The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชิปเซทหม่ ของประชากรโลกในศตวรรษที่ 21

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SEAMEO SEPS, 2022-06-08 00:34:09

ศาสตร์แห่งความสมดุล

ชิปเซทหม่ ของประชากรโลกในศตวรรษที่ 21

Keywords: sufficiency economy philosophy,sustainability,balance

หัวใจ: ทำ�ไมคุณควรจะเปล่ียนแปลงตนเองให้เป็นคนที่ดีขึ้น

ทำ�ไมการเปลี่ยนแปลงของคุณถึงมีผลกระทบต่อคนอื่น

ทำ�ไมคุณถึงต้องพยายามหาวิธีท่ีจะเปล่ียนแปลงตัวเองโดย

ไม่เอาเปรียบเบียดเบยี นสังคม และส่ิงแวดลอ้ ม

สมอง: อะไรคอื การเปลย่ี นแปลง คณุ ตอ้ งท�ำ อะไรบา้ งในการ
เปลีย่ นแปลงนั้น คุณจะคิดบวกในระหวา่ งการเปลย่ี นแปลง
ได้หรือไม่ อะไรจะทำ�ให้คุณเข้าใจความสมดุลของการ
เปลีย่ นแปลง อะไรควรเก็บรักษาไว้ อะไรควรเปลี่ยนใหม่

สองมือ: คุณต้องเตรียมตัวอย่างไรในการเปลี่ยนแปลง คุณ
จะทำ�อย่างไรกบั สงิ่ ทต่ี ้องทิ้งไป และจะเกบ็ สิง่ ท่คี ณุ อยากจะ
รกั ษาไว้อย่างไร คุณจะเปล่ียนชวี ิตใหย้ ่งั ยืนขึน้ ได้อย่างไร
และจะสรา้ งสมดุลให้เศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดล้อมรอบ
ตวั คณุ ได้อยา่ งไร

ศาสตรแ์ ห่งความสมดลุ 49

“ความสขุ ทีแ่ ท้จริง ... พอเพียง ยัง่ ยืน”

14 เครง่ ขรมึ แบบผใู้ หญ่ กบั ซกุ ซนสดใสในวยั เดก็

คน้ พบความไรเ้ ดยี งสาในตวั คุณ

ยงั จำ�ได้ไหมว่า ในวัยเด็ก โลกชา่ งสวยงาม และนา่ อศั จรรย์เพียงใด ตอนนั้น
เราอาจจะไร้เดียงสา จนเชือ่ ว่าซานตาคลอสเอาของขวญั มาหย่อนใหเ้ ราทุกปี
ใหม่ การต์ ูนดสิ นยี ์มตี ัวตนจริง ๆ ทุกสงิ่ ทุกอยา่ งบนโลกนเี้ ปน็ ไปได้ และเรา
สามารถทำ�อะไรก็ไดต้ ามใจเรา อยา่ งสนกุ สนาน

แล้วอยูด่ ี ๆ ทำ�ไมความรสู้ ึกนั้นหายไป หายไปตอนไหน คงจะหายไปตอนทเี่ รา
เผลอหลบั ไป พอต่นื มาคนรอบข้างบอกเราวา่ เราโตแลว้ เลกิ เล่นเป็นเด็กเสยี ที
เมอ่ื โตข้ึนเรามักจะเห็นโลกในมมุ ทต่ี ่างไป โลกที่ไมส่ มบูรณ์แบบ โลกทโ่ี หดรา้ ย
ไม่เคยมคี วามยุตธิ รรม โลกท่ไี ม่ได้สวยงามและใจดดี ังทเ่ี ราเคยจ�ำ ได้

จงรกั ษา “ความเปน็ เดก็ ” ในตวั ของเราไว้ นน่ั คอื หนา้ ทข่ี องผใู้ หญท่ ใ่ี ฝค่ วามสมดลุ
นน่ั คอื วิถีทางส่คู วามยัง่ ยนื ความต้องการแบบเดก็ ท่อี ยากได้แค่สงิ่ ที่จำ�เป็นใน
ชีวติ และความสนกุ สนานก็เพียงพอแล้ว การเป็นเดก็ อยู่เสมอ ยังท�ำ ให้เรามี
ความสุขงา่ ย ๆ มคี วามข้สี งสัย ใฝ่เรียนรู้ มสี มองท่เี ต็มไปด้วยจนิ ตนาการ และ
นี่คือสมดลุ ของชวี ิต ทีผ่ ู้ใหญ่สว่ นใหญส่ ญู เสียไป เม่อื โตขึ้น และก็ท�ำ ใหช้ วี ติ
ของเราขาดสมดุล

แลว้ เราควรทำ�อย่างไรดี เมอ่ื จะตอ้ งโตข้นึ แล้วสญู เสียส่ิงเหลา่ น้ันไป หรอื ถ้า
เราท�ำ มันหายไปนานแล้วเราจะกลบั ไปหามันเจอไหม จะกลบั ไปตามหามันไดท้ ี่
ไหน พลงั ของความไร้เดียงสา ความง่เี งา่ และความคิดทสี่ ดใหมไ่ รเ้ หตุผล

