤดกู าลแลว้ (Seasonal Adjusted : SA)

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา API (Q) ให้น้าหนักของเครื่องชี้จากสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม

ของเคร่ืองช้ี ณ ราคาปีปัจจุบนั กบั GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และ

การประมง)

ดชั นรี าคาผลผลิตภาคเกษตรกรรมจงั หวดั (Agriculture Price Index : API (P))

ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทงั้ สิ้น 6 ตวั คือ

• ปริมาณผลผลติ ข้าว โดยให้นา้ หนกั 0.51489

• ปริมาณผลผลติ มันสาปะหลัง โดยให้นา้ หนกั 0.10693

• ปริมาณผลผลติ ออ้ ยโรงงาน โดยให้น้าหนัก 0.12498

• ปริมาณผลผลิตยางพารา โดยให้น้าหนกั 0.18944

• จานวนอาชญาบัตรสกุ ร โดยใชน้ า้ หนัก 0.02674

• จานวนอาชญาบัตรโค โดยใช้น้าหนกั 0.03702

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา API (P) ให้ใช้น้าหนักของเครื่องชี้ผลผลิตภาคเกษตรกรรม

ซ่ึงหาจากสัดส่วนมูลค่าเพ่ิมของเครื่องชี้ ณ ราคาปีปัจจุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบันภาค

เกษตรกรรม (สาขาเกษตรกรรม การปา่ ไม้ และการประมง)

ดัชนผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรมจังหวัด (Industrial Production Index : IPI)

ประกอบด้วยองคป์ ระกอบทั้งสิ้น 4 ตัว คือ

• จานวนโรงงานอตุ สาหกรรมในจังหวัด โดยให้น้าหนกั 0.22123

• ทนุ จดทะเบยี นของอุตสาหกรรม โดยให้น้าหนัก 0.25505

• ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม โดยให้น้าหนกั 0.26810

• รายไดภ้ าคอุตสาหกรรม โดยใหน้ ้าหนัก 0.26462

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา IPI ใหน้ ้าหนักของเครื่องชี้จากหาความสัมพันธ์ Correlation

ระหว่างเครื่องชี้เศรษฐกิจผลผลิตอุตสาหกรรมรายปี กับ GPP (สศช.) แบบปริมาณลูกโซ่ ภาคอุตสาหกรรม

(สาขาเหมืองแร่ สาขาการผลิต สาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอาศ และสาขาการจัดหาน้า การจัดการ

และการบาบัดนา้ เสีย ของเสีย และสิ่งปฏิกูล)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 30

เมอื งการคา้ ทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

ดัชนีผลผลติ ภาคบริการจงั หวัด (Service Index : SI) โดยให้นา้ หนกั 0.00910
ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบท้ังสิน้ 9 ตัว คอื โดยให้นา้ หนกั 0.06420
• ภาษมี ูลค่าเพ่มิ การบรกิ ารโรงแรม โดยใหน้ ้าหนกั 0.00910
• จานวนนักทอ่ งเทีย่ วโดยเฉลยี่ ทผี่ ่านเขา้ –ออกด่านตรวจคนเข้าเมือง โดยใหน้ า้ หนกั 0.32572
• จานวนนักทอ่ งเทยี่ วท่เี ขา้ ชมหอแก้วมุกดาหาร โดยให้นา้ หนัก 0.09901
• ยอดขายจากธุรกจิ การคา้ ปลีกคา้ ส่งในจังหวัดมุกดาหาร โดยให้น้าหนกั 0.00910
• การเบกิ จ่ายงบประมาณ งบประจา โดยใหน้ า้ หนัก 0.08844
• รายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ียวจังหวัดมกุ ดาหาร โดยใหน้ า้ หนกั 0.16933
• พืน้ ทีอ่ นญุ าตกอ่ สรา้ งในเขตเทศบาลเมือง โดยให้นา้ หนัก 0.22600
• ปริมาณสนิ เชอื่
• การศึกษา

