The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือบริหารงประมาณ โรงเรียนบ้านทุ่งยาว สพป.ตรัง เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thungyao.49, 2021-11-03 02:32:30

คู่มือบริหารงประมาณ

คู่มือบริหารงประมาณ โรงเรียนบ้านทุ่งยาว สพป.ตรัง เขต 1

Keywords: คู่ม,ือ

ค่มู ือการบริหารงบประมาณ
1

คู่มือการบรหิ ารงบประมาณ

คำนำ

คมู่ ือการบริหารงบประมาณของโรงเรยี นบ้านทุ่งยาวเล่มน้ี จดั ทำข้ึนเพ่อื ใช้เปน็ แนวทางในการบริหาร
จัดการโรงเรียนให้สอดคล้องกับการบริหารการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ด้วยเหตุที่ว่าการบริหารและ
การจดั การสถานศกึ ษาจะเปล่ยี นแปลงไปจากเดิม กล่าวคือมีอำนาจหน้าทใี่ นการบริหารจดั การท้งั ด้านวิชาการ
งบประมาณ บุคคล กิจการนักเรียน และบริหารทั่วไปมากขึ้น และดำเนินการได้อย่างอิสระคล่องตัวและ
รวดเร็ว เอกสารเล่มนี้จึงเป็นแนวทางให้ครูและบุคลากรทุกกลุ่มทุกฝ่ายของโรงเรียนบ้านทุ่งยาวได้นำไปเป็น
แนวทางในการบริหารจดั การศึกษา การให้บริการทางการศึกษาใหเ้ หมาะสมกับบริบทของโรงเรยี นได้อย่างมี
คุณภาพและประสิทธิภาพตอ่ ไป

คณะผจู้ ัดทำ
กล่มุ บรหิ ารงบประมาณ

โรงเรียนบา้ นทงุ่ ยาว



ค่มู อื การบริหารงบประมาณ

สารบญั

เรอื่ ง หนา้

คำนำ ข
สารบญั 1
วิสยั ทศั น์ 1
พนั ธกจิ 1
เป้าประสงค์ 1
อตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา 1
เอกลักษณข์ องสถานศึกษา 1
กลยทุ ธ์การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 2
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 2
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 3
พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา ในหลวงรชั กาลที่ 10
การบรหิ ารงบประมาณ 5

- ขอบขา่ ยภารกิจ 6
- เกณฑ์การจดั สรรงบประมาณและแนวทางการดำเนนิ งาน 8
- แนวทางการบริหารงบประมาณระดบั สถานศกึ ษา 9
- หลกั การจำหน่ายประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ 11
งานพสั ดุ 15
- ขอบขา่ ยภารกิจ 15
- พระราชบัญญตั ิ การจัดซ้อื จัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั 15
21
- ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการจัดซอื้ จัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั

พ.ศ. 2560



คมู่ ือการบรหิ ารงบประมาณ

วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าประสงค์ อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ และกลยุทธ์การพฒั นาคุณภาพ
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………

วิสัยทศั น์ (Vision)

“ภายในปีการศกึ ษา 2566 โรงเรียนบา้ นท่งุ ยาว จัดการศึกษาได้มาตรฐาน มุง่ เน้นใหผ้ เู้ รียนเกิดทักษะ

ในศตวรรษท่ี 21 โดยครูมืออาชพี ภายใต้ระบบการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมมาภิบาล”

พนั ธกิจ (Mission)
1. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ครอบคลุมหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขนั้ พน้ื ฐาน พ.ศ.2551 (ปรับปรงุ พ.ศ.2560) โดยให้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาและตามมาตรฐาน สสวท.
เพ่อื มงุ่ พัฒนาส่หู ลกั สูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum)

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีสมรรถนะตามหลักสูตรที่เนน้ ทักษะวชิ าการ
ทักษะชวี ิตและอาชพี สำหรับการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 มคี ณุ ธรรม จริยธรรม รักความเปน็ ไทย ดำรงชวี ิตตาม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3. ส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะตรงตามสายงาน มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศกึ ษาและมีวัฒนธรรมการทำงานท่ีม่งุ เน้นผลสัมฤทธ์ิอยา่ งครมู อื อาชพี ดว้ ยวิธีการท่หี ลากหลาย

4. บริหารจัดการโรงเรียนโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน ตามหลกั ธรรมาภบิ าลและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงโดยการมสี ่วนรว่ มจากทกุ ฝ่าย

เปา้ ประสงค์ (Goals
1. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐาน สสวท. และเป็น

โรงเรียนต้นแบบนำร่องการใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะ
2. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีทักษะในศตวรรษที่ 21 และมีวิถีชีวิตตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และเปน็ ครูมืออาชีพ
4. โรงเรียนมรี ะบบการบรหิ ารจัดการทีม่ คี ุณภาพ มาตรฐานเปน็ ที่ยอมรับและเช่ือม่ันของสงั คม

อัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา
“แต่งกายดี มีรอยย้มิ ”

เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา
“ส่งเสริมวิชาการ สืบสานเชิดสิงโต วงโยธวาทิตงามเด่น

1

คู่มือการบรหิ ารงบประมาณ

กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
กลยทุ ธ์ที่ 1 ดา้ นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กลยทุ ธ์ที่ 2 ดา้ นการเพมิ่ ประสิทธภิ าพกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
กลยทุ ธท์ ี่ 3 ด้านการส่งเสรมิ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นทุ่งยาว (ฉบับปรบั ปรงุ พทุ ธศกั ราช 2564) ตามหลกั สูตรแกนกลาง

การศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มงุ่ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปญั หาความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรือไมร่ ับข้อมลู ข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใชว้ ธิ ีการส่ือสาร ทม่ี ปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทมี่ ตี อ่ ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนำไปส่กู ารสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพ่อื การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมบนพ้นื ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอ้ มลู สารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหา และมกี ารตัดสินใจทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทีเ่ กดิ ขนึ้ ตอ่ ตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวนั การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสงั คม
ด้วยการสรา้ งเสริมความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ สี่ ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใชเ้ ทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ และ
มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน
การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาว (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๔) ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยูร่ ว่ มกับผอู้ ่นื ในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี

2

คู่มอื การบริหารงบประมาณ

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ หมายถงึ คณุ ลกั ษณะท่ีแสดงออกถึงการเปน็ พลเมืองที่ดีของชาติ ธำรงไว้ซึ่งความ

เป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนาและเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือผู้มี

ลกั ษณะซง่ึ แสดงออกถงึ การเป็นพลเมอื งที่ดีของชาติ มีความสามคั คีปรองดอง ภมู ใิ จ เชดิ ชูความเป็นชาตไิ ทย ปฏบิ ัติตน

ตามหลกั ศาสนาทีต่ นนับถอื และแสดงความจงรกั ภักดตี ่อสถาบันพระมหากษัตริย์ .

2. ซื่อสตั ย์สจุ รติ หมายถึง คุณลกั ษณะที่แสดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกต้อง ประพฤตติ รงตามความเป็น

จริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตามความเป็นจริงทั้งกาย

วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถกู ตอ้ งในการดำเนนิ ชวี ติ มีความละอายและเกรงกลวั ต่อการกระทำผดิ

3. มีวินัย หมายถึงคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับของ

ครอบครัว โรงเรียน และสังคม ผู้มีวินัยคือ ผู้ที่ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว

โรงเรยี น และสังคมเป็นปกติวิสัย ไมล่ ะเมิดสทิ ธขิ องผอู้ น่ื

4. ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง คุณลกั ษณะที่แสดงออกถงึ ความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้จาก

แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน

และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งงเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ด้วย

การเลือกใช้สอ่ื อย่างเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และ

นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้

5. อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกการดำรงชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ

มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้ดีมีความสุข ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ที่ดำรงชีวิต

อย่างประมาณตน มเี หตผุ ล รอบคอบ ระมดั ระวัง อยู่รว่ มกับผ้อู ื่นด้วยความรับผิดชอบ ไมเ่ บยี ดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่า

ของทรพั ยากรตา่ ง ๆ มกี ารวางแผนป้องกนั ความเสีย่ งและพร้อมรับการเปลย่ี นแปลง

6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน หมายถึง คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถงึ ความเข้าใจและรับผิดชอบในการทำหน้าท่ีการ