ศาสตร์แหง่ ความสมดลุ 50

นานแค่ไหนแลว้ ทเ่ี ราไมไ่ ดน้ ัง่ ดูการต์ นู ถือถงุ ป๊อปคอรน์ แลว้ หวั เราะท้องแขง็
กับเร่ืองโง่ ๆ นานเท่าไรแลว้ ทเ่ี ราไม่ไดอ้ อกไปว่ิงเตะบอล โล้ชิงชา้ หรอื แม้
กระท่ังตีลงั กากลบั หัวลงไปในนา้ํ คนท่แี อบดเู ราอยู่เขาอาจจะพูดว่า “คณุ บา้
ไปแล้วหรือเปลา่ ” แลว้ เรากค็ งสง่ ย้ิมกลับไป แลว้ ตอบไปว่า “อยากลองบ้าง
ไหม”
บางครง้ั การหยดุ พกั หลกี หนจี ากสง่ิ ทม่ี กี ฎเกณฑ์ ทซ่ี า้ํ ซากจ�ำ เจ สกั ระยะหนง่ึ
เพื่อทำ�อะไรระห่ํา ๆ อาจจะจุดไฟของวัยเด็กในตัวเราให้ลกุ ขน้ึ มาใหมไ่ ด้ และ
นน่ั คือสญั ญาณที่ดีวา่ เราอาจจะปรับความสมดลุ ของชวี ติ กลับมาไดแ้ ล้ว และ
อาจจะตอ้ งปรบั บอ่ ย ๆ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความคดิ ของเดก็ ทเ่ี ปน็ หวั ใจของความพอเพยี ง
และย่งั ยืน
สง่ิ ท่สี �ำ คัญคอื พยายามจดจำ�ภาพความสดใส ความสนุกสนานในวยั เดก็ นนั้
ไว้ให้ดี แลว้ พยายามสรา้ งความสมดุล ระหว่างเป้าหมายในชีวติ เมอ่ื เราโตขน้ึ
และความสุขทเ่ี ราฝันไวใ้ นวัยเดก็ ให้เป็นภาพเดยี วกันในหวั ใจ แล้วเราจะพบ
กับความพอเพียง ความสุข และความส�ำ เร็จในชีวติ ของเราอย่างยัง่ ยืน
คุณค้นหาความไรเ้ ดียงสาในตวั คณุ พบหรือยงั ...

ศาสตร์แหง่ ความสมดุล 51

Fresh thought
Clean View
Play / Lear�
Curiousit�
Creativit�
Advent�re / Fun

หัวใจ: ทำ�ไมคุณถึงต้องรักษาความเป็นเด็กในตัวคุณไว้
การเปน็ ผใู้ หญ่ หรอื การเปน็ เดก็ แบบไหนท�ำ ใหช้ วี ติ คณุ ดกี วา่ กนั
การโตขน้ึ เปน็ ผใู้ หญท่ �ำ ใหช้ วี ติ ของคณุ ดขี น้ึ จรงิ หรอื ท�ำ ไมเมอ่ื
คณุ เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญ่คณุ ต้องมีหน้าทช่ี ่วยเหลอื สงั คม

สมอง: อะไรคอื ขอ้ ดี และขอ้ เสยี ของการเตบิ โตขน้ึ เปน็ ผใู้ หญ่
และการรกั ษาความสดใสซุกซนในวยั เดก็ ไว้ คุณลองเขยี น
ข้อดีข้อเสียของท้ังสองช่วงชีวิตมาเปรียบเทียบกันได้ไหม
อะไรคือความสมดุล ในความหมายของคณุ

สองมอื : ในวยั เดก็ ความฝนั ของคณุ เปน็ อยา่ งไร เมอ่ื โตขน้ึ
คณุ จะหาเปา้ หมายของชีวติ ให้เจอได้อยา่ งไร แล้วคณุ จะใช้
ประโยชน์จากท้ังสองส่ิงเพื่อทำ�ให้ชีวิตคุณประสบความสำ�เร็จ
และมีความสขุ ไดอ้ ยา่ งไร

ศาสตรแ์ ห่งความสมดุล 52

พอเพียง ... ยั่งยืน

ด้วยแรงบนั ดาลใจจาก “ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”
ของในหลวงรชั กาลที่ 9