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา SI ให้น้าหนักของเครื่องชี้ โดยเคร่ืองชี้ภาคบริการ ด้าน
โรงแรมจากสัดส่วนของ GPP สาขาโรงแรม ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบ GPP รวมภาคบริการ ณ ราคาปีปัจจุบัน
(สศช.) หารดว้ ยจานวนเครือ่ งชที้ ั้งหมด

ดชั นชี วี้ ัดเศรษฐกจิ ดา้ นอุปสงค์ (Demand Side : GPPD)

ประกอบด้วย 4 ดชั นี ไดแ้ ก่

1. ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชนจงั หวัดมุกดาหาร โดยให้นา้ หนัก 0.41844

2. ดัชนกี ารลงทนุ ภาคเอกชนจงั หวดั มกุ ดาหาร โดยใหน้ ้าหนัก 0.21339

3. ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครัฐจงั หวดั มุกดาหาร โดยให้น้าหนัก 0.22875

4. ดชั นมี ูลคา่ การคา้ ชายแดนโดยเฉลีย่ จงั หวัดมกุ ดาหาร โดยให้น้าหนกั 0.13942

การกาหนดน้าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉลีย่ ในแต่ละดัชนี เทียบกับ GPP constant price โดย

เฉลย่ี เพอ่ื หาสดั สว่ น และคานวณหานา้ หนักจากสัดส่วนของแต่ละดัชนเี ทียบผลรวมสดั สว่ นดัชนีรวมท้ังหมด

ซ่ึงดัชนีน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือติดตามภาวะการใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคภาคเอกชน ภาคการลงทุน การใช้จ่ายภาครัฐและ

การค้าชายแดนจังหวัดมุกดาหารเป็นรายเดือน ซ่ึงจะล่าช้าประมาณ 1 เดือนคร่ึง (45 วัน) โดยการคานวณ Cp Index,

Ip Index, G Index และ Xm Index ได้กาหนดปีฐาน 2548 โดยคานวณจากเคร่ืองช้ีภาวะการใช้จ่ายเพ่ือการบริโภค

ภาคเอกชน ภาคการลงทนุ การใชจ้ า่ ยภาครัฐ และการคา้ ชายแดนจังหวัดมุกดาหารเป็นรายเดือน อนุกรมเวลาย้อนหลัง

ไปต้งั แต่ปี พ.ศ. 2548 เปน็ ตน้ ไป

ดชั นีการบรโิ ภคภาคเอกชนจงั หวดั (Private Consumption Index : Cp Index)

ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 3 ตวั คือ

• ภาษีมลู คา่ เพ่มิ ทจ่ี ดั เก็บได้ โดยใหน้ า้ หนัก 0.63874

• จานวนการจดทะเบยี นใหมร่ ถยนต์น่ังสว่ นบคุ คลไมเ่ กนิ 7 ท่นี ่ัง โดยใหน้ า้ หนกั 0.26806

• จานวนการจดทะเบยี นใหมร่ ถจักรยานยนต์ โดยใหน้ ้าหนกั 0.09319

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Cp Index ให้น้าหนักของเครื่องชี้จากการหา

ค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ในการจัดทา Cp Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้าหนักจากสัดส่วน

มูลคา่ เครือ่ งชี้เทยี บกับมลู ค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 31

เมืองการค้าทนั สมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล

ดัชนีการลงทนุ ภาคเอกชนจังหวัด (Private Investment Index : Ip Index)

ประกอบดว้ ยองค์ประกอบท้ังสิ้น 3 ตัว คอื

• พ้ืนทข่ี ออนญุ าตกอ่ สรา้ งในเขตเทศบาลเมือง โดยใหน้ า้ หนกั 0.00113

• จานวนการจดทะเบยี นใหมร่ ถยนต์เพือ่ การพาณชิ ย์ โดยใหน้ า้ หนัก 0.19231

• ปริมาณสนิ เช่อื เพ่อื การลงทุน โดยให้น้าหนกั 0.80656

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Ip Index ให้น้าหนักของเครื่องชี้จากการหา

ค่าเฉลี่ยของเคร่อื งชีใ้ นการจดั ทา Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดยี วกนั (บาท) แลว้ หาน้าหนักจากสดั สว่ น