งาน ดว้ ยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย ผูท้ ม่ี ่งุ ม่นั ในการทำงานคือ ผู้ทม่ี ีลักษณะถึงความ

ตั้งใจปฏบิ ัติหน้าที่ที่ไดร้ ับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกำกงั กาย กำลงั ใจ ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ ให้

สำเร็จลุล่วงตามเป้าหมายที่กำหนด ดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ และมคี วามภาคภูมิใจในผลงาน

7. รกั ความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจถงึ คุณค่า รว่ มอนรุ กั ษ์ สืบทอดภูมิ

ปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณไี ทย ศลิ ปะและวัฒนธรรมใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ผู้ที่

รักความเป็นไทย คอื ผ้ทู ีม่ คี วามภาคภมู ิใจ เห็นคณุ ค่า ช่ืนชม มสี ่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์ สืบทอดเผยแพร่ภูมิปัญญาไทย

ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวฒั นธรรมไทย มคี วามกตญั ญูกตเวที ใช้ภาษาไทยในการสอ่ื สารได้อย่างถูกต้อง

และเหมาะสม

8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานที่ก่อให้เกิด

ประโยชน์แก่ผอู้ ่ืนชุมชนและสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรอื ร้น โดยไม่หวงั ผลตอบแทน ผ้มู จี ิตสาธารณะ คือ ผู้ที่มี

ลกั ษณะเป็นผ้ใู ห้ และช่วยเหลอื ผ้อู ื่น แบง่ บันความสขุ ส่วนตัวเพื่อประโยชนแ์ กส่ ่วนรวม เข้าใจเห็นใจผู้ท่ีเดือดรอ้ น

3

คู่มอื การบริหารงบประมาณ

อนรุ ักษส์ งิ่ แวดล้อมด้วยแรงกาย สตปิ ญั ญา ลงมือปฏิบัติ เพ่อื แกป้ ัญหา หรอื ร่วมสร้างสรรค์สิง่ ที่ดีงามให้เกิดในชุมชน
โดยไม่หวังสงิ่ ตอบแทน

พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในหลวงรชั กาลที่ 10
การศึกษาตอ้ งมุ่งสรา้ งพ้ืนฐานใหแ้ กผ่ ้เู รยี น 4 ด้าน ดังนี้
1. มีทัศนคติท่ีถกู ตอ้ งต่อบ้านเมอื ง
1) ความรูค้ วามเข้าใจตอ่ ชาตบิ ้านเมือง
2) ยึดม่นั ในศาสนา
3) มั่นคงในสถาบันกษัตริย์
4) มีความเอ้ืออาทรตอ่ ครอบครัวและชุมชนของตน
2. มีพนื้ ฐานชีวติ ทมี่ ่ันคง – มคี ุณธรรม
1) รจู้ กั แยกแยะสง่ิ ที่ถกู – ผดิ / ดี – ชั่ว
2) ปฏิบตั ิแตส่ ิ่งที่ชอบ สง่ิ ที่ดงี าม
3) ปฏเิ สธสง่ิ ท่ผี ิด/ส่ิงท่ีชัว่
4) ช่วยกันสร้างคนดใี หแ้ ก่บ้านเมอื ง
3. มีงานทำ – มอี าชพี
1) การเล้ยี งดูลกู หลานในครอบครวั หรอื การฝึกฝนอบรมในสถานศกึ ษาตอ้ งม่งุ ให้เดก็ และ
เยาวชนรกั งาน สู้งาน ทำจนงานสำเรจ็
2) การฝึกฝนอมรมท้ังในหลักสูตร และนอกหลักสูตรตอ้ งมจี ดุ ม่งุ หมายให้ผู้เรยี นทำงานเป็น
และมีงานทำในท่สี ุด
3) ตอ้ งสนับสนนุ ผสู้ ำเร็จหลกั สูตร มีอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเลย้ี งตนเอง และครอบครัว
4. เป็นพลเมืองท่ดี ี
1) การเปน็ พลเมอื งดี เป็นหนา้ ที่ของทุกคน
2) ครอบครวั – สถานศึกษาและสถานประกอบการตอ้ งส่งเสริมใหท้ กุ คนมโี อกาสทำหน้าท่ี
เป็นพลเมืองดี
3) การเป็นพลเมอื