The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by disney2524, 2022-04-11 23:31:33

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร 2565

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร 2565

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวดั มุกดาหาร
ปี 2565

ณ เดือนมนี าคม 2565

บทนำ

จากสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างรุนแรงและรวดเร็ว ท้ังด้านบวกและด้านลบ
ซึ่งเป็นสง่ิ ท่มี ีผลกระทบโดยตรงต่อเสถียรภาพและการเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจภายในจังหวัดอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้
องค์กรหรือหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อการพัฒนาเศรษฐกิจจังหวัดจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องติดตาม
ประเมนิ ผลของการเปลี่ยนแปลงน้นั ๆ เพอื่ นามากาหนดแนวทางในการพฒั นาหรอื แกไ้ ขปัญหาทีอ่ าจจะเกิดข้นึ
ซ่ึงมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของจังหวัด เพ่ือให้การพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดสามารถขับเคล่ือนไปได้
อย่างต่อเนื่อง

ในการติดตามภาวะเศรษฐกิจน้ัน จะต้องอาศัยเครื่องมือในการติดตาม พยากรณ์ และประเมินผลที่มี
ประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลเชิงลึกท่ีสามารถคาดคะเนทิศทางเศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างถูกต้อง
แม่นยา ซ่ึงปัจจุบันการประมาณการเศรษฐกิจนนั้ หลายๆ องค์การได้ใช้แบบจาลองเศรษฐกิจที่จดั ทาขนึ้ โดยวิธี
Management Chart สาหรับคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นสานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (สศช.) ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) สานักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.)
เป็นต้น ซึ่งแต่ละองค์กรได้ประยุกต์ใช้การพยากรณ์เศรษฐกิจโดยวิธี Management Chart ให้เหมาะสมกับ
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของแต่ละหน่วยงาน โดยการพยากรณ์เศรษฐกิจโดยวธิ ี Management Chart น้ัน
เป็นการประมาณการเศรษฐกิจโดยอาศัยข้อมูลทางเศรษฐกิจในอดีตที่ผ่านมาประกอบกับความคิดเหน็ เก่ียวกับ
แนวโน้มของเศรษฐกิจในอนาคตจากผู้ท่ีมีความเช่ียวชาญที่เก่ียวข้องกับเศรษฐกิจในสาขาต่าง ๆ เพื่อนามา
กาหนดและคาดคะเนทศิ ทางของเศรษฐกิจในอนาคตใหม้ ีความนา่ เชื่อถือและสอดคลอ้ งกับสภาพความเป็นจริง
ของแตล่ ะพื้นทีเ่ ปน็ สาคญั

สานกั งานคลังจงั หวัดมุกดาหาร จงึ ไดจ้ ดั ทาประมาณการเศรษฐกิจขน้ึ โดยใชว้ ิธี Management Chart
อันเป็นแนวทางในการตดิ ตามและพยากรณ์เศรษฐกิจของจงั หวดั ที่อาจจะเกิดข้ึนในอนาคต ซง่ึ จะเป็นประโยชน์
ต่อการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจของจังหวัด รวมท้ังการบริหารจัดการ และกาหนดแนวทางในการพัฒนา
เศรษฐกิจของจังหวัดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากน้ีสานักงานคลังจังหวัดมุกดาหารหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
การประมาณการเศรษฐกิจนี้จะชว่ ยใหน้ กั ลงทุน ผปู้ ระกอบการ หนว่ ยงานต่าง ๆ ท้งั ภาครฐั และเอกชน รวมท้งั
ประชาชนท่วั ไป สามารถนาขอ้ มลู ท่ีได้ไปประยกุ ตใ์ ช้ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดต่อไป

สานักงานคลังจังหวดั มกุ ดาหาร

สำรบญั 1
6
รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มุกดาหาร
ตารางสรปุ สมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั มกุ ดาหาร 8
สมมตฐิ านหลักในการประมาณการเศรษฐกิจ 14
22
1. ดา้ นอุปทาน 25
2. ด้านอปุ สงค์ 25
3. ดา้ นรายไดเ้ กษตรกร 26
4. ด้านเสถียรภาพเศรษฐกจิ 27
5. ดา้ นการจ้างงาน
ตารางสรปุ การประมาณการเศรษฐกจิ จังหวดั มุกดาหารปี 2565
คานยิ ามตวั แปรและการคานวณในแบบจาลองเศรษฐกจิ จงั หวัดมกุ ดาหาร

ประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดมุกดาหาร ปี 2565

ณ เดือนมีนาคม 2565

เศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ปี 2565 คาดวา่ จะชะลอตัวร้อยละ 4.3 มาจากปัจจยั แรงกดดนั จากภาวะเงินเฟ้อ
ตามการเพิม่ ข้ึนของราคาพลงั งานและราคาสินค้าโภคภัณฑใ์ นตลาดโลก ส่งผลตอ่ ราคาสนิ ค้าในภาพรวมเพิม่ ข้นึ
ค่าครองชีพทีเ่ พิ่มข้นึ ท้ังการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด- 19 ทีม่ กี ารกลายพนั ธ์ุของเช้ือไวรัสทีม่ ผี ลตอ่ ประสิทธิภาพ
ของวัคซีน โดยชะลอตวั จากภาคเกษตรกรรม ภาคอตุ สาหกรรม ภาคบริการ การลงทุนภาคเอกชน สาหรับการใชจ้ า่ ย
ภาครฐั และการบรโิ ภคภาคเอกชนคาดว่าจะขยายตัวจากการเปิดด่านฯ ซึง่ รอระยะเวลาทีเ่ หมาะสม ในขณะที่

การค้าชายแดนหดตัวจากความเข้มงวดของประเทศเพือ่ นบ้านในการนาเข้า-ส่งออก

 ดา้ นการผลิต (Supply side) ปี 2565  ดา้ นการใช้จ่าย (Demand side) ปี 2565

คาดวา่ จะชะลอตัว + 4.6 % คาดว่าจะ หดตัว – 2.2 %

ชะลอตัว + 4.2 % หดตวั -4.5 %
ภาคเกษตรกรรม คาดวา่ จะชะลอตวั จากปรมิ าณผลผลติ
การคา้ ชายแดน จากมูลคา่ การค้าชายแดนทล่ี ดลง จากมาตรการ
ยางพาราและมันสาปะหลัง ในขณะท่ี เขม้ งวดในการตรวจสอบเชือ้ ไวรสั โควดิ 19
ขา้ วนาปีและออ้ ยโรงงานคาดวา่ จะหดตัว
ของประเทศเพ่อื นบ้านรวมท้งั เวียดนามและจนี

ภาคอตุ สาหกรรม ชะลอตัว + 6.4 % ชะลอตวั + 2.0 % การลงทนุ

คาดว่ามาจากรายได้ภาคอุตสาหกรรม จากสนิ เชอ่ื เพ่อื ฟืน้ ฟแู ละหมุนเวยี นกิจการ ภาคเอกชน

และการใช้ไฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม

ชะลอตัว + 6.0 % การใช้จา่ ย ขยายตวั + 4.2 %

สาเหตจุ ากปีทผี่ า่ นมามกี ารอัดฉีดเมด็ เงนิ กระตนุ้ ภาครฐั จากการเร่งรดั เบิกจ่ายและนโยบายกระตุ้นเศรษฐกจิ
เศรษฐกิจใหป้ ระชาชนวงเงนิ ประมาณ 4,000 ลบ.
ภาคบรกิ าร ขยายตัว + 9.0 % การบริโภค
ปีนีค้ าดวา่ จะมกี ารเปิดด่านฯ ซงึ่ จะมีกาลงั ซ้ือ
จากประเทศเพอื่ นบ้านเข้ามาจบั จา่ ยใชส้ อยเพิ่มขน้ึ คาดว่ามาจากการเปิดด่านฯ กาลังซือ้ จากประเทศ ภาคเอกชน

 เสถียรภาพทางเศรษฐกจิ (Stability) เพื่อนบา้ นจะกลบั มาจบั จ่ายใช้สอยเพิ่มขน้ึ

อัตราเงินเฟ้อ + 1.3 % การจา้ งงาน  รายไดเ้ กษตรกร (Farmer Income)

+ 1.6 % เพม่ิ ข้ึนจากการ +7.5 %
จากราคาสินค้าเกษตรทป่ี รับตวั ดีขึ้น ไดแ้ ก่ ยางพารา
จากปจั จยั ราคา ลงทนุ ของภาคเอกชน
มนั สาปะหลงั โคและสกุ ร
นา้ มันเช้อื เพลงิ ทีป่ รับเพม่ิ ขนึ้ ไดแ้ ก่ บรษิ ทั กัญชงครบวงจร เปน็ ต้น

 ปัจจัยสนบั สนุน (Support)  ปจั จัยเสี่ยง (Risk)

1. การเปดิ ด่านพรมแดนสะพานมติ รภาพ ไทย-ลาว แหง่ ที่ 2ฯ 1.การระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควดิ 19
2. ความผันผวนของราคานา้ มันในตลาดโลก
2. การสง่ เสรมิ ปลกู พืชเศรษฐกจิ ใหม่ (กัญชง/กัญชา) 3. เงนิ เฟอ้ ท่ปี รบั ตัวเพิ่มขน้ึ
3. โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร
4. เป็นเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษจงั หวัดมกุ ดาหาร

เมืองการค้าทนั สมัย เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเที่ยวชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มุกดาหาร

สานกั งานคลังจังหวดั มุกดาหาร ศาลากลางจงั หวดั มกุ ดาหาร ถนนวิวิธสรุ การ อาเภอเมือง จังหวดั มุกดาหาร 49000
โทรศัพท์ : 0-4261-1502 ต่อ 314 - 317 โทรสาร : 0-4261-1778 E-mail : [email protected]

ฉบบั ที่ 1/2565 มีนาคม 2565

บทสรปุ ผ้บู รหิ าร
รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ปี 2565

(ณ เดอื นมีนาคม 2565)

“เศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ปี 2565 คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 4.3”

สานักงานคลังจังหวัดมุกดาหาร ได้ประเมินภาวะเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารปี 2565 คาดการณ์
ว่าจะมีแนวโน้มชะลอตัวในอัตราร้อยละ 4.3 (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ (3.8 – 4.9) ซ่ึงต่ากว่าที่คาดการณ์ไว้
ณ เดือนธันวาคม 2564 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.5 มาจากปัจจัยแรงกดดันจากภาวะเงินเฟ้อตามการเพ่ิมข้ึน
ของราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก ส่งผลต่อราคาสินค้าในภาพรวมเพ่ิมขึ้น ค่าครองชีพที่เพิ่มขึ้น
ทั้งการแพร่ระบาดของโรคโควิด- 19 ท่ีมีการกลายพันธ์ุของเชื้อไวรัสท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพของวัคซีน อย่างไรก็ตาม
ประเทศไทยจะประกาศให้โรคโควิด -19 เป็นโรคประจาถ่ิน ต้ังแต่ 1 กรกฎาคม 2565 เป็นต้นไป ซ่ึงการชะลอตัว
ของเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารโดยคาดว่ามาจากภาคเกษตรกรรม ที่ชะลอตัวลงเน่ืองจากในปีท่ีผ่านมาปริมาณผลผลติ
สินค้าเกษตรหลักหลายชนิดมีการขยายตัวท้ังปริมาณและราคา ได้แก่ ยางพารา มันสาปะหลัง เป็นต้น ปริมาณผลผลิต
ข้าวนาปีที่เพิ่มข้ึนในปีท่ีผ่านมาจากปริมาณน้าฝนและสภาพอากาศท่ีเอื้ออานวย รวมถึงการดูแลของเกษตรกร ถึงแม้
ราคาท่ีอยู่ระดับต่าแต่ก็ได้รับการชดเชยและช่วยเหลือจากรัฐบาล สาหรับปีน้ีคาดการณ์วา่ จะลดลงจากการท่ีเกษตรกร
ลดพ้ืนท่ีปลูกข้าวเพ่ือไปปลูกพืชชนิดอ่ืน เช่น ปลูกหญ้าเพื่อเลี้ยงสัตว์ และเกษตรกรบางรายเข้าโครงการพัฒนาพื้นที่
ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เป็นต้น ด้านภาคอุตสาหกรรม
คาดว่าจะชะลอตัวจากปีก่อน เนื่องจากปีท่ีผ่านมามีการขยายตัวถึงร้อยละ 11.3 คาดว่าจะส่งผลให้ปีนีข้ ยายตัวในอัตรา
ที่ชะลอลง โดยมีการขยายกาลังการผลิตของโรงงานแป้งมันสาปะหลังเพิ่ม 1 แห่ง ขยายจากเดิม 100 ตัน/วัน เพ่ิมเป็น
300 ตัน/วนั ซง่ึ โรงงานแปรรปู สินค้าเกษตรในจังหวัดเปน็ แหล่งรับซื้อและแปรรปู สินค้าเกษตรทั้งของเกษตรกรในจังหวัด
และจากจังหวัดใกล้เคียง เป็นสาคัญ ด้านภาคบริการ คาดว่าจะชะลอตัวลง เนื่องจากปีท่ีผ่านมามีมาตรการกระตุ้น
เศรษฐกิจจากภาครัฐผ่านโครงการต่าง ๆ ได้แก่ โครงการเราชนะ โครงการคนละครึ่ง มาตรการเพ่ิมกาลังซื้อให้กับผู้ถือ
บัตรสวัสดิการและผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ โครงการ ม.33 เรารักกัน ซ่ึงมีเม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัดจาก
โครงการดังกล่าว ประมาณ 4,000 ล้านบาท ในขณะท่ีจังหวัดมุกดาหารมีโครงการส่งเสริมการท่องเท่ียวอย่างต่อเน่ือง
เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และมีกาหนดเปิดด่านฯ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2565 แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคโควิด 19 จึงมีการเล่ือนออกไป คาดว่าช่วงคร่ึงปีหลังสถานการณ์มีแนวโน้มดีข้ึนและส่งผลต่อกิจกรรม
ทางเศรษฐกจิ ใหข้ ับเคลื่อนต่อไป ดา้ นการลงทุนภาคเอกชน คาดวา่ จะชะลอตวั เนื่องจากในปที ผ่ี ่านมามีการขยายตัวสูงถึง
ร้อยละ 10.50 มาจากการขยายตัวเคร่ืองช้ีพ้ืนท่ีขออนุญาตก่อสร้างก่อสร้างในเขตเทศบาลเมืองท่ีเพ่ิมขึ้นถึงร้อยละ 35.83
จึงเป็นผลให้ปีน้ีน่าจะชะลอลง สาหรับเคร่ืองช้ีสินเชื่อเพ่ือการลงทุนท่ีขยายตัวในปีก่อนสูงถึงร้อยละ 13.47 ขยายตัว
ค่อนข้างสูงส่งผลให้ปีน้ีคาดว่าจะชะลอลง โดยสินเชื่อส่วนใหญ่เป็นการช่วยเหลือจากภาครัฐผ่านธนาคารของรัฐ เพ่ือฟื้นฟู
และเพมิ่ สภาพคลอ่ งให้กบั กิจการ เป็นสาคญั

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 1

เมืองการคา้ ทนั สมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเท่ยี วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

สาหรับการบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวเพ่ิมขึ้นโดยมีสัญญาณท่ีเป็นบวกจากเครื่องช้ีสินค้าคงทน
ได้แก่ การจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ใหม่ 2 เดอื นแรกของปีที่เพ่ิมข้ึนถึงร้อยละ 28.44 และปัจจัยสนับสนุนประการสาคัญ
คือ หลังจากที่ประกาศให้โรคโควิด 19 เป็นโรคประจาถิ่น จะทาให้มาตรการต่าง ๆ ผ่อนคลายลงและมีแนวทางการป้องกัน
รักษาที่ชัดเจนขึ้น การเปิดด่านเพ่ือให้ประชาชนทั้งสองประเทศข้ามไปมาได้จะเป็นส่วนทาให้เศรษฐกิจขับเคลื่อน
การบริโภคภาคเอกชนมีทิศทางท่ีดีขึ้น และการใช้จ่ายภาครัฐ ขยายตัวจากปีก่อน จากการเร่งรัดเบิกจ่ายให้เป็นไปตาม
เป้าหมายเพ่ือขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ให้เม็ดเงินเข้าสู่ระบบเพิ่มข้ึน ในขณะท่ีการค้าชายแดน คาดว่าจะหดตัวจากปีก่อน
ท่ีขยายตัวสูงถึงร้อยละ 30.1 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้ประเทศเพ่ือนบ้านมีมาตรการเข้มงวด
ในการนาเข้า-ส่งออก ส่งผลให้ปริมาณการนาเข้าและส่งออกลดลง ประกอบกับจีนและเวียดนามเพ่ิมความเข้มงวด
ในการตรวจสอบเชอื้ ไวรัสโควดิ 19 จากผู้ขับข่ียานพาหนะที่ขนส่งสินค้าและท่ีตัวสินค้ามากข้ึน ส่งผลให้การขนส่งสินคา้
บริเวณชายแดนจีนและเวียดนามติดขัดเป็นอย่างมากทาให้เกิดความล่าช้าในการขนส่ง ส่งผลให้ผู้ประกอบการบางราย
เปลี่ยนเส้นทางการขนส่งไปใช้การขนส่งโดยรถไฟผ่านทางจังหวัดหนองคายแทนเพ่ือความสะดวก ลดข้ันตอนและลดต้นทุน
ของผู้ประกอบการ

ด้านการผลิต (Supply side) คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 4.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ
(4.2 - 5.3)) ชะลอตัวจากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 43.0 โดยเป็นผลจากภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะชะลอตัว
จากปีก่อน เน่ืองจากปีที่ผ่านมามีการขยายตัวของปริมาณยางพารา มันสาปะหลัง ท่ีขยายตัวจากพื้นที่เพาะปลูก
และพ้ืนท่ีเก็บเก่ียวที่เพิ่มขึ้น โดยยางพาราเพ่ิมขึ้นจากเนื้อที่เปิดกรีดเพิ่มข้ึน อายุต้นยางพาราอยู่ในช่วงท่ีให้ผลผลิตสูง
ด้านมันสาปะหลังมาจากราคาท่ีจูงใจและเกษตรกรให้การดูแลที่ดีทาให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มข้ึน ในขณะท่ีปริมาณผลผลิต
ข้าว น าปี ท่ีเ พิ่ ม ข้ึน ใน ปี ท่ีผ่ า น ม าจ า ก ป ริ มา ณ น้ าฝ น แ ล ะส ภ า พ อ า กา ศ ท่ีเ อื้ อ อ าน ว ย ร ว ม ถึง ก าร ดู แล ข อ งเ ก ษ ต ร ก ร
ราคาตกต่าแต่ก็ได้รับการชดเชยและช่วยเหลือจากรัฐบาล สาหรับปีนี้คาดการณ์ว่าจะลดลงจากการท่ีเกษตรกรลดพื้นท่ี
ปลูกข้าวเพ่ือไปปลูกพืชอ่ืน เช่น ปลูกหญ้าเพื่อเล้ียงสัตว์ และเกษตรกรบางส่วนเข้าโครงการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เป็นต้น ด้านภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะ
ชะลอตัวจากปีก่อน เนื่องจากปีท่ีผ่านมามีการขยายตัวถึงร้อยละ 11.3 คาดว่าจะส่งผลให้ปีน้ีขยายตัวในอัตราท่ีชะลอลง
โดยมีการขยายกาลงั การผลติ ของโรงงานแปง้ มันสาปะหลงั เพมิ่ 1 แหง่ ขยายจากเดมิ 100 ตัน/วัน เพ่มิ เปน็ 300 ตัน/วนั
ซึ่งโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรในจังหวัดเป็นแหล่งรับซ้ือและแปรรูปสินค้าเกษตร ท้ังของเกษตรกรในจังหวัดและจาก
จังหวัดใกล้เคียง เป็นสาคัญ สาหรับภาคบริการ คาดว่าจะชะลอตัวลง เนื่องจากปีที่ผ่านมามีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ
จากภาครัฐผ่านโครงการต่าง ๆ ได้แก่ โครงการเราชนะ โครงการคนละครึ่ง มาตรการเพ่ิมกาลังซื้อให้กับผู้ถือบัตร
สวัสดิการและผู้ท่ีต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ โครงการ ม.33 เรารักกัน ซ่ึงมีเม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัด
จากโครงการดังกล่าว ประมาณ 4,000 ล้านบาท ในขณะท่ีจังหวัดมุกดาหารมีโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวทุกเดือน
เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ประกอบกับจะมีการเปิดด่านเบ้ืองต้นจะมีการเปิดต้ังแต่วันท่ี 1 เมษายน 2565
แตด่ ้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 จงึ มกี ารเลอื่ นไปแบบไม่มีกาหนด คาดว่าชว่ งคร่ึงปีหลงั สถานการณ์
มแี นวโนม้ ดีขน้ึ และส่งผลตอ่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจให้ขับเคลื่อนต่อไป

ด้านการใช้จา่ ย (Demand side) คาดว่าจะหดตวั ทีร่ ้อยละ2.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ทรี่ ้อยละ ((-2.7) – (-1.6))
หดตัวจากปีก่อนหน้าท่ีคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 23.0 คาดว่าจะมาจากการค้าชายแดน ท่ีคาดว่าจะหดตัวจากปีก่อน
ที่ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 30.1 เน่ืองจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้ประเทศเพ่ือนบ้านมีมาตรการเข้มงวด
ในการนาเข้า-ส่งออก ส่งผลให้ปริมาณการนาเข้าและส่งออกลดลง ประกอบกับจีนและเวียดนามเพ่ิมความเข้มงวด
ในการตรวจสอบเชื้อไวรัสโควดิ 19 จากผู้ขับขี่ยานพาหนะท่ีขนส่งสินค้าและที่ตัวสินค้ามากขึ้น ส่งผลให้การขนส่งสินคา้
บริเวณชายแดนจีนและเวียดนามติดขัดเป็นอย่างมากทาให้เกิดความล่าช้าในการขนส่ง ทาให้ผู้ประกอบการบางส่วน
เปลี่ยนเสน้ ทางการขนส่งไปใช้การขนสง่ โดยรถไฟทผ่ี ่านทางจังหวัดหนองคายแทนเพ่ือความสะดวก และลดขนั้ ตอนและ
ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ สาหรับการลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะชะลอตัว เน่ืองจากในปีที่ผ่านมามีการขยายตัวสูง

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 2

เมืองการค้าทันสมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

ถึงร้อยละ 10.50 มาจากการขยายตัวเครื่องช้ีพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างก่อสร้างในเขตเทศบาลเมืองท่ีเพ่ิมขึ้นถึงร้อยละ
35.83 จึงเป็นผลผให้ปีน้ีน่าจะชะลอลง สาหรับเคร่ืองช้ีสินเช่ือเพ่ือการลงทุนท่ีขยายตัวในปีก่อนสูงถึงร้อยละ 13.47
ที่ขยายตัวค่อนข้างสูงส่งผลให้ปีน้ีคาดว่าจะชะลอลง โดยสินเช่ือส่วนใหญ่จะเป็นการช่วยเหลือจากภาครัฐผ่านธนาคาร
ของรัฐ เพ่ือเป็นการฟื้นฟูและเพิ่มสภาพคล่องให้กับกิจการ เป็นสาคัญ ในขณะที่การบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะ
ขยายตัวเพ่ิมข้ึนโดยมีสัญญาณที่เป็นบวกจากเครื่องช้ีสินค้าคงทน ได้แก่ การจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ใหม่ 2 เ ดือน
แรกของปีท่ีเพ่ิมข้ึนถึงร้อยละ 28.44 และปัจจัยสนับสนุนประการสาคัญ คือ หลังจากท่ีประกาศให้โรคโควิด 19
เป็นโรคประจาถ่ิน จะทาให้มาตรการต่าง ๆ ผ่อนคลายลงและมีแนวทางการป้องกันรักษาที่ชดั เจนข้ึน และการเปิดด่าน
เพื่อให้ประชาชนท้ังสองประเทศข้ามไปมาได้จะเป็นส่วนทาให้เศรษฐกิจขับเคลื่อนและการบริโภคภาคเอกชนมีทิศทาง
ท่ีดีขึ้น และการใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัว เนื่องจากมีการเร่งรัดเบิกจ่ายเงินเข้าระบบทั้งรายจ่ายประจาและ
รายจ่ายลงทุนผ่านหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อใหม้ เี มด็ เงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ

สาหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565
คาดว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 1.6 (เพิ่มข้ึนจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้อยู่ท่ีร้อยละ 1.2) เพ่ิมข้ึน
จากปีก่อนที่อยู่ท่ีร้อยละ 1.4 โดยมีสาเหตุจากราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกท่ีเพิ่มข้ึน โดยมีแรง
กดดันจากการสู้รบระหว่างรัสเซียและยูเครน ส่งผลต่อราคาสินค้าในภาพรวมเพิ่มข้ึน ค่าครองชีพที่เพิ่มข้ึน ท้ังการ
แพร่ระบาดของโรคโควิด- 19 ที่มีการกลายพันธุ์ของเช้ือไวรัสท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพของวัคซีน จ้างงานในจังหวัด
มุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่ามีการจ้างงานจานวน 193,250 คน หรือเพ่ิมข้ึนจากปีก่อน จานวน 2,421 คน (ต่ากว่าที่
คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่คี าดว่าจะมีการจ้างงาน จานวน 196,276 คน) เนอื่ งจากมกี ารลงทนุ ของภาคเอกชน
ในจังหวัดเพิ่มขึ้น ได้แก่ บริษัทผลิตกัญชงครบวงจร ร้านอาหารเวียดนามแห่งใหม่ และการขยายกาลังการผลิตของ
โรงงานแปง้ มนั สาปะหลงั เป็นต้น

ประมาณการอตั ราการขยายตัวเศรษฐกจิ จังหวดั มกุ ดาหาร

18.0

16.0 15.7

14.0

12.0 10.8

10.0 7.9 (5.76-.75.2)
8.0 4.9 (34.8.3-4.9)
6.0 5.8
4.0
2.0 3.4 2.9 2.3

0.6 1.4 1.5

0.0
2554 2555 2556 2557 2558 2559r 2560r 2561r 2562p 2563E 2564E 2565F 2565F

(ณ (ณ
ธนั วาคม มีนาคม
2564) 2565)

หมายเหตุ ; r : มีการปรับปรุงขอ้ มูล , p : ข้อมูลเบอื้ งต้น , E : Estimate = การประมาณการ F : Forecast = การพยากรณ์

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 3

เมอื งการค้าทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเท่ียวชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล 4

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดมกุ ดาหาร ปี 2565

เศรษฐกจิ จังหวัดมุกดาหาร ปี 2565
1. ด้านการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหารในปี 2565 คาดการณ์ว่าจะชะลอตัวจากปีก่อนท่ีร้อยละ 4.3 (โดยมี

ช่วงคาดการณ์ทร่ี อ้ ยละ 3.8 – 4.9) โดยขยายตัวจากดา้ นการผลติ (Supply side) ในขณะที่ด้านการใชจ้ ่าย (Demand
side) หดตัว โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี

ด้านการผลิต (Supply side) คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 4.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์ท่ีร้อยละ
(4.2 - 5.3)) ชะลอตัวจากปีก่อนหน้าท่ีคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 43.0 โดยเป็นผลจากภาคเกษตรกรรม คาดว่าจะชะลอตัว
จากปีก่อน เน่ืองจากปีท่ีผ่านมามีการขยายตัวของปริมาณยางพารา มันสาปะหลัง ที่ขยายตัวจากพ้ืนที่เพาะปลูกและ
พ้ืนที่เก็บเก่ียวท่ีเพ่ิมข้ึน โดยยางพาราเพิ่มขึ้นจากเน้ือท่ีเปิดกรีดเพิ่มข้ึน อายุต้นยางพาราอยู่ในช่วงที่ให้ผลผลิตสูง
ด้านมันสาปะหลังมาจากราคาที่จูงใจและเกษตรกรให้การดูแลท่ีดีทาให้ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น ในขณะท่ีปริมาณผลผลิต
ข้าวนาปีที่เพิ่มขึ้นในปีท่ีผ่านมาจากปริมาณน้าฝนและสภาพอากาศท่ีเอื้ออานวยรวมถึงการดูแลของเกษตรกร แม้ราคา
ตกต่าแต่ก็ได้รับการชดเชยและช่วยเหลือจากรัฐบาล สาหรับปีน้ีคาดการณ์ว่าจะลดลงจากการที่เกษตรกรลดพื้นที่ปลูก
ข้าวเพื่อไปปลูกพืชอื่นในบางส่วน เช่น ปลูกหญ้าเพื่อเล้ียงสัตว์ และเกษตรกรบางส่วนเข้าโครงการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เป็นต้น ด้านภาคอุตสาหกรรม คาดว่า
จะชะลอตัวจากปีก่อน เนอื่ งจากปีท่ีผา่ นมามีการขยายตัวถึงร้อยละ 11.3 คาดวา่ จะสง่ ผลใหป้ นี ี้ขยายตวั ในอัตราท่ีชะลอ
ลง โดยมีการขยายกาลังการผลิตของโรงงานแป้งมันสาปะหลังเพ่ิม 1 แห่ง ขยายจากเดิม 100 ตัน/วัน เพ่ิมเป็น 300
ตัน/วนั ซง่ึ โรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรในจังหวัดเป็นแหล่งรับซ้ือและแปรรูปสินค้าเกษตรท้ังของเกษตรกรในจงั หวัดและ
จากจังหวัดใกล้เคียง เป็นสาคัญ สาหรับภาคบริการ คาดว่าจะชะลอตัวลง เนื่องจากปีที่ผ่านมามีมาตรการกระตุ้น
เศรษฐกิจจากภาครัฐผ่านโครงการต่าง ๆ ได้แก่ โครงการเราชนะ โครงการคนละครึ่ง มาตรการเพิ่มกาลังซื้อให้กับผู้ถือ
บัตรสวัสดิการและผู้ท่ีต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ โครงการ ม.33 เรารักกัน ซึ่งมีเม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัดจาก
โครงการดังกล่าว ประมาณ 4,000 ล้านบาท ในขณะท่ีจังหวัดมุกดาหารมีโครงการส่งเสริมการท่องเท่ียวทุกเดือน
เพ่ือขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ประกอบกับจะมีการเปิดด่านเบ้ืองต้นจะมีการเปิด ตั้งแต่วันท่ี 1 เมษายน 2565
แตด่ ว้ ยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 จงึ มกี ารเลือ่ นไปแบบไม่มีกาหนด คาดวา่ ชว่ งครง่ึ ปหี ลงั สถานการณ์
มแี นวโน้มดีขึน้ และสง่ ผลต่อกจิ กรรมทางเศรษฐกิจใหข้ ับเคล่ือนต่อไป