มูลคา่ เคร่ืองช้ีเทยี บกับมูลคา่ รวมของเครื่องชท้ี ั้งหมด

ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครัฐจังหวัด (Government Expenditure Index : G Index)

ประกอบด้วยองคป์ ระกอบทั้งสิ้น 4 ตัว คอื

• รายจา่ ยประจาภาครฐั สว่ นกลางและส่วนภูมภิ าค โดยให้นา้ หนัก 0.60619

• รายจ่ายลงทนุ ภาครัฐ ส่วนกลางและสว่ นภมู ิภาค โดยให้น้าหนัก 0.21000

• รายจา่ ยประจาส่วนทอ้ งถิน่ โดยให้นา้ หนกั 0.15961

• รายจา่ ยลงทุนสว่ นทอ้ งถน่ิ โดยใหน้ ้าหนกั 0.02420

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา G Index ให้น้าหนักของเครื่องชี้ จากการหา

ค่าเฉลี่ยของเคร่ืองชี้ในการจัดทา G Index แล้วหาน้าหนักจากสัดส่วนมูลค่าเคร่ืองชี้เทียบกับมูลค่ารวมของ

เครอื่ งชท้ี งั้ หมด

ดัชนีมูลคา่ การค้าชายแดนโดยเฉลี่ยจงั หวดั (Export Import Index : Xm Index)
ประกอบดว้ ยองค์ประกอบท้ังสน้ิ 1 ตวั คือ

มูลคา่ การสง่ ออก - นาเข้าสินคา้ ผา่ นด่านศลุ กากร โดยให้น้าหนัก 1.00000
การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Xm Index ให้น้าหนักของเครื่องชี้จากการหา
มูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉล่ีย (มูลค่าการส่งออก + มูลค่าการนาเข้าหารด้วยสอง) แล้วหาน้าหนัก เน่ืองจากมี
เครือ่ งชีเ้ ดยี ว จึงมนี ้าหนกั เทา่ กบั 1

ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั ณ ราคาคงที่ (GPP CONSTANT PRICE)
ประกอบด้วยดัชนี 2 ด้าน คือ
ดัชนีชี้วัดเศรษฐกจิ ด้านอุปทาน (GPPS) โดยให้น้าหนัก 0.65000
ดชั นชี วี้ ัดเศรษฐกิจดา้ นอปุ สงค์ (GPPD) โดยให้น้าหนกั 0.35000

ดัชนีชว้ี ดั ด้านเสถียรภาพเศรษฐกจิ

GPP Deflator : ระดับราคา ประกอบด้วย

ดชั นีราคาผูผ้ ลิต (PPI) โดยใช้นา้ หนัก 0.65000

ดชั นรี าคาผบู้ รโิ ภคจงั หวัดมกุ ดาหาร (CPI) โดยใชน้ ้าหนกั 0.35000

การเปลย่ี นแปลงของจานวนผมู้ งี านทา

คานวณจาก GPP CVM X 0.296133016630972 (อัตราการพง่ึ พาแรงงาน)

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 32

เมอื งการคา้ ทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเท่ียวชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล
อตั ราการพง่ึ พาแรงงาน
คานวณจากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Analysis) โดยมีรูปแบบ
ความสมั พันธ์ คือln(Emp) = α + β (ln(GPP))
โดยท่ี Emp = จานวนผู้มีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศของจังหวัดมุกดาหาร (ข้อมูล Website
สานกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ซึ่งใช้ปี 2548 – 2562)
GPP = ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดมุกดาหาร แบบปริมาณลูกโซ่ ข้อมูลจาก สานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ซ่ึงใชป้ ี 2548 – 2562

หน่วยงานผู้สนับสนนุ ข้อมูลในการประมาณการเศรษฐกจิ ประกอบด้วย
ส่วนราชการภาครัฐ ท้องถนิ่ รฐั วิสาหกิจ และภาคเอกชนในจังหวดั

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2564 33


Click to View FlipBook Version