และภารกจิ “เป้าหมายการพฒั นาทีย่ งั่ ยนื ”
ขององค์การสหประชาชาติ

ศาสตร์แห่งความสมดลุ 53

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (Sufficiency Economy Philosophy) คืออะไร
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คอื ปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาล
ท่ี 9 ทรงชี้แนวทางการด�ำ เนนิ ชวี ิตใหม่ ให้แก่ปวงชนชาวไทยมายาวนาน ท่าน
ทรงทดลองดว้ ยพระองคเ์ อง เมอ่ื สำ�เรจ็ แล้วทรงนำ�มาเผยแพรใ่ หเ้ ปน็ แบบอย่าง
แนวทางใหม่นีเ้ ริม่ มากอ่ นชว่ งการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ แตผ่ ูค้ นเรม่ิ ใหค้ วาม
สนใจเม่อื ครงั้ เกิดความยากลำ�บากในช่วงวิกฤติ ในช่วงนน้ั พระองค์ท่านได้
ขยายความ น�ำ มาสู่การปฏบิ ตั ใิ นวงกวา้ ง เพ่ือมงุ่ เน้นใหป้ ระชาชนไดด้ ำ�รงชวี ิต
อยู่ได้อยา่ งยั่งยืน มั่นคง และปลอดภัย ภายใต้ความเปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ ทเ่ี กิด
ข้ึนตามกระแสโลกาภิวัตน์ อกี ทง้ั พระองค์ยังได้ทรงพระราชทานความหมาย
ของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เอาไว้เป็นภาษาองั กฤษว่า Sufficiency Economy ดัง
พระราชดำ�รัสท่ไี ด้ทรงตรัสไว้เม่ือวนั ท่ี 23 ธนั วาคม พ.ศ. 2554

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเป็นแนวทางท่ีสำ�คัญในการดำ�รงชีวิตและ
การปฏบิ ตั ติ นของประชาชนทกุ ระดบั เปน็ วธิ คี ดิ เปน็ พฤตกิ รรม เปน็ แนวทาง
การพฒั นาทม่ี คี น ประชาชน และชมุ ชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง ซง่ึ สง่ิ เหลา่ นเ้ี องจะเปน็
ตัวการทีน่ ำ�ไปสูก่ ารพฒั นาท่ยี ่ังยืน หรือในภาษาองั กฤษ คือ Sustainable
Development

ศาสตร์แห่งความสมดุล 54

เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน (Sustainable Development Goals หรอื ตัวยอ่
วา่ SDGs) คอื อะไร SDGs เปน็ เป้าหมายเกยี่ วกับการพฒั นาระดับนานาชาติ
ซึ่งจดั ท�ำ ขึน้ โดยองค์การสหประชาชาติ เปา้ หมายโลกแห่งการพัฒนาท่ียัง่ ยนื นี้
ได้เผยแพรเ่ และใชแ้ ทนเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ ทหี่ มดอายุเมอ่ื ส้นิ
ปี พ.ศ. 2558 โดย SDGs เป็นทศิ ทางการพฒั นาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 - พ.ศ.
2573 ประกอบดว้ ยเปา้ หมายหลัก 17 เปา้ หมายและเป้าประสงค์ 247 ขอ้
ประเทศไทยมีกรอบการพัฒนาของตนเองท่กี ำ�ลังใช้อย่เู พ่อื ให้บรรลุเป้าหมาย
การพฒั นาอย่างยงั่ ยนื โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นพ้นื ฐาน
อาศัยหลกั ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น และความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ ตลอดจนการรักษา
สมดลุ ด้วยการเดินสายกลาง ความสมเหตุสมผลและความรอบคอบตาม
แนวคิดของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช จุดเนน้ ของ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือความยงั่ ยืนและได้รับการยอมรับว่าเป็น
หลักการสำ�คัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของประเทศไทย
มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545

ศาสตรแ์ ห่งความสมดุล 55

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

สมดุล พรอ มรับตอการเปล่ยี นแปลง
เศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอม วฒั นธรรม

นำสู

ทางสายกลาง พอประมาณ ความพอเพยี ง

มีเหตผุ ล มภี ูมิคมุ กัน
ในตวั ทีด่ ี

ความรู บนพน้ื ฐาน คณุ ธรรม

รอบรู รอบคอบ ระมดั ระวงั ซอ่ื สตั ยส จุ รติ ขยนั อดทน
สตปิ ญ ญา แบง ปน

ศาสตรแ์ ห่งความสมดุล 56

หนงั สอื ศาสตร์แหง่ ความสมดลุ นไี้ ด้รับแรงบัดาลใจมาจาก
หนงั สือ Beautiful Balance ของ Boaz Zippor

ตดิ ตามเร่ืองราวต่าง ๆ เกีย่ วกับการทรงงานไดจ้ าก
SEAMEO SEPS
Website: www.seameo-seps.org
มูลนิธิชัยพัฒนา
Website: www.chaipat.or.th
สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระ
ราชดำ�ริ (สำ�นักงาน กปร.)
Website: www.rdpb.go.th
สำ�นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์ฯ)
Website: www.nesdc.go.th
https://sdgs.nesdc.go.th/
มูลนิธิมั่นพัฒนา
Website: http://tsdf.nida.ac.th/th/

องคก ารรัฐมนตรีศึกษาแหง เอเชียตะวันออกเฉยี งใต
ศนู ยระดับภมู ิภาควาดว ยหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

www.seameo-seps.org


Click to View FlipBook Version