ด้านการใชจ้ า่ ย (Demand side) คาดวา่ จะหดตวั ที่ร้อยละ2.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ ((-2.7) – (-1.6))
หดตัวจากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 23.0 คาดว่าจะมาจากการค้าชายแดน ที่คาดว่าจะหดตัวจากปีก่อน
ท่ีขยายตัวสูงถึงร้อยละ 30.1 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้ประเทศเพื่อนบ้านมีมาตรการเข้มงวด
ในการนาเข้า-ส่งออก ส่งผลให้ปริมาณการนาเข้าและส่งออกลดลง ประกอบกับจีนและเวียดนามเพิ่มความเข้มงวดใน
การตรวจสอบเช้ือไวรัสโควิด 19 จากผู้ขับข่ียานพาหนะท่ีขนส่งสินค้าและที่ตัวสินค้ามากขึ้น ส่งผลให้การขนส่งสินค้า
บริเวณชายแดนจีนและเวียดนามติดขัดเป็นอย่างมากทาให้เกิดความล่าช้าในการขนส่ง ทาให้ผู้ประกอบการบางส่วน
เปล่ยี นเส้นทางการขนส่งไปใช้การขนสง่ โดยรถไฟท่ผี ่านทางจังหวัดหนองคายแทนเพ่ือความสะดวก และลดข้ันตอนและ
ลดต้นทุนของผู้ประกอบการ สาหรับการลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะชะลอตัว เน่ืองจากในปีที่ผ่านมามีการขยายตัวสูง
ถึงร้อยละ 10.50 มาจากการขยายตัวเคร่ืองช้ีพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้างก่อสร้างในเขตเทศบาลเมืองท่ีเพิ่มข้ึนถึงร้อยละ
35.83 จึงเป็นผลผให้ปีน้ีน่าจะชะลอลง สาหรับเครื่องช้ีสินเช่ือเพื่อการลงทุนที่ขยายตัวในปีก่อนสูงถึงร้อยละ 13.47
ที่ขยายตัวค่อนข้างสูงส่งผลให้ปีน้ีคาดว่าจะชะลอลง โดยสินเชื่อส่วนใหญ่จะเป็นการช่วยเหลือจากภาครัฐผ่านธนาคาร
ของรัฐ เพ่ือเป็นการฟื้นฟูและเพ่ิมสภาพคล่องให้กับกิจการ เป็นสาคัญ ในขณะท่ีการบริโภคภาคเอกชน คาดว่าจะ
ขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยมีสัญญาณที่เป็นบวกจากเคร่ืองช้ีสินค้าคงทน ได้แก่ การจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ใหม่ 2 เดือน
แรกของปีท่ีเพ่ิมข้ึนถึงร้อยละ 28.44 และปัจจัยสนับสนุนประการสาคัญ คือ หลังจากท่ีประกาศให้โรคโควิด 19
เป็นโรคประจาถ่ิน จะทาให้มาตรการต่าง ๆ ผ่อนคลายลงและมีแนวทางการป้องกันรักษาที่ชัดเจนข้ึน และการเปิดด่าน

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565

เมืองการคา้ ทันสมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเท่ยี วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล 5

เพื่อใหป้ ระชาชนท้ังสองประเทศข้ามไปมาได้จะเป็นส่วนทาให้เศรษฐกิจขับเคล่ือนและการบริโภคภาคเอกชนมีทิศทางท่ี
ดีขึ้น และการใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัว เนื่องจากมีการเร่งรัดเบิกจ่ายเงินเข้าระบบท้ังรายจ่ายประจาและ
รายจา่ ยลงทนุ ผา่ นหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพ่ือให้มีเม็ดเงนิ เขา้ สรู่ ะบบเศรษฐกจิ

2. สาหรับเสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัดมุกดาหาร อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565
คาดว่าจะอยู่ท่ีร้อยละ 1.6 (เพิ่มขึ้นจากที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้อยู่ที่ร้อยละ 1.2) เพ่ิมข้ึนจาก
ปีก่อนท่ีอยู่ท่ีร้อยละ 1.4 โดยมีสาเหตุจากราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกท่ีเพิ่มข้ึน โดยมีแรงกดดันจากการ
สู้รบระหว่างรัสเซยี และยูเครน ส่งผลตอ่ ราคาสนิ ค้าในภาพรวมเพ่ิมขึ้น คา่ ครองชีพทีเ่ พิ่มขึ้น ทัง้ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด- 19
ที่มีการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัสท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพของวคั ซีน จ้างงานในจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่ามีการจ้างงาน
จานวน 193,250 คน หรือเพม่ิ ขนึ้ จากปีก่อน จานวน 2,421 คน (ตา่ กว่าทีค่ าดการณไ์ ว้ ณ เดอื นธนั วาคม 2564 ที่คาดว่าจะมกี าร
จ้างงาน จานวน 196,276 คน) เน่ืองจากมีการลงทุนของภาคเอกชนในจังหวัดเพ่ิมขึ้น ได้แก่ บริษัทผลิตกัญชงครบวงจร
รา้ นอาหารเวยี ดนามแหง่ ใหม่ และการขยายกาลังการผลิตของโรงงานแปง้ มนั สาปะหลัง เปน็ ตน้

ปจั จัยสนบั สนุนต่อระบบเศรษฐกจิ ของจังหวดั มุกดาหารในปี 2565
1. เป็นเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษจงั หวัดมกุ ดาหาร จากการไดร้ ับประกาศจดั ต้ังให้เปน็ เขตพฒั นาเศรษฐกจิ

พิเศษ 1 ใน 5 จังหวัดแรก ทาให้มีการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานต่าง ๆ ได้แก่ ถนนสี่ช่องจราจร เนื่องจากอยู่ในเส้นทางระเบยี ง
เศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (East – West Economics Corridor : EWEC) หรือเส้นทางหมายเลข 9 (R9) และถนน
ในเขตจงั หวัดมุกดาหารมกี ารปรับปรงุ ใหด้ ีข้นึ

2. การเปิดด่านพรมแด่นสะพานมิตรภาพ ไทย-ลาว แห่งท่ี 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) และ
จุดผ่านแดนถาวรอาเภอเมืองมุกดาหาร หรือท่าข้ามเทศบาลเมืองมุกดาหาร เบื้องต้นคาดว่าจะเปิดในวันท่ี 1 เมษายน
2565 แต่เล่ือนออกไปจนกว่าสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 จะคลคี่ ลาย

3. มีโรงงานแปรรูปสินค้าเกษตรท่ีสาคัญของจังหวัด ได้แก่ โรงสีข้าว โรงงานน้าตาล โรงงานแปรรูป
ยางพารา โรงงานแปง้ มันสาปะหลัง เพ่ือรองรบั สินค้าเกษตรจากเกษตรกรในจงั หวัดและจากจังหวดั ใกลเ้ คยี ง

4. เป็นเขตส่งเสริมเมืองอัจฉรยิ ะมุกดาหาร โดยกระทรวงดจิ ิตลั เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ประกาศให้
จังหวัดมุกดาหาร เป็นเขตส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ (Smart City มุกดาหาร) ประเภทเมืองเดิมน่าอยู่ (Liveable City)
ได้แก่ สิ่งแวดล้อมอัจฉริยะ (Smart Environment) การเดินทางและการขนส่งอัจฉริยะ (Smart Mobility)
การดารงชวี ิตอจั ฉรยิ ะ (Smart Living) และเศรษฐกิจอจั ฉริยะ (Smart Economy) ทาให้มีโครงการทเี่ ก่ียวเน่อื งเพิ่มข้ึน

5. การส่งเสริมปลูกพืชเศรษฐกิจใหม่ (กัญชงครบวงจร) มีท้ังผลิตและโรงสกัดแปรรูป โดยการลงทุน
ของบริษัทเอกชน และการทา MOU กับสถาบันพระบรมราชชนก, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
และสถาบนั อาหาร โดยเร่มิ ปลูกตงั้ แต่เดอื นกันยายน 2564 ปัจจุบันมกี ารเกบ็ เก่ยี วและแปรรูปผลผลิตแล้ว

ปัจจัยเส่ยี งต่อระบบเศรษฐกจิ ของจังหวัดมุกดาหารในปี 2565
1. การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ความไม่แน่นอนของสถานการณ์การ

ระบาดของโรคโควดิ 19 ท่ามกลางการกลายพนั ธ์ขุ องไวรัสทม่ี ีผลต่อประสทิ ธภิ าพของวัคซนี
2. ความผันผวนของราคาน้ามันในตลาดโลก เน่ืองจากปัจจุบันมีการสู้รบระหว่างรัสเซียและยูเครน

ทส่ี ่งผลตอ่ ราคาพลงั งานและสนิ ค้าโภคภณั ฑ์ท่วั โลกทาให้ราคาเพม่ิ สูงข้ึน สง่ ผลตอ่ ต้นทนุ ผปู้ ระกอบการและค่าครองชีพ
3. เศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า และนโยบายการค้าการลงทุนของประเทศเพ่ือนบ้าน เน่ืองจากจังหวัด

มกุ ดาหารเปน็ จงั หวดั ชายแดนทตี่ อ้ งอาศัยกาลังซ้ือจากประเทศเพ่ือนบ้าน เป็นสาคญั
4. ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตร เน่ืองจากประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดมุกดาหารประกอบอาชีพ

เกษตรกรรม หากราคาสินค้าเกษตรตกต่าก็จะส่งผลต่อกาลังซื้อของประชากรส่วนใหญ่ท่ีจะลดลง หากราคาสินค้าเกษตร
อยู่ในเกณฑด์ จี ะสง่ ผลทาให้เศรษฐกิจฐานรากของจังหวดั มีการขบั เคลือ่ นทด่ี ี

5. ภัยธรรมชาติ ได้แก่ พายุฤดูร้อน และสภาพอากาศท่ีแปรปรวน อาจจะกระทบต่อการพืชผลการผลิต
และความปลอดภยั ตอ่ ชีวติ และทรัพยส์ ิน

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565

เมอื งการค้าทนั สมยั เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล
ตารางสรปุ สมมตฐิ านและผลการประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวัดมุกดาหาร ปี 2565

(ณ เดือนมนี าคม 2565)

2560r 2561r 2562p 2563E 2564E 2565F (ณ เดือนมนี าคม 2565)
เฉล่ีย ช่วงคาดการณ์

สมมตฐิ านหลกั 18.9 0.4 -0.4 -3.8 1.7 -4.2 -5.0 - -3.5

สมมติฐานหลักภายนอก
1) ปรมิ าณผลผลติ : ขา้ ว (ร้อยละตอ่ ป)ี

2) ปรมิ าณผลผลติ : มันสาปะหลงั (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 46.1 -32.4 10.4 14.3 33.8 3.0 2.5 - 3.5

3) ปริมาณผลผลติ : ออ้ ยโรงงาน (ร้อยละตอ่ ป)ี -44.2 1.1 -4.1 -7.3 -37.6 -9.0 -10.0 - -8.0

4) ปรมิ าณผลผลติ : ยางพารา (ร้อยละตอ่ ป)ี 35.3 -24.0 -10.0 22.3 60.8 4.4 4.0 - 5.0

5) ราคาขา้ วเฉลยี่ (บาท/ตนั ) 11,189 11,856 12,783 14,138 10,395 10,523 10,499 - 10,551

6) ราคามันสาปะหลงั (บาท/ตนั ) 1,323 1,930 1,810 1,809 2,180 2,256 2,245 - 2,267

7) ราคาออ้ ยโรงงาน (บาท/ตนั ) 920 739 622 709 871 918 915 - 923

8) ราคายางพารากอ้ นถว้ ย (บาท/ตนั ) 24,672 18,639 19,857 20,438 23,400 24,671 24,570 - 24,804

9) จานวนโรงงานภาคอตุ สาหกรรมการผลติ (โรง/แหง่ ) 364 362 344 131 131 133 132 - 133

10) จานวนทนุ จดทะเบยี นของอตุ สาหกรรม 5,192 6,590 6,557 6,505 6,563 6,613 6,596 - 6,628
การผลติ (ลา้ นบาท)

11) ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอตุ สาหกรรม(รอ้ ยละตอ่ ป)ี 0.6 4.0 6.6 3.1 7.6 7.5 7.0 - 8.0

12) รายไดจ้ ากภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละตอ่ ป)ี 2.2 -4.8 5.0 -1.0 20.1 8.8 8.0 - 10.0

12) ภาษมี ูลคา่ เพม่ิ การบริการโรงแรม (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 64.7 -0.5 -4.0 1.6 0.0 1.4 1.0 - 2.0

13) จานวนนักทอ่ งเท่ยี วโดยเฉล่ยี ท่ผี า่ นเขา้ -ออกดา่ นตรวจคนเขา้ เมือง (คน) 1,028,301 987,775 1,099,699 338,080 122,434 137,534 134,677 - 140,799

14) จานวนผ้เู ยี่ยมเยือนจังหวดั มุกดาหาร(คน) 1,985,893 2,120,289 2,108,025 869,560 548,588 1,124,605 1,097,176 - 1,152,035

15) ยอดขายสง่ ขายปลกี (รอ้ ยละตอ่ ป)ี -32.4 -14.9 35.3 -3.0 18.9 5.4 5.0 6.0

16) การจดทะเบยี นใหม่รถยนตน์ ่ังสว่ นบคุ คล 1,703 1,936 1,830 1,400 1,534 1,675 1,657 - 1,687
ไม่เกนิ 7 ที่นั่ง (คนั )

17) การจดทะเบยี นใหม่รถจักรยานยนต์ (คนั ) 9,718 9,285 7,819 7,702 8,585 9,223 9,186 - 9,272

18) พน้ื ที่อนุญาตกอ่ สร้างในเขตเทศบาลเมือง (ตารางเมตร) 52,781 48,451 55,749 54,019 73,374 82,790 80,711 - 84,380

19) การจดทะเบยี นใหม่รถยนตเ์ พอ่ื การพาณชิ ย์ (คนั ) 1,149 1,113 1,061 915 818 837 830 - 847

20) สนิ เชอ่ื เพอ่ื การลงทนุ (ลา้ นบาท) 9,716 10,261 10,293 11,295 12,816 13,073 13,009 - 13,137
209,882 214,406 224,803 282,061 367,077 350,559 348,723 - 352,394
21) การคา้ ชายแดน มูลคา่ การสง่ ออกนาเขา้ เฉล่ยี (ลา้ นบาท)
(รอ้ ยละตอ่ ป)ี 57.1 2.2 4.8 25.5 30.1 -4.5 -5.0 - -4.0

สมมติฐานด้านนโยบาย

22) การเบกิ จา่ ยงบประมาณ งบประจา (ลา้ นบาท) 7,061 6,388 7,631 7,893 8,177 8,491 8,423 - 8,545

(ร้อยละตอ่ ป)ี 40.6 -9.5 19.5 3.4 3.6 3.8 3.0 - 4.5

23) การเบกิ จ่ายงบประมาณ งบลงทนุ (ลา้ นบาท) 1,404 1,334 1,224 2,069 2,017 2,195 2,179 - 2,276

(ร้อยละตอ่ ป)ี -48.3 -5.0 -8.2 69.0 -2.5 8.8 8.0 - 10.0

24) การเบกิ จา่ ยงบประมาณทอ้ งถิน่ งบประจา(ลา้ นบาท) 2,074 2,146 2,146 2,146 2,146 2,261 2,254 - 2,275

(รอ้ ยละตอ่ ป)ี 146.0 3.5 0.0 0.0 0.0 5.3 5.0 - 6.0

25) การเบกิ จ่ายงบประมาณทอ้ งถ่นิ งบลงทนุ (ลา้ นบาท) 392 398 254 364 502 444 437 - 452

(รอ้ ยละตอ่ ป)ี 146.4 1.6 -36.1 43.3 37.9 -11.7 -13.0 - -10.0

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 6

เมอื งการค้าทันสมัย เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

(ตอ่ ) 2560r 2561r 2562p 2563E 2564E 2565F (ณ เดือนมีนาคม 2565)
เฉลี่ย ช่วงคาดการณ์
ผลการประมาณการ
1) อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ (ร้อยละ) 7.9 1.5 5.8 2.3 4.9 4.3 3.8 - 4.9
2) อตั ราการขยายตวั ของภาคเกษตรกรรม (ร้อยละ) 34.2 -23.1 -9.9 20.8 58.2 4.2 3.8 - 4.8
3) อตั ราการขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละ) 1.3 2.4 5.6 -4.0 11.3 6.4 5.8 - 7.2
4) อตั ราการขยายตวั ของภาคบริการ (รอ้ ยละ) -6.1 -5.7 13.3 -10.9 7.2 6.0 5.4 - 6.7
5) อตั ราการขยายตวั ของการบริโภคภาคเอกชน (รอ้ ยละ) -0.6 -12.5 -27.1 -3.9 2.2 9.0 8.0 - 9.9
6) อตั ราการขยายตวั ของการลงทนุ ภาคเอกชน (รอ้ ยละ) 0.2 7.8 5.9 4.3 10.5 2.0 1.5 - 2.5
7) อตั ราการขยายตวั ของการใชจ้ ่ายภาครัฐ (ร้อยละ) 33.1 -6.3 10.8 0.6 1.6 4.0 3.3 - 4.8
8) อตั ราการขยายตวั ของการคา้ ชายแดน (ร้อยละ) 57.1 2.2 4.8 25.5 30.1 -4.5 -5.0 - -4.0
9) อตั ราการขยายตวั ของรายไดเ้ กษตรกร (รอ้ ยละ) 26.5 -22.6 -10.6 28.5 39.2 7.5 6.8 - 8.5
10) อตั ราเงินเฟอ้ ทวั่ ไป (ร้อยละ) 0.3 0.6 1.9 -0.4 1.4 1.6 1.5 - 1.7
11) จานวนผมู้ ีงานทา (คน) 193,972 196,270 193,359 172,396 190,829 193,250 192,973 - 193,590
-518 2,297 -2,911 -20,962 18,433 2,421 2,144 - 2,761
เปลย่ี นแปลง (คน)

ที่มา : กลุม่ งานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวดั สานกั งานคลังจังหวัดมุกดาหาร
r = Revised : แกไ้ ข
p = Prelimenary : เบ้ืองตน้
E = Estimate : การประมาณการ
F = Forecast : การพยากรณ์

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 7

เมอื งการค้าทันสมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดมุกดาหาร ปี 2565
(ณ เดอื นมนี าคม 2565)

1.ด้านการผลิต (Supply side) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 6.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ (4.2 – 5.3))
จากปีก่อนหน้าที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 43.0 โดยเป็นผลจากภาคเกษตรกรรม ท่ีชะลอตัวลงเน่ืองจากในปีท่ีผ่านมา
ปริมาณผลผลติ สินคา้ เกษตรหลกั เกือบทุกชนิดมีการขยายตัวทง้ั ปริมาณและราคา ได้แก่ ยางพารา มนั สาปะหลัง เป็นตน้
ปริมาณผลผลิตข้าวนาปีท่ีเพ่ิมข้ึนในปีที่ผ่านมาจากปริมาณน้าฝนและสภาพอากาศท่ีเอื้ออานวยรวมถึงการดูแลของ
เกษตรกรแมร้ าคาท่ีอยรู่ ะดับตา่ แตก่ ็ได้รับการชดเชยและช่วยเหลอื จากรัฐบาล สาหรับปีน้คี าดการณ์ว่าจะลดลงจากการ
ท่ีเกษตรกรลดพื้นท่ีปลูกข้าวเพื่อไปปลูกพืชอื่นในบางส่วน เช่น ปลูกหญ้าเพื่อเล้ียงสัตว์ และเกษตรกรบางส่วนเข้า
โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”เป็นต้น
ดา้ นภาคอตุ สาหกรรม คาดว่าจะชะลอตวั จากปีก่อน เนื่องจากปีท่ผี ่านมามีการขยายตัวถึงร้อยละ 11.3 คาดว่าจะส่งผล
ให้ปีน้ีขยายตัวในอัตราท่ีชะลอลง โดยมีการขยายกาลังการผลิตของโรงงานแป้งมันสาปะหลังเพ่ิม 1 แห่ง ขยายจากเดมิ
100 ตัน/วัน เพ่ิมเป็น 300 ตัน/วัน ซึ่งโรงงานแปรรูปสนิ ค้าเกษตรในจังหวดั เป็นแหล่งรับซอื้ และแปรรปู สนิ ค้าเกษตรทั้ง
ของเกษตรกรในจังหวัดและจากจังหวัดใกล้เคียง เป็นสาคัญ ด้านภาคบริการ คาดว่าจะชะลอตัวลง เนื่องจาก
ปีที่ผ่านมามีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจากภาครัฐผ่านโครงการต่าง ๆ ได้แก่ โครงการเราชนะ โครงการคนละครึ่ง
มาตรการเพ่ิมกาลังซื้อให้กบั ผ้ถู ือบัตรสวัสดิการและผู้ท่ีต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ โครงการ ม.33 เรารักกนั ซึง่ มี
เม็ดเงินหมุนเวียนในจังหวัดจากโครงการดังกล่าว ประมาณ 4,000 ล้านบาท ในขณะท่ีจังหวัดมุกดาหารมีโครงการ
ส่งเสริมการท่องเท่ียวทุกเดือนเพ่ือขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ประกอบกับจะมีการเปิดด่านเบื้องต้นจะมีการเปิดตั้งแต่วันท่ี 1
เมษายน 2565 แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 จึงมีการเล่ือนไปแบบไม่มีกาหนด คาดว่าช่วง
ครึ่งปหี ลังสถานการณม์ ีแนวโนม้ ดีขึ้นและสง่ ผลตอ่ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ให้ขับเคลื่อนตอ่ ไป

ประมาณการอตั ราการขยายตัวเศรษฐกิจจังหวดั มุกดาหาร (ดา้ นการผลติ )

50.0 43.7 43.0
40.0 37.6

%YOY 30.0 22.3 21.6 20.8
20.0 18.2 12.5
9.8 (4.2 – 5.3)
10.0 2.8 4.6

0.0 -17.8 -3.1

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

-10.0 (ณ (ณ

-20.0 ธันวาคม มนี าคม

2564) 2565) ปี

-30.0

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 8

เมอื งการค้าทันสมยั เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเที่ยวชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล

1.1 ปริมาณผลผลิตข้าวนาปี ในปี 2565 คาดว่าจะหดตัวท่ีร้อยละ 4.2 (ลดลงจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือน
ธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ว่าจะหดตัวท่ีร้อยละ 3.3) หดตัวจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 1.7 โดยคาดว่าจะหดตัว
เน่ืองจากพ้ืนที่เพาะปลูกมีจากัด บางส่วนลดพื้นท่ีปลูกข้าว และนาพื้นที่ทาอย่างอ่ืน ได้แก่ ปรับพ้ืนท่ีทาโครงการ
โคก หนอง นา โมเดล บางส่วนมีการปลูกหญ้าเล้ยี งสัตว์ ซงึ่ จังหวัดมกี ารส่งเสรมิ ให้เกษตรกรเลย้ี งโคเนื้อโคขุน เนื่องจาก
มีตลาดรองรับทแ่ี น่นอน ผลตอบแทนท่ีดีสร้างมลู คา่ เพิ่มได้มากกว่าการทานา

ประมาณการอัตราการขยายตัวของปรมิ าณผลผลติ ข้าว

30.0 27.7
20.0 18.9

10.0 6.1

0.0 -17.8 -7.6 -8.4 -17.9 0.4 -0.4 -3.8 1.7 -3.3 -4.2

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

-10.0 (ณ (ณ

-20.0 ธันวาคม มีนาคม
2564) 2565)

-30.0

1.2 ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลัง ในปี 2565 คาดว่าจะชะลอตัวท่ีร้อยละ 3.0 (ชะลอตัวจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ
เดือนธันวาคม 2564 ที่คาดการณ์ไว้ว่าจะชะลอตัวที่ร้อยละ 3.1) สาเหตุท่ีปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังชะลอตัวลง
เนื่องจากในปีที่ผ่านมามีการขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกและมีปริมารผลผลิตท่ีขยายตัวสูงถึงร้อยละ 33.8 ทาให้ปีนี้ปริมาณ
ผลผลิตคาดว่าจะเพิ่มข้ึนในอัตราชะลอลง และอีกปัจจัยท่ีอาจส่งผลต่อปริมาณผลผลิตมันสาปะหลัง คือ การระบาด
ของโรคใบดา่ งมันสาปะหลัง ซ่งึ อาจสง่ ผลตอ่ ปรมิ าณผลผลิตเฉลีย่ ตอ่ ไร่

ประมาณการอตั ราการขยายตวั ของปรมิ าณผลผลติ มนั สาปะหลงั

60.0

50.0 46.1

40.0 33.8

%YOY 30.0 10.4 14.3
20.0 16.8 14.5 -32.4

10.0 -36.2 -9.3 -15.2 -35.7 3.1 3.0
0.0

-10.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F
-20.0 (ณ (ณ ปี
-30.0 ธนั วาคม มีนาคม
-40.0 2564) 2565)
-50.0

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 9

เมืองการคา้ ทนั สมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

1.3 ปริมาณผลผลิตอ้อยโรงงานในปี 2565 คาดว่าจะหดตัวร้อยละ 9.0 (ลดลงจากที่คาดการณ์ไว้ ณ
เดือนธันวาคม 2564 คาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 10.0) หดตัวจากปีก่อนหน้าท่ีหดตัวร้อยละ 37.6 เนื่องจากพ้ืนท่ี
ปลกู และปริมาณการผลิตลดลง เน่ืองจากเกษตรกรบางส่วนปรบั เปลี่ยนไปปลูกมนั สาปะหลังเพ่ิมขึน้

ประมาณการอตั ราการขยายตวั ของปริมาณผลผลิตออ้ ยโรงงาน

80.0 67.2
60.0

40.0 34.8

%YOY 20.0 6.4 10.0

0.0 0.6 -3.4 -22.9 -44.2 1.1 -4.1 -7.3 -37.6 -9.0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F ปี

-20.0 (ณ (ณ

-40.0 ธันวาคม มนี าคม
2564) 2565)

-60.0

1.4 ปริมาณผลผลิตยางพาราในปี 2565 คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 4.4 (เพ่ิมข้ึนจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือน
ธันวาคม 2564 ที่คาดการณ์ว่าจะชะลอตัวที่ร้อยละ 2.4) จากปีก่อนหน้าท่ีขยายตัวร้อยละ 60.8 โดยปีที่ผ่านมามีการ
ขยายตัวในอัตราที่สูง เน่ืองจากเน้ือท่ีเปิดกรีดยางที่เพิ่มข้ึน และอายุต้นยางพาราอยู่ในช่วงท่ีให้ผลผลิตสูง รวมท้ังเนื้อท่ี
เปดิ กรดี ส่วนใหญเ่ ปน็ ตน้ ยางท่ีมอี ายอุ ยใู่ นช่วงทใี่ หผ้ ลผลติ สงู ประกอบกับราคารบั ซ้ือท่ปี รบั เพ่มิ ข้นึ จงู ใจเกษตรกร

ประมาณการอัตราการขยายตวั ของปริมาณผลผลติ ยางพารา

160.0
140.0 136.8

120.0

100.0

%YOY 80.0 54.7 60.8
60.0 53.5 52.4
40.0 34.2 35.3
16.5 22.3
20.0 2.4 4.4
-24.0 -10.0
0.0

-20.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

-40.0 (ณ (ณ ปี
ธนั วาคม มนี าคม
2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 10

เมืองการคา้ ทันสมัย เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

1.5 จานวนทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมการผลิต ในปี 2565 คาดว่าจะมี จานวน 6,613 ล้านบาท (ลดลงจากท่ี
คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ประมาณ 6,760 ) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าที่มีทุนจดทะเบียน 6,505
ล้านบาท เนื่องจากมีการขยายกาลังการผลติ ของโรงแป้งมันสาปะหลังในจังหวัด 1 แห่ง จากเดิมที่มีกาลังการผลิต 100
ตัน/วัน ขยายเพ่ิมเป็น 300 ตัน/วัน เพ่ือรองรับปริมาณผลผลิตมันสาปะหลังในพ้ืนที่และสร้างงานสร้างอาชีพให้กับ
ประชาชนที่อยูร่ อบ ๆ โรงงานแปง้ มันสาปะหลงั

ประมาณการทนุ จดทะเบยี นอตุ สาหกรรมการผลติ

8,000 6,590 6,557 6,505 6,563 6,760 6,613
7,000
6,000 4,529 4,685 5,155 5,192
5,000 4,382 4,360 4,485

4,000
3,000
2,000
1,000
0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

(ณ (ณ
ธนั วาคม มีนาคม
2564) 2565)

ประมาณการจานวนทนุ จดทะเบียนอตุ สากรรมการผลิต

1.6 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 7.5 (เพิ่มข้ึนจาก
ท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ที่คาดการณ์ไว้ท่ีร้อยละ 2.5) ขยายตัวจากปีก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.6 เน่ืองจากโรงงาน
อุตสาหกรรมในจังหวัดมุกดาหาร มีการขยายกาลังการผลิตเพิ่มข้ึนในปีนี้ ได้แก่ โรงแป้งมันสาปะหลัง ประกอบกับ
มีอตุ สาหกรรมผลิตกัญชงครบวงจร ท่มี กี ารปลูกแบบกรนี เฮา้ ส์และจะมีการเดินเครื่องจักรเพ่ือสกัดสารจากกัญชงเพื่อใช้
ทางการแพทย์และในเชิงพาณิชย์ ซ่งึ คาดว่าจะมปี ริมาณการใช้ไฟฟ้าทเ่ี พ่ิมขน้ึ

ประมาณการอตั ราการขยายตวั ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม

35.0 31.6
30.0

25.0 22.7
20.0 16.7

%YOY 15.0 13.1
10.0
5.0 -4.3 -2.7 0.6 4.0 6.6 3.1 7.6 2.5 7.5
0.0

-5.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F
-10.0 (ณ (ณ ปี

ธนั วาคม มนี าคม

2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 11

เมืองการค้าทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

1.7 รายได้ภาคอุตสาหกรรม ในปี 2565 คาดว่าจะชะลอตัวท่ีร้อยละ 8.8 (เพ่ิมข้ึนจากที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือน
ธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์จะชะลอตัวร้อยละ 7.2) ซึ่งชะลอตัวจากปีก่อนหน้าท่ีขยายตัวร้อยละ 20.1 เนื่องจากส่งผลต่อ
ความต้องการของตลาดปลายทาง เช่น อุตสาหกรรมยางพาราที่มีความต้องการเพิ่มขึ้นจากการผลิตถุงมือยางท่ีนาไปใช้
ทางการแพทย์ อตุ สาหกรรมแปรรูปแป้งมันสาปะหลัง ทมี่ ีความต้องการจากตลาดปลายทางเพ่ิมข้นึ และในปีนี้ทรี่ าคาพลังงาน
เชื้อเพลิงที่ปรับเพิ่มขึ้นจากปัจจัยสู้รบระหว่างรัสเซียและยูเครน ท่ีเป็นตัวผลักดันให้ราคาพลังงานเพ่ิมสูงข้ึน ส่งผลให้จีน
มีความต้องการซื้อผลิตภณั ฑ์มันสาปะหลังจากไทยเพ่ิมขน้ึ

ประมาณการอตั ราการขยายตวั รายไดภ้ าคอุตสาหกรรม

60.0 55.7

50.0 45.1
39.7

40.0

30.0 20.1
20.0 18.6

10.0 2.6 -9.1 2.2 -4.8 5.0 -1.0 7.2 8.8

0.0

-10.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

-20.0 (ณ (ณ
ธนั วาคม มีนาคม

2564) 2565)

1.8 จานวนนักท่องเที่ยวโดยเฉลี่ยท่ีผ่านเข้า–ออกด่านตรวจคนเข้าเมือง ในปี 2565 คาดว่าจะเพ่ิมขึ้นร้อยละ 12.3
หรือมีจานวนนักท่องเท่ียวเฉล่ียประมาณ 137,534 คน (ลดลงจากที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์
จะมีประมาณ 266,798 คน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าที่มีจานวน 122,434 คน โดยคาดว่าจะขยายตัวเพ่ิมข้ึนจาก
มาตรการเปดิ ประเทศ การประกาศให้โรคโควดิ -19 เปน็ โรคประจาถน่ิ ในวันท่ี 1 กรกฎาคม 2565

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 12

เมืองการคา้ ทนั สมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเท่ยี วชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

1.9 จานวนผเู้ ย่ยี มเยอื นจงั หวดั มกุ ดาหาร ในปี 2565 คาดวา่ จะเพมิ่ ข้นึ รอ้ ยละ 105.0 (เพม่ิ ขึน้ จากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือน
ธนั วาคม 2564 ทคี่ าดการณ์ไว้ลดลงร้อยละ 9.1) เพมิ่ ขึ้นจากปกี ่อนหน้าท่ีลดลงร้อยละ 36.9 เนื่องจากจงั หวัดมนี โยบายการกระตุ้น
เศรษฐกิจ และสง่ เสริมการท่องเท่ียว โดยมีการกิจกรรมต่าง ๆ ในทุกเดือน เชน่ งานตรุษจนี งาน Viet Town การแขง่ ขนั จักรยาน
ประเภทถนน ชิงแชมป์ประเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทาน “คิงส์ภูมิพล” และการแข่งขันจักรยานประเภทเสือภูเขา
ชิงแชมป์ประเทศไทย ชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประจาปี 2565 การแข่งขันปั่นจักรยาน
ทางไกลนานาชาติ เปน็ ต้น

2,500ค,0น00 1,884,455 1,985,893 2,120,289 2,108,025 105.0 120.00
100.00
2,000,000 9.1 1,124,605 80.00
1,500,000 60.00
1,000,000 0.00 5.4 6.8 869,560 548,588 826,941 40.00
20.00
500,000 -0.6 -36.9 0.00
- -20.00
-58.8 -40.00
2564E 2565F 2565F -60.00
2559 2560 2561 2562 2563E -80.00
(ณ ธนั วาคม (ณ มนี าคม
2564) 2565) ปี

1.10 ยอดการขายส่งขายปลีก ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 5.4 (เพิ่มข้ึนจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ
เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ว่าจะชะลอตัวที่ร้อยละ 3.5) ชะลอตัวจากปีก่อนหน้าท่ีขยายตัวร้อยละ 18.9 เนื่องจาก
ผู้ประกอบการรายใหญ่มียอดขายท่ีเพิ่มขึ้น ประกอบกับจะมีการเปิดประเทศซ่ึงรอให้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคโควิด- 19 คลคี่ ลายลง ซงึ่ จะเป็นตวั ผลกั ดันใหม้ ีกาลังซือ้ จากประเทศเพอ่ื นบา้ นทเ่ี ดนิ ทางเขา้ มาซือ้ สินค้าและจบั จา่ ยใช้สอยใน
จังหวดั เพม่ิ ขึน้

ประมาณการอัตราการขยายตัวยอดขายส่งขายปลีกฯ

120.0 108.9

100.0

80.0

60.0 35.3

40.0 20.6 6.8 2.3 -32.4 -14.9 18.9 5.4
20.0 0.1 5.8 -3.0 3.5
0.0
-20.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F
(ณ (ณ
-40.0 ธนั วาคม มนี าคม

2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 13

เมอื งการค้าทันสมยั เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

2. ด้านการใช้จ่าย (Demand side) คาดว่าจะหดตัวท่ีร้อยละ2.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ
((-2.7) – (-1.6)) หดตัวจากปีก่อนหน้าท่ีคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 23.0 คาดว่าจะมาจากการค้าชายแดน ท่ีคาดว่าจะ
หดตัวจากปีก่อนท่ีขยายตัวสูงถึงร้อยละ 30.1 เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้ประเทศเพ่ือนบ้าน
มีมาตรการเข้มงวดในการนาเขา้ -สง่ ออก สง่ ผลใหป้ ริมาณการนาเข้าและส่งออกลดลง ประกอบกับจนี และเวียดนามเพิ่ม
ความเข้มงวดในการตรวจสอบเช้ือไวรัสโควิด 19 จากผู้ขับข่ียานพาหนะที่ขนส่งสินค้าและที่ตัวสินค้ามากขึ้น ส่งผลให้
การขนส่งสินค้าบริเวณชายแดนจีนและเวียดนามติดขัดเป็นอย่างมากทาให้เกิดความล่าช้าในการขนส่ง ทาให้
ผู้ประกอบการบางส่วนเปล่ียนเส้นทางการขนส่งไปใช้การขนส่งโดยรถไฟที่ผ่านทางจังหวัดหนองคายแทนเพ่ือความ
สะดวก และลดขั้นตอนและลดต้นทุนของผู้ประกอบการ สาหรับการลงทุนภาคเอกชน คาดว่าจะชะลอตัว เน่ืองจากใน
ปีท่ีผา่ นมามกี ารขยายตัวสงู ถึงร้อยละ 10.50 มาจากการขยายตัวเครื่องช้พี น้ื ทขี่ ออนญุ าตก่อสรา้ งก่อสร้างในเขตเทศบาล
เมืองทเ่ี พิ่มข้นึ ถงึ ร้อยละ 35.83 จึงเปน็ ผลผให้ปีนี้นา่ จะชะลอลง สาหรับเครือ่ งชีส้ นิ เชือ่ เพื่อการลงทุนท่ีขยายตวั ในปีก่อน
สูงถึงร้อยละ 13.47 ที่ขยายตัวค่อนข้างสูงส่งผลให้ปีน้ีคาดว่าจะชะลอลง โดยสินเช่ือส่วนใหญ่จะเป็นการช่วยเหลือจาก
ภาครัฐผ่านธนาคารของรัฐ เพ่ือเป็นการฟ้ืนฟูและเพิ่มสภาพคล่องให้กับกิจการ เป็นสาคัญ ในขณะที่การบริโภค
ภาคเอกชน คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มข้ึนโดยมีสัญญาณที่เป็นบวกจากเครื่องชี้สินค้าคงทน ได้แก่ การจดทะเบียน
รถจักรยานยนต์ใหม่ 2 เดือนแรกของปีที่เพ่ิมขึ้นถึงร้อยละ 28.44 และปัจจัยสนับสนุนประการสาคัญ คือ หลังจากท่ี
ประกาศให้โรคโควิด 19 เป็นโรคประจาถิ่น จะทาให้มาตรการต่าง ๆ ผ่อนคลายลงและมีแนวทางการป้องกันรักษาท่ี
ชัดเจนข้ึน และการเปิดด่านเพ่ือให้ประชาชนท้ังสองประเทศข้ามไปมาได้จะเป็นส่วนทาให้เศรษฐกิจขับเคล่ือนและการ
บริโภคภาคเอกชนมที ศิ ทางทีด่ ีขนึ้ และการใชจ้ า่ ยภาครัฐ คาดว่าจะขยายตัว เนื่องจากมกี ารเร่งรดั เบิกจ่ายเงินเข้าระบบ
ทัง้ รายจ่ายประจาและรายจา่ ยลงทุนผ่านหนว่ ยงานตา่ ง ๆ เพอื่ ใหม้ เี มด็ เงนิ เขา้ ส่รู ะบบเศรษฐกิจ

ประมาณการอัตราการขยายตัวเศรษฐกิจจังหวัดมกุ ดาหาร (ดา้ นการใช้จ่าย)

50.0 46.7

40.0 32.5 23.0
32.6 25.9

30.0

%YOY 20.0 17.8 8.4
14.7 ((--22.7.)2- (-1.6))

10.0 6.5 -0.6 0.3
0.0 -10.1

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F ปี

-10.0 (ณ (ณ

ธนั วาคม มีนาคม
2564) 2565)

-20.0

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 14

เมืองการคา้ ทนั สมัย เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

2.1 ภาษีมูลค่าเพิ่มท่ีจัดเก็บได้ (ไม่รวมด่านศุลกากร) ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวท่ีร้อยละ 9.0 (ขยายตัวจาก
ท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ที่คาดการณ์จะหดตัวท่ีร้อยละ 1.8) ซ่ึงมาจากผู้ประกอบการรายใหญ่ในจังหวัด
มียอดขายสนิ ค้าเพม่ิ ขน้ึ โดยมีเป้าหมายการเปดิ ประเทศทาใหก้ าลงั ซ้อื จากประเทศเพือ่ นบา้ นกลบั มาขยายตวั เพิ่มขึน้

ประมาณการอตั ราการขยายตัวภาษีมูลค่าเพิ่มทจ่ี ัดเกบ็ ได้ (ไมร่ วมศลุ กากร)

60.00
50.00 48.1

40.00

30.00 25.4 21.2 16.4
20.00 10.0
%YOY 10.00 7.9 9.0
0.00 -8.3 -1.4 -20.3 -36.4 -1.5 -1.8
-10.00
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

-20.00 (ณ (ณ
ธันวาคม มนี าคม
-30.00 2564) 2565) ปี

-40.00

-50.00

2.2 จานวนการจดทะเบียนใหม่รถยนต์น่ังส่วนบุคคลไม่เกิน 7 ท่ีนั่ง ในปี 2565 คาดว่าจะมีประมาณ 1,675 คัน
(เพ่ิมข้ึนจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ประมาณ 1,647 คัน) เพิ่มข้ึนจากปีก่อนหน้าที่มีจานวน
1,534 คัน หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 9.2 เน่ืองจากบริษัทหรือตัวแทนจาหน่ายรถยนต์ค่ายต่าง ๆ มีกิจกรรมส่งเสริมการขาย
ออกมากระตนุ้ ยอดการจาหนา่ ยจูงใจผซู้ ้ือมากขน้ึ ทาให้จงู ใจผู้ทีต่ ้องการซือ้ รถยนต์ทีย่ ังพอมกี าลงั ซื้อในชว่ งน้ี

จานวนการจดทะเบยี นใหมร่ ถยนต์น่ังส่วนบุคคลไม่เกนิ 7 ท่ีนั่ง

3,500 100.0

3,000 2,58081.23,888 80.0

2,500 2,074 60.0

2,000 1,598 1,660 1,93613.71,830 1,400 1,534 1,647 1,675 40.0

1,500 1,42321.1 11.9 3.9 1,7032.6 9.6 17.7 20.0

ัคน 1,000 -5.5 9.2
0.0
500 -28.2 -23.0
-23.5 -20.0

0 -40.0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F ปี

(ณ (ณ
ธันวาคม มีนาคม
2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 15

เมอื งการค้าทนั สมัย เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เชือ่ มโยงสู่สากล

2.3 จานวนการจดทะเบียนใหม่รถจักรยานยนต์ ในปี 2565 คาดว่าจะมีประมาณ 9,223 คัน หรือชะลอลง
ร้อยละ 7.4 (ลดลงที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ประมาณ 8,382 คัน) เพ่ิมข้ึนจากปีก่อนที่มี
จานวน 8,585 คัน เนื่องจากราคาสินค้าเกษตรหลักของจังหวัดมีแนวโน้มท่ีดีข้ึน ได้แก่ ยางพารา มันสาปะหลัง
ออ้ ยโรงงาน เป็นสาคญั ประกอบกบั มีการจดั กิจกรรมส่งเสริมการขายของตวั แทนผ้จู ดั จาหน่าย เพือ่ จูงใจลูกค้าเพิ่มขนึ้

จานวนการจดทะเบยี นใหม่รถจักรยานยนต์ ร้อยละ

18,000 15,532 25.0
16,000 20.0
14,000 12,950 19.9 13,418 9,285 11.5 8.8 7.4 15.0
12,000 10.0
10,000 14.6 11,298 10,314 10,194 9,718 8,585 8,382 9,223 5.0
8,000 0.0
6,000 7,819 7,702 -5.0
4,000 -10.0
คัน 2,000 -1.2 -1.5 -15.0
-8.7 -20.0
0 -4.7 -4.5
ปี
-13.6 -15.8 -15.8

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

(ณ (ณ
ธนั วาคม มีนาคม
2564) 2565)

2.4 จานวนพ้ืนที่อนุญาตก่อสร้างในเขตเทศบาลเมือง ในปี 2565 คาดว่าจะมีประมาณ 82,790 ตารางเมตร
หรอื เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.8 (เพิ่มขน้ึ จากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ที่คาดการณ์ไว้ประมาณ 55,640 ตารางเมตร)
ชะลอตัวจากปีก่อนท่ีขยายตัวร้อยละ 35.8 เนื่องจากมีการก่อสร้างท้ังโครงการบ้านจัดสรรของเอกชนเพิ่มขึ้น ทั้งใน
รูปแบบการขยายโครงการเดิมและแบบเน้นโครงการขนาดเล็ก สร้างในพื้นท่ีว่างของชุมชนเดิม ในเขตเทศบาลเมือง
ประกอบกบั การก่อสร้างที่เปน็ งบรายจ่ายลงทุนของหน่วยงานภาครัฐ เพอ่ื เปน็ การกระตุ้นเศรษฐกิจและเพม่ิ การจ้างงาน
เปน็ สาคญั

ตารางเมตร พ้ืนท่อี นุญาตก่อสรา้ งในเขตเทศบาลเมอื ง รอ้ ยละ

120,000 104,367 102,866 130.7 150.00

100,000 120.2 82,305 82,790 100.00

80,000 44.9 73,374 50.00
60,000 47,395 12.8 -
40,000 57,143 52,781 48,451 55,749 54,019 35.8 55,460
2.9 15.1 -3.1 2.7 (50.00)
20,000 -1.4 35,680
-30.6 -17.6

-65.3
0 (100.00)
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F
ปี

(ณ (ณ
ธันวาคม มนี าคม
2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 16

เมอื งการค้าทันสมัย เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเที่ยวชายโขง เช่อื มโยงสู่สากล

2.5 สินเช่ือเพื่อการลงทุนของจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่าจะมีจานวน 13,073 ล้านบาท (เพ่ิมข้ึนจาก
ที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ประมาณ 11,534 ล้านบาท) เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.0 เนื่องจาก
รัฐบาลมีมาตรการช่วยเหลือภาคธุรกิจที่ได้รับผลกร ะทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโวคิด 19 ในรูปแบบ
สินเชื่อดอกเบี้ยต่า (Soft Loan) สินเชื่อฟ้ืนฟูกิจการ ผ่านธนาคารของรัฐ เพ่ือช่วยให้ภาคธุรกิจมีเงินลงทุนหมุนเวียน
และเสริมสภาพคล่องในการดาเนินธุรกิจเพ่ิมข้ึน ให้มีการจ้างงานในระบบเศรษฐกิจ และกระตุ้นเศรษฐกิจให้มีการ
ขับเคลื่อนต่อไป เพือ่ รองรับการผ่อนปรนมาตรการและการเปิดประเทศ

ประมาณการสนิ เช่ือเพ่ือการลงทนุ จงั หวัดมกุ ดาหาร ร้อยละ

14,000 12,816 13,073 70.0
12,000 60.0
10,000 62.2 11,295 11,534 50.0
9,141 9,338 9,716 10,261 10,293

ล้านบาท 8,000 40.0

6,000 4,318 5,127 5,562 30.0
4,000 21.6 21.4
3,541 20.0

15.2 11.1
2,000 11.1 6.9 7.9 2.0 10.0
6.4 2.0 0.0
0.1 4.9
0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

(ณ (ณ ปี

ธนั วาคม มนี าคม

2564) 2565)

2.6 การจดทะเบียนใหม่รถยนต์เพื่อการพาณิชย์ ในปี 2565 คาดว่าจะมีจานวนท้ังสิ้น 837 คัน หรือเพ่ิมขึ้น
ร้อยละ 2.3 (ลดลงจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ประมาณ 936 คัน) เพ่ิมข้ึนจากปีก่อน
หน้าที่มีจานวน 818 คัน เนอื่ งจากสถานการณร์ าคาน้ามันเชือ้ เพลิงทีผ่ ันผวนอยู่ในระดับสูง ทาใหช้ ะลอการซอื้ รถออกไป

คนั

2,500 24.8 26.81,968 30.0
2,000 1,768 20.0
1,500 1,394 11.31,650 3.3 4.8 2.3 2.3 10.0
1,000 1,149 1,113 837 0.0
1,221 1,061 915 818 936 -10.0
500 -4.7 -10.6 -20.0
1,028
-13.8
-16.2 -15.8

0 -26.0 -30.0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

(ณ (ณ ปี
ธันวาคม มนี าคม
2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 17

เมืองการค้าทันสมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเท่ียวชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

2.7 การคา้ ชายแดน ในปี 2564 คาดว่าจะหดตวั ร้อยละ 4.5 (ลดลงจากที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธนั วาคม 2564
ทีค่ าดการณ์ว่าจะขยายตวั ร้อยละ 10.3) หดตวั จากปีกอ่ นหนา้ ที่ขยายตวั ร้อยละ 30.1 โดยคาดว่าจะหดตัว เนอื่ งจากการ
แพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ทาให้ประเทศเพื่อนบ้านมีมาตรการเข้มงวดในการนาเข้า-ส่งออก ส่งผลให้ปริมาณการ
นาเข้าและส่งออกลดลง ประกอบกับจีนและเวียดนามเพิ่มความเข้มงวดในการตรวจสอบเชื้อไวรัสโควิด 19 จากผู้ขับข่ี
ยานพาหนะที่ขนส่งสินค้าและท่ีตัวสินค้ามากข้ึน ส่งผลให้การขนส่งสินค้าบริเวณชายแดนจีนและเวียดนามติดขัดเป็น
อย่างมากทาให้เกิดความล่าช้าในการขนส่ง ส่งผลให้ผู้ประกอบการบางส่วนเปล่ียนเส้นทางการขนส่งไปใช้การขนส่ง
โดยรถไฟท่ีผา่ นทางจงั หวัดหนองคายแทนเพอ่ื ความสะดวก และลดขน้ั ตอนและลดต้นทนุ ของผูป้ ระกอบการ

ประมาณการมูลค่าการคา้ ชายแดน

400,000 100.0
350,000
300,000 84.1 367,077 350,559
80.0

65.4 57.1 311,207

282,061 60.0

250,000 35.6 21.4 209,882 214,406 224,803 25.5 30.1 40.0
200,000 20.0

150,000 11.0 2.2 4.8 10.3 -4.5 0.0
100,000 133,561 -20.0
50,000
98,457 -40.0
72,596 59,925 66,490 80,741

-39.1

0 -60.0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

(ณ (ณ
ธนั วาคม มนี าคม

2564) 2565)

ประมาณการมูลคา่ การค้าชายแดนภาพรวม ประมาณการอัตราการขยายตวั มลู คา่ การค้าชายแดนเฉลย่ี

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 18

เมอื งการคา้ ทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเท่ียวชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

2.8 การใช้จ่ายภาครัฐ ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.0 (ลดลงเทียบกับที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม
2564 ที่คาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 4.2) ขยายตัวจากปีก่อนหน้าท่ีขยายตัวร้อยละ 1.6 เน่ืองจากมีการเร่งรัดการเบิกจ่าย
งบประมาณให้เป็นไปตามแผนทว่ี างไว้ เพอื่ เป็นการกระตนุ้ เศรษฐกิจใหข้ บั เคลือ่ นต่อไป

%40Y.0O0Y ประมาณการอัตราการขยายตวั การใชจ้ ่ายภาครฐั

35.00 33.1

30.00

25.00 14.6 8.2 10.8
20.00 17.6 12.7
15.00 5.0 -6.3 0.6 1.6 4.2 4.0 ปี
10.00 -7.0
5.00
0.00

-5.00 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

-10.00 (ณ (ณ

ธันวาคม มีนาคม

2564) 2565)

%YOY ประมาณการอัตราการขยายตวั รายจ่ายงบประจา

50.00 40.6
40.00

30.00 15.9 19.5
20.00 19.0 18.6

10.00 7.3 -9.5 3.4 3.6 3.8 3.8 ปี
0.00 2.0 -11.0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F
-10.00
(ณ (ณ

-20.00 ธันวาคม มีนาคม
2564) 2565)

%YOY ประมาณการอัตราการขยายตัวรายจ่ายงบลงทุน
80.0 69.0
60.0 42.2
40.0
16.9 18.4
20.0 1.0 5.6 2557 11.5 -48.3 -5.0 -8.2 -2.5 8.8 8.8
0.0 2556 2558
-20.0 2554 2555 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F ปี

-40.0 (ณ (ณ
ธันวาคม มีนาคม
-60.0 2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 19

เมืองการค้าทันสมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเท่ยี วชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กาหนดเป้าหมายการใช้จ่ายงบประมาณภาพรวมไว้ท่ีร้อยละ 100 ของวงเงิน

งบประมาณในภาพรวม และเป้าหมายการใช้จ่ายงบลงทุนไว้ที่ร้อยละ 100 ของวงเงินงบประมาณงบลงทุน

โดยเป้าหมายการใชจ้ า่ ยรายไตรมาสประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นดงั นี้

เปา้ หมายการใช้จ่ายงบประมาณ ภาพรวม (ร้อยละ) งบลงทนุ (ร้อยละ)

ไตรมาส 1 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 34.08 28.96

ไตรมาส 2 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 56.24 58.15

ไตรมาส 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 81.74 81.65

ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 100.00 100.00

สาหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมได้ท้ังสิ้น 10,686.00 ล้านบาท
โดยรายจ่ายประจาคาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 8,490.65 ล้านบาท ซ่ึงผลการเบิกจ่ายรายจ่ายประจาสะสมตั้งแต่
ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 (ตุลาคม 2564 – กุมภาพันธ์ 2565) มีจานวนทั้งส้ิน 487.04 ล้านบาท
คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายร้อยละ 82.71 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาที่ได้รับจัดสรร สาหรับรายจ่ายลงทุน
คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้ 2,447.07 ล้านบาท โดยผลการเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง
เดอื นกุมภาพนั ธ์ 2565 (ตุลาคม 2564 – กุมภาพันธ์ 2565) มจี านวนทงั้ ส้ิน 645.92 ลา้ นบาท คดิ เป็นอตั ราการเบิกจ่าย
รอ้ ยละ 35.47 ของวงเงนิ งบประมาณรายจา่ ยลงทุนทไ่ี ด้รบั จดั สรร

ตารางแสดงผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ ผลการ คาดการณ์
สะสมตั้งแตต่ น้ ปี คาดการณ์ ร้อยละ เป้าหมาย สงู กว่า/ต่ากว่า
งบประมาณจัดสรร งปม.จนถึงเดือน การเบิกจ่าย เบิกจ่าย ปีงปม. การ การใชจ้ ่าย เป้าหมาย

ก.พ.65 2565 งบประมาณ
เบิกจ่าย

1. งบประมาณประจา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

รายจ่ายประจา 588.85 487.04 82.71 8,490.65 98.0 100 ตา่ กว่าเปา้ หมาย

รายจ่ายลงทนุ 1,820.87 645.92 35.47 2,195.35 75.0 100 ต่ากวา่ เปา้ หมาย

รายจา่ ยภาพรวม 2,409.72 1,132.96 47.02 10,686.00 93.0 100 ตา่ กวา่ เป้าหมาย

2. งบประมาณเหลอื่ มปี

ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 638.67 428.33 67.07 - -- -

กอ่ นปงี บประมาณ พ.ศ 2564 - -- - -- -

รวมงบเหลอ่ื มปี 638.67 428.33 67.07 - -- -

3.รวมการเบกิ จา่ ย (1+2) 3,048.39 1,561.29 51.22 - -- -

ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์

หมายเหตุ : ไมร่ วมการเบกิ จา่ ยตรงจากกรมบญั ชีกลาง ,

- ผลการคาดการณเ์ บิกจา่ ยจะรวมท้ังการเบิกจ่ายเงินเดอื นฯ จากรมบญั ชีกลาง และการเบิกจ่ายจากระบบ GFMIS ของ สนง.คลังจังหวัด

สาหรับการเบิกจ่ายรายจ่ายประจาท่ีเบิกจ่ายตรงโดยกรมบัญชีกลาง ประเภทเงินเดือน เงินประจาตาแหน่ง
ค่าจ้างประจา และค่าตอบแทน ของจังหวัดมุกดาหารปีงบประมาณ 2565 (ตุลาคม 2564 – กุมภาพันธ์ 2565)
มีจานวน 3,066.10 ล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน 328.68 ล้านบาท หรือเพ่ิมขึ้นร้อยละ 12.01
ดังน้ัน งบประจารวมทั้งท่ีเบิกผ่าน GFMIS และเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลาง ตั้งแต่ตุลาคม 2564 –เดือนกุมภาพันธ์
2565 เปน็ จานวนเงิน 3,553.14 ล้านบาท

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 20

เมอื งการค้าทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอ่ื มโยงสู่สากล

กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทยี บกบั
เป้าหมายการใช้จ่ายงบประมาณสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565

ผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม

120.00 73.24 81.74 87.83 93.91 100.00
100.00
80.00 56.24 64.74
60.00
40.00 41.47 48.85
20.00 34.08
44.92
0.00
22.72 30.15 34.29
11.36 23.14

10.79

ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 มี.ค.-65 เม.ย.-65 พ.ค.-65 มิ.ย.-65 ก.ค.-65 ส.ค.-65 ก.ย.-65

เปา้ หมายการใช้จา่ ยงบประมาณ (ภาพรวม) เป้าหมาย เป้าหมายการใช้จา่ ยงบประมาณ (ภาพรวม) ผลการเบกิ จา่ ย

ทีม่ า : รายงาน MIS จากระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS)

กราฟผลการเบิกจา่ ยงบประมาณงบลงทุน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เทยี บกบั
เปา้ หมายการใช้จ่ายงบประมาณสะสมต้งั แตต่ ้นปงี บประมาณจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565

ผลการเบกิ จา่ ยงบลงทุน

120.00

100.00 87.77 93.88 100.00
81.65
80.00 65.98 73.82

60.00 58.15
48.42
38.69
40.00 28.96 35.47

20.00 9.65 19.31 20.50 26.04
0.00 11.40 14.84

ต.ค.-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ.-65 มี.ค.-65 เม.ย.-65 พ.ค.-65 ม.ิ ย.-65 ก.ค.-65 ส.ค.-65 ก.ย.-65

เปา้ หมาย ผลการเบกิ จ่าย

ทม่ี า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) 21

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565

เมอื งการคา้ ทนั สมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เช่อื มโยงสู่สากล

3. ด้านรายได้เกษตรกร ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวท่ีร้อยละ 7.5 (สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม
2564 ท่ีคาดการณ์ว่าจะหดตัวร้อยละ 1.9) ชะลอตัวจากปีก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 39.2 เป็นผลจากราคาสินค้า
เกษตรหลัก ได้แก่ ผลผลิตยางพาราและมันสาปะหลังมีปริมาณออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น เน่ืองจากราคาท่ีปรับตัวดีขึ้น
ตามความต้องการของตลาดปลายทาง และราคาโคเนื้อและสุกรมีชีวิตท่ีปรับราคาเพ่ิมสูงขึ้น ประกอบกับจังหวัด
มกุ ดาหารมีพชื เศรษฐกิจใหม่ ได้แก่ กญั ชง และ กัญชา ทม่ี ีกล่มุ วสิ าหกิจชมุ ชนบางส่วนได้เข้ารว่ มโครงการนาร่องในการ
ผลติ และเก็บเกย่ี วผลผลิตแลว้

%1Y2O0Y.0 ประมาณการอตั ราการขยายตวั รายได้เกษตรกร

100.0 105.7

80.0

60.0 28.5 39.2

40.0 33.2 23.9 21.0 35.7 26.5
20.0 7.3 -22.6 -10.6 -1.9 7.5
0.0
-20.0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F ปี

-40.0 (ณ (ณ
ธันวาคม มนี าคม
2564) 2565)

3.1 ราคาข้าวเฉลี่ยจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่าราคาเฉลี่ยอยู่ที่ 10,523 บาท/ตัน (ลดลงจาก
ทีค่ าดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ทรี่ ะดับราคา 12,889 บาท/ตนั ) เพิ่มขึน้ จากปีก่อนประมาณ 128
บาท/ตัน จากราคาเฉลี่ยตันละ 10,395 บาท โดยเป็นไปตามความต้องการของตลาดปลายทาง สถานการณ์
การท่องเที่ยวภายในประเทศที่ยังไม่ฟื้นตัวเท่าที่ควร ทาให้ความต้องการในส่วนนี้หายไป ประกอบกับการส่งออก
ที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 สถานการณ์ตู้คอนเทนเนอร์ที่ใส่สินค้ายังไม่เป็นปกติ
ส่งผลให้ศักยภาพการส่งออกลดลง

บาท/ ัตน 16,000 ประมาณการราคาข้าวเฉลยี่
14,000
12,000 14,140 13,920 14,279 13,171 12,629 12,091 11,189 11,856 12,783 14,138 10,395 12,889 10,523
10,000
8,000 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F ปี
6,000
4,000 (ณ (ณ
2,000 ธนั วาคม มนี าคม
2564) 2565)
0

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 22

เมืองการค้าทนั สมยั เกษตรคุณภาพสูง การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

3.2 ราคามันสาปะหลังเฉล่ียจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่าอยู่ท่ีระดับราคา 2,256 บาท/ตัน (สูงกว่า
ที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ท่ีระดับราคา 1,879 บาท/ตัน) เพ่ิมขึ้นจากปีก่อน 70 บาท/ตัน
จากราคาเฉล่ียตันละ 2,180 บาท เน่ืองจากความต้องการของตลาดปลายทางเพิ่มข้ึนตามสถานการณ์โรคโควิด 19
โดยสามารถนาไปผลิตเอทานอลและแอลกอฮอล์ได้

ประมาณการราคามนั สาปะหลงั

2,500 2,353 1,930 1,810 1,809 2,180 2,256
2,000 1,927 2,115 2,140 2,082
1,879

บาท/ ัตน 1,500 1,517 1,323

1,000

500

0 ปี
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

(ณ (ณ
ธนั วาคม มนี าคม
2564) 2565)

3.3 ราคาอ้อยโรงงานจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่าอยู่ที่ระดับราคาเฉลี่ย 918 บาท/ตัน (เพ่ิมข้ึนจาก

ท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ที่คาดการณ์ไว้ที่ระดับราคาเฉลี่ย 757 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 47 บาท/ตัน

จากราคาเฉลี่ยตันละ 871 บาท เน่ืองจากเกษตรกรลดพื้นท่ีเพาะปลูกอ้อยลง ทาให้ปริมาณอ้อยท่ีออกสู่ตลาดมีแนวโน้ม

ลดลง ทาให้ราคารับซื้อปรับเพิ่มขึ้นเพิ่มจูงใจเกษตรกรในการปลูกและดูแลรักษา และเป็นไปตามความต้องการตลาด

ปลายทางมเี พิม่ ข้นึ

บาท/ตัน ประมาณการราคาอ้อยโรงงาน

1,400 1,148 1,159
994
1,200 989 872 921 920 871 918
1,000
739 622 709 757
800

600

400

200

0

2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F
(ณ (ณ ปี

ธันวาคม มนี าคม
2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 23

เมืองการคา้ ทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

3.4 ราคายางพาราก้อนถ้วยจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่าจะอยู่ที่ระดับราคาเฉล่ียตันละ 24,671 บาท
(เพิ่มขึ้นจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ท่ีคาดการณ์ไว้ที่ระดับราคาเฉล่ียตันละ 21,119 บาท) เพ่ิมข้ึนจาก
ปีก่อน 1,271 บาท/ตัน จากราคาเฉล่ียตันละ 23,400 บาท ในปี 2564 คาดว่าจะขยายตัวเพ่ิมข้ึนตามความต้องการ
ของตลาดปลายทาง และจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด -19 ซึ่งมีการกลายพันธ์ุของไวรัสที่มีผลต่อ
ประสทิ ธภิ าพของวคั ซนี ทาใหอ้ ุตสาหกรรมผลติ ถงุ มือยางมีความต้องการอย่างต่อเนื่อง

บาท/ตนั ประมาณการราคายางพารา ร้อยละ

140,000 128,024 40.00

120,000 31.4 30.00

100,000 94,631 15.3 14.5 20.00
10.00
80,000 75,925 6.5 2.9 3.3 5.4 0.00

60,000 -15.4 -10.00
40,000 52,245 -20.00
20,000 -30.00
-26.1 -19.8 44,208 -24.5 -40.00
0 -31.2 21,391 24,672 18,639 19,857 20,438 23,400 21,119 24,671

-51.6 -50.00
-60.00
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F ปี

(ณ (ณ
ธนั วาคม มีนาคม
2564) 2565)

หมายเหตุ : เรมิ่ ใชร้ าคายางกอ้ นถ้วยตงั้ แต่ปี 2559 เป็นตน้ ไป

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 24

เมอื งการคา้ ทันสมยั เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเท่ียวชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

4. ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อทั่วไปจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่าจะอยู่ท่ีร้อยละ 1.6
(เพ่ิมข้ึนจากท่ีคาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 ที่คาดการณ์ไว้ท่ีร้อยละ 1.2) เพ่ิมขึ้นจากปีก่อนท่ีอยู่ท่ีร้อยละ 1.4
โดยปรับเพ่ิมขึ้นจากราคาพลังงานเชื้อเพลงิ ผันผวนอยู่ในระดบั สูง จากเศรษฐกิจท่วั โลกท่ีมกี ารฟ้นื ตัวมีความต้องการใช้
พลังงานเชื้อเพิลงเพ่ิมขึ้น และมีปัจจัยกดดันจากการสู้รบกันระหว่างรัสเซียและยูเครน ส่งผลให้ราคาน้ามันเช้ือเพลิง
และสินคา้ โภคภัณฑ์ปรบั ตวั เพ่มิ ขนึ้ ทั่วโลก ทาใหร้ าคาสินคา้ ในประเทศปรับเพิ่มขน้ึ จากราคาค่าขนสง่ ทีป่ รับตวั

6.00 ประมาณการอตั ราการขยายตวั อตั ราเงนิ เฟ้อทวั่ ไปจงั หวดั มกุ ดาหาร
5.00
4.7

4.00 3.3

3.00 2.2 2.2 1.9 1.4 1.2 1.6
2.00 1.2 0.3 0.6
1.00
0.00 -0.2 -0.4
-1.00 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F

(ณ (ณ

ธนั วาคม มีนาคม
2564) 2565)

5. การจ้างงานในจังหวัดมุกดาหาร ในปี 2565 คาดว่ามีการจ้างงานจานวน 193,250 คน หรือเพิ่มขึ้น
จากปีก่อน ท่ีมีจานวน 190,829 คน (สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้ ณ เดือนธันวาคม 2564 จานวน 192,962 คน) เพ่ิมข้ึน
เน่ืองจากมีการจ้างงานเพิ่มข้ึนจากหลายกิจการ ได้แก่ บริษัทผลิตกัญชงครบวงจร การขยายกาลังการผลิตของโรงงานแป้งมัน
สาปะหลัง โครงการการก่อสร้างในจังหวัด ร้านอาหารเวียดนามแห่งใหม่ เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการจ้างงานภายในจังหวัด และถ้ามี
การเปิดประเทศอยา่ งเป็นทางการคาดว่าจะทาให้การจา้ งงานเพิม่ ข้ึนในภาคบริการท่เี ก่ียวขอ้ ง เช่นกัน

25,000 ประมาณการเปลีย่ นแปลงจานวนผูม้ งี านทา
20,000
15,000 18,433
10,000
5,000 7,534 ปี
-1,091 -1,285 -12,578 -2,207 -1,746 -518 2,297 -2,911 -20,962
0 2,133 2,421
-5,000
คน -10,000 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563E 2564E 2565F 2565F
-15,000
-20,000 (ณ (ณ
-25,000 ธันวาคม มนี าคม
2564) 2565)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 25

ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจแล

เคร่ืองช้ี หนว่ ย 2554 2555 2556 2557

Economic Growth การเจรญิ เติบโตของเศรษฐกจิ Million Baht 19,304.98 19,725.75 22,372.49 21,898.33 22
GPP Current Prices (GPP ณ ราคาประจาปสี ภาพฒั น)์ %YoY 21.6 2.2 13.4 -2.1
Person
Population (จานวนประชากร) %YoY 362,682 368,232 373,783 379,336 3
1.6 1.5 1.5 1.5
GPP Per Capita (รายไดต้ อ่ หวั สภาพฒั น)์ Baht/Person/Year
GPP Chain Volume Measures (CVM) Million Baht 53,228.4 53,568.8 59,854.2 57,728.1 5
%YoY 10,798.0 12,497.6 12,576.9 13,932.7 1
Agriculture (ภาคการเกษตร) %YoY
Industry (ภาคอตุ สาหกรรม) %YoY 15.7 0.6 10.8 1.4
Service (ภาคบริการ) %YoY 20.1 35.5 109.8 30.0
Private Consumption (ภาคการบรโิ ภค) %YoY 29.1 20.0 23.3 12.4
Private Investment (ภาคการลงทนุ ) %YoY 14.3 14.1 -2.5 10.9
Government Expenditure (ภาคการใชจ้ ่ายภาครัฐ) %YoY 23.3 39.8 30.2 -0.2
Border Trade (ภาคการคา้ ชายแดน) %YoY 16.5 22.4 19.9 7.4
Farm Income (รายไดเ้ กษตรกร) %YoY 17.6 12.7 5.0 14.6
Economic Stabilities เสถยี รภาพเศรษฐกจิ 84.1 35.6 -39.1 11.0
Inflation rate (อตั ราเงินเฟอ้ ) %p.a. 33.2 23.9 105.7 21.0
GPP Deflator (ระดบั ราคา) %YoY
Employment (การจา้ งงาน) Person 4.7 2.2 2.2 3.3
YoY 5.83 1.55 2.64 -3.56
213,398 212,306 211,021 198,443 1
7,534 -1,091 -1,285 -12,578

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565

เมืองการคา้ ทนั สมัย เกษตรคณุ ภาพสงู การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

ละแนวโน้มของจังหวดั มุกดาหาร ปี 2565

2558 2559r 2560r 2561r 2562p 2563E 2564E 2565F
MIN CONSENSUS MAX

2,082.95 23,636.09 26,106.01 25,583.50 27,315.92 27,626.4 29,938.6 29,036.7 29,208.3 29,410.9
0.8 7.0 10.4 -2.0 6.8 1.1 8.4 5.1 5.7 6.5

384,884 391,302 397,820 404,088 410,158 406,189 406,190 407,895 408,301 408,708
1.5 1.7 1.7 1.6 1.5 -1.0 0.0 0.4 0.5 0.6

57,375.6 60,403.7 65,622.7 63,311.7 66,598.5 68,013.6 73,705.8 71,186.6 71,536.1 71,960.6
14,134.0 14,615.5 15,044.5 16,236.4 16,487.8 17,442.2 18,296.9 18,103.9 18,189.3 18,294.3

3.4 2.9 7.9 1.5 5.8 2.3 4.9 3.8 4.3 4.9
14.2 50.2 34.2 -23.1 -9.9 20.8 58.2 3.8 4.2 4.8
6.1 -2.8 1.3 2.4 5.6 -4.0 11.3 5.8 6.4 7.2
11.6 26.7 -6.1 -5.7 13.3 -10.9 7.2 5.4 6.0 6.7
1.2 -5.8 -0.6 -12.5 -27.1 -3.9 2.2 8.0 9.0 9.9
52.9 5.8 0.2 7.8 5.9 4.3 10.5 1.5 2.0 2.5
-7.0 8.2 33.1 -6.3 10.8 8.5 3.3 3.3 4.0 4.8
21.4 65.4 57.1 2.2 4.8 25.5 30.1 -5.0 -4.5 -4.0
7.3 35.7 26.5 -22.6 -10.6 28.5 39.2 6.8 7.5 8.5

-0.2 1.2 0.3 0.6 1.9 -0.4 1.4 1.5 1.6 1.7
-2.72 -0.30 0.57 0.54 0.26 -1.16 3.47 1.31 1.44 1.57
196,236 194,490 193,972 196,270 193,359 172,396 190,829 192,973 193,250 193,590
-2,207 -1,746 -518 2,297 -2,911 -20,962 18,433 2,144 2,421 2,761

26

เมอื งการคา้ ทนั สมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

คานยิ ามตัวแปรและการคานวณในแบบจาลองเศรษฐกจิ จังหวัดมกุ ดาหาร

GPP CVM ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั แบบปรมิ าณลกู โซ่

GPP Current Prices ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาปปี ัจจบุ ัน

GPPS ดชั นผี ลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ณ ราคาปฐี าน ดา้ นอุปทาน

GPPD ดชั นผี ลิตภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั ณ ราคาปีฐาน ดา้ นอปุ สงค์

API ดชั นปี ริมาณผลผลิตภาคเกษตร

IPI ดชั นปี ริมาณผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม

SI ดชั นปี รมิ าณผลผลติ ภาคบริการ

Cp Index ดชั นกี ารบรโิ ภคภาคเอกชน

Ip Index ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชน

G Index ดัชนีการใชจ้ า่ ยภาครฐั

X-m Index ดัชนีมลู คา่ การค้าชายแดนโดยเฉลี่ยจังหวดั

GPP Deflator ระดับราคาเฉล่ยี ของผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั มุกดาหาร

CPI ดัชนรี าคาผู้บรโิ ภคจงั หวดั มกุ ดาหาร

PPI ดัชนรี าคาผูผ้ ลติ ระดับประเทศ

Inflation Rate อตั ราเงนิ เฟอ้ จงั หวัดมุกดาหาร

Farm Income Index ดชั นีรายได้เกษตรกร

Population จานวนประชากรของจงั หวดั มุกดาหาร

Employment จานวนการจ้างงานของจังหวัดมุกดาหาร

%YoY อตั ราการเปล่ียนแปลงเทียบกับช่วงเดียวกนั ของปีกอ่ น

Base year ปีฐาน (2548 = 100)

Min สถานการณ์ทค่ี าดวา่ เลวรา้ ยที่สดุ

Consensus สถานการณ์ท่คี าดวา่ จะเปน็ ได้มากท่ีสุด

Max สถานการณ์ทีค่ าดว่าดีทส่ี ุด

การคานวณดัชนี
ดัชนชี ว้ี ัดเศรษฐกิจดา้ นอุปทาน (Supply Side หรอื Production Side : GPPS)
ประกอบด้วย 3 ดชั นี ไดแ้ ก่

1. ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมจงั หวดั มกุ ดาหาร โดยให้นา้ หนกั 0.25774
2. ดชั นีผลผลติ ภาคอตุ สาหกรรมจังหวัดมุกดาหาร โดยใหน้ า้ หนกั 0.17129
3. ดชั นีผลผลิตภาคบริการจังหวดั มุกดาหาร โดยใหน้ า้ หนกั 0.57098
การกาหนดน้าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพ่ิมราคาปีปัจจุบันของเคร่ืองช้ี
เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร การป่าไม้ และการประมง) เครื่องช้ีเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (รวม 4 สาขา
ได้แก่ 1.สาขาเหมืองแร่ 2.สาขาการผลิต 3.สาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอาศ และ 4.สาขาการจัดหาน้า
การจัดการ และการบาบัดน้าเสีย ของเสีย และส่ิงปฏิกูล) และเคร่ืองชี้เศรษฐกิจภาคบริการ (รวม 14 สาขา
ประกอบด้วย 1.การก่อสร้าง 2.การขายส่ง ขายปลีกและการซ่อมยานยนต์ 3.การขนส่งและสถานท่ีเก็บสินค้า 4.ท่ีพัก
แรมและบริการด้านอาหาร 5.ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 6.กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 7.กิจกรรม
อสังหาริมทรัพย์ 8.กิจกรรมวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และเทคนิค 9.กิจกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน
10.การบริหารราชการ การป้องกันประเทศ และการประกันสังคมภาคบังคับ 11.การศึกษา 12.กิจกรรมด้านสุขภาพ
และงานสังคมสงเคราะห์ 13.) ศิลปะ ความบันเทิง และนัทนาการ และ 14.กิจกรรมบริการด้านอ่ืน ๆ จากข้อมูล GPP
ของ สศช. แต่ละภาคการผลิต (ท่ีรวมไว้ขา้ งต้น) เทียบกับ GPP รวมท้งั 19 สาขา ราคาปีปจั จุบนั ของ สศช.

รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 27

เมอื งการคา้ ทันสมัย เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทีย่ วชายโขง เชอื่ มโยงสู่สากล

ซึ่งดัชนีน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือติดตามภาวะการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัด
มุกดาหารเป็นรายเดือน ซ่ึงจะล่าช้าประมาณ 1 เดือนคร่ึง (45 วัน) โดยการคานวณ API (Q), IPI (Q), SI (Q) ได้กาหนด
ปีฐาน 2548 โดยคานวณจากเคร่ืองชี้ผลผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัดมุกดาหาร
รายเดือน อนกุ รมเวลายอ้ นหลังไปต้งั แต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นไป

ดชั นีผลผลติ ภาคเกษตรกรรมจงั หวดั (Agriculture Production Index : API (Q))

ประกอบด้วยองคป์ ระกอบทั้งส้ิน 6 ตัว คอื

• ปริมาณผลผลติ ข้าว โดยให้น้าหนกั 0.51489

• ปริมาณผลผลติ มันสาปะหลงั โดยใหน้ า้ หนกั 0.10693

• ปริมาณผลผลติ ออ้ ยโรงงาน โดยให้นา้ หนกั 0.12498

• ปรมิ าณผลผลิตยางพารา โดยใหน้ า้ หนกั 0.18944

• จานวนอาชญาบัตรสกุ ร โดยใชน้ า้ หนกั 0.02674

• จานวนอาชญาบัตรโค โดยใชน้ ้าหนกั 0.03702

โดยเคร่อื งช้แี ต่ละตัวได้ปรับฤดกู าลแลว้ (Seasonal Adjusted : SA)

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา API (Q) ให้น้าหนักของเครื่องชี้จากสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม

ของเคร่ืองช้ี ณ ราคาปีปัจจุบนั กบั GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และ

การประมง)

ดชั นรี าคาผลผลิตภาคเกษตรกรรมจงั หวดั (Agriculture Price Index : API (P))

ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทงั้ สิ้น 6 ตวั คอื

• ปริมาณผลผลติ ข้าว โดยให้นา้ หนกั 0.51489

• ปริมาณผลผลติ มันสาปะหลัง โดยให้นา้ หนกั 0.10693

• ปริมาณผลผลติ ออ้ ยโรงงาน โดยให้น้าหนัก 0.12498

• ปริมาณผลผลิตยางพารา โดยให้น้าหนกั 0.18944

• จานวนอาชญาบัตรสกุ ร โดยใชน้ า้ หนกั 0.02674

• จานวนอาชญาบัตรโค โดยใชน้ ้าหนกั 0.03702

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา API (P) ให้ใช้น้าหนักของเครื่องชี้ผลผลิตภาคเกษตรกรรม

ซ่ึงหาจากสัดส่วนมูลค่าเพ่ิมของเครื่องชี้ ณ ราคาปีปัจจุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบันภาค

เกษตรกรรม (สาขาเกษตรกรรม การป่าไม้ และการประมง)

ดัชนผี ลผลติ ภาคอตุ สาหกรรมจังหวัด (Industrial Production Index : IPI)

ประกอบด้วยองคป์ ระกอบทั้งสิ้น 4 ตัว คอื

• จานวนโรงงานอตุ สาหกรรมในจังหวัด โดยให้น้าหนกั 0.22123

• ทนุ จดทะเบยี นของอุตสาหกรรม โดยให้น้าหนัก 0.25505

• ปรมิ าณการใชไ้ ฟฟา้ ภาคอุตสาหกรรม โดยใหน้ ้าหนกั 0.26810

• รายไดภ้ าคอุตสาหกรรม โดยใหน้ า้ หนัก 0.26462

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา IPI ใหน้ ้าหนักของเครื่องชี้จากหาความสัมพันธ์ Correlation

ระหว่างเครื่องชี้เศรษฐกิจผลผลิตอุตสาหกรรมรายปี กับ GPP (สศช.) แบบปริมาณลูกโซ่ ภาคอุตสาหกรรม

(สาขาเหมืองแร่ สาขาการผลิต สาขาไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้า และระบบปรับอาศ และสาขาการจัดหาน้า การจัดการ

และการบาบัดนา้ เสีย ของเสีย และสิ่งปฏิกูล)

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 28

เมอื งการคา้ ทันสมัย เกษตรคณุ ภาพสูง การทอ่ งเท่ียวชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

ดัชนีผลผลติ ภาคบริการจงั หวัด (Service Index : SI) โดยให้น้าหนกั 0.00910
ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบท้ังสิน้ 9 ตัว คอื โดยให้น้าหนกั 0.06420
• ภาษมี ูลค่าเพ่มิ การบริการโรงแรม โดยใหน้ า้ หนัก 0.00910
• จานวนนักทอ่ งเทีย่ วโดยเฉลยี่ ทผี่ ่านเขา้ –ออกด่านตรวจคนเข้าเมือง โดยให้นา้ หนัก 0.32572
• จานวนนักทอ่ งเทยี่ วท่เี ข้าชมหอแก้วมุกดาหาร โดยใหน้ า้ หนัก 0.09901
• ยอดขายจากธุรกจิ การคา้ ปลีกคา้ ส่งในจังหวัดมุกดาหาร โดยให้น้าหนกั 0.00910
• การเบกิ จ่ายงบประมาณ งบประจา โดยให้น้าหนัก 0.08844
• รายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ วจังหวัดมกุ ดาหาร โดยให้น้าหนกั 0.16933
• พืน้ ทีอ่ นญุ าตกอ่ สรา้ งในเขตเทศบาลเมือง โดยใหน้ า้ หนัก 0.22600
• ปริมาณสนิ เชอื่
• การศึกษา

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา SI ให้น้าหนักของเครื่องชี้ โดยเคร่ืองชี้ภาคบริการ ด้าน
โรงแรมจากสัดส่วนของ GPP สาขาโรงแรม ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) เทียบ GPP รวมภาคบริการ ณ ราคาปีปัจจุบัน
(สศช.) หารดว้ ยจานวนเครือ่ งชีท้ ง้ั หมด

ดชั นชี วี้ ัดเศรษฐกจิ ดา้ นอุปสงค์ (Demand Side : GPPD)

ประกอบด้วย 4 ดชั นี ได้แก่

1. ดชั นกี ารบริโภคภาคเอกชนจงั หวัดมุกดาหาร โดยใหน้ ้าหนกั 0.41844

2. ดัชนกี ารลงทนุ ภาคเอกชนจงั หวดั มกุ ดาหาร โดยให้นา้ หนกั 0.21339

3. ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครัฐจังหวดั มุกดาหาร โดยใหน้ า้ หนกั 0.22875

4. ดชั นมี ูลคา่ การคา้ ชายแดนโดยเฉลีย่ จงั หวัดมกุ ดาหาร โดยใหน้ ้าหนกั 0.13942

การกาหนดน้าหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉลี่ยในแต่ละดัชนี เทียบกับ GPP constant price โดย

เฉลย่ี เพอ่ื หาสดั สว่ น และคานวณหานา้ หนักจากสัดส่วนของแตล่ ะดัชนีเทยี บผลรวมสดั ส่วนดชั นรี วมท้ังหมด

ซ่ึงดัชนีน้ีจัดทาข้ึนเพ่ือติดตามภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน ภาคการลงทุน การใช้จ่ายภาครัฐและ

การค้าชายแดนจังหวัดมุกดาหารเป็นรายเดือน ซ่ึงจะล่าช้าประมาณ 1 เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการคานวณ Cp Index,

Ip Index, G Index และ Xm Index ได้กาหนดปีฐาน 2548 โดยคานวณจากเครื่องช้ีภาวะการใช้จ่ายเพ่ือการบริโภค

ภาคเอกชน ภาคการลงทนุ การใชจ้ า่ ยภาครัฐ และการค้าชายแดนจงั หวัดมุกดาหารเป็นรายเดือน อนุกรมเวลาย้อนหลัง

ไปต้งั แต่ปี พ.ศ. 2548 เปน็ ตน้ ไป

ดชั นีการบรโิ ภคภาคเอกชนจงั หวดั (Private Consumption Index : Cp Index)

ประกอบด้วยองค์ประกอบทั้งสิ้น 3 ตวั คือ

• ภาษีมลู คา่ เพ่มิ ทจ่ี ดั เก็บได้ โดยใหน้ า้ หนกั 0.63874

• จานวนการจดทะเบยี นใหมร่ ถยนต์น่ังสว่ นบคุ คลไมเ่ กนิ 7 ทน่ี งั่ โดยให้นา้ หนัก 0.26806

• จานวนการจดทะเบยี นใหมร่ ถจักรยานยนต์ โดยให้น้าหนกั 0.09319

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Cp Index ให้น้าหนักของเครื่องชี้จากการหา

ค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ในการจัดทา Cp Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้าหนักจากสัดส่วน

มูลคา่ เครือ่ งชี้เทยี บกับมลู ค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 29

เมอื งการคา้ ทันสมยั เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทย่ี วชายโขง เช่ือมโยงสู่สากล

ดชั นกี ารลงทนุ ภาคเอกชนจังหวดั (Private Investment Index : Ip Index)

ประกอบดว้ ยองค์ประกอบทง้ั สน้ิ 3 ตัว คือ

• พื้นทขี่ ออนญุ าตกอ่ สร้างในเขตเทศบาลเมือง โดยให้นา้ หนกั 0.00113

• จานวนการจดทะเบียนใหม่รถยนต์เพอื่ การพาณชิ ย์ โดยให้น้าหนกั 0.19231

• ปรมิ าณสินเชอ่ื เพื่อการลงทุน โดยให้นา้ หนกั 0.80656

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Ip Index ให้น้าหนักของเครื่องชี้จากการหา

ค่าเฉลี่ยของเครอื่ งชใ้ี นการจดั ทา Ip Index และแปลงเปน็ มลู คา่ หน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้าหนักจากสดั ส่วน

มูลค่าเครื่องช้ีเทียบกับมูลคา่ รวมของเคร่ืองชท้ี ัง้ หมด

ดชั นีการใช้จ่ายภาครัฐจังหวดั (Government Expenditure Index : G Index)

ประกอบดว้ ยองค์ประกอบทัง้ สนิ้ 4 ตัว คอื

• รายจ่ายประจาภาครฐั สว่ นกลางและส่วนภมู ภิ าค โดยใหน้ ้าหนัก 0.60619

• รายจา่ ยลงทนุ ภาครัฐ ส่วนกลางและสว่ นภมู ิภาค โดยให้น้าหนกั 0.21000

• รายจา่ ยประจาสว่ นทอ้ งถ่ิน โดยให้น้าหนัก 0.15961

• รายจา่ ยลงทุนสว่ นท้องถนิ่ โดยใหน้ ้าหนัก 0.02420

การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา G Index ให้น้าหนักของเคร่ืองช้ี จากการหาค่าเฉลี่ยของ

เครือ่ งชใี้ นการจัดทา G Index แลว้ หานา้ หนักจากสดั สว่ นมลู ค่าเครื่องชี้เทยี บกับมลู คา่ รวมของเครื่องชท้ี ้งั หมด

ดัชนมี ลู คา่ การค้าชายแดนโดยเฉลี่ยจังหวดั (Export Import Index : Xm Index)
ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทง้ั ส้ิน 1 ตวั คอื

มูลค่าการสง่ ออก - นาเขา้ สินค้าผา่ นด่านศุลกากร โดยใหน้ ้าหนกั 1.00000
การกาหนดน้าหนักขององค์ประกอบในการจัดทา Xm Index ให้น้าหนักของเครื่องชี้จากการหา
มูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย (มูลค่าการส่งออก + มูลค่าการนาเข้าหารด้วยสอง) แล้วหาน้าหนัก เนื่องจากมี
เครื่องชี้เดยี ว จึงมีนา้ หนกั เท่ากบั 1

ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด ณ ราคาคงท่ี (GPP CONSTANT PRICE)
ประกอบดว้ ยดัชนี 2 ดา้ น คือ
ดชั นีชว้ี ัดเศรษฐกิจดา้ นอุปทาน (GPPS) โดยใหน้ า้ หนัก 0.65000
ดัชนชี ้วี ดั เศรษฐกจิ ด้านอปุ สงค์ (GPPD) โดยใหน้ ้าหนกั 0.35000

ดชั นีชี้วดั ด้านเสถยี รภาพเศรษฐกจิ

GPP Deflator : ระดับราคา ประกอบดว้ ย

ดัชนีราคาผ้ผู ลติ (PPI) โดยใชน้ า้ หนัก 0.65000

ดัชนรี าคาผบู้ ริโภคจงั หวดั มกุ ดาหาร (CPI) โดยใช้นา้ หนกั 0.35000

การเปล่ียนแปลงของจานวนผมู้ งี านทา

คานวณจาก GPP CVM X 0.296133016630972 (อัตราการพงึ่ พาแรงงาน)

อตั ราการพงึ่ พาแรงงาน

คานวณจากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression Analysis) โดยมีรูปแบบ

ความสมั พนั ธ์ คอื ln(Emp) = α + β (ln(GPP))

โดยท่ี Emp = จานวนผู้มีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศของจังหวัดมุกดาหาร (ข้อมูล Website

สานักงานสถติ แิ ห่งชาติ ซง่ึ ใชป้ ี 2548 – 2562)

GPP = ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดมุกดาหาร แบบปริมาณลูกโซ่ ข้อมูลจาก สานักงานคณะกรรมการ

พฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ซงึ่ ใช้ปี 2548 – 2562

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 30

เมืองการคา้ ทันสมยั เกษตรคุณภาพสงู การทอ่ งเทยี่ วชายโขง เชื่อมโยงสู่สากล

หนว่ ยงานผู้สนับสนุนข้อมูลในการประมาณการเศรษฐกิจประกอบดว้ ย
สว่ นราชการภาครัฐ ท้องถ่นิ รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนในจงั หวัด

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจงั หวดั มกุ ดาหาร ประจาปี 2565 31


Click to View FlipBook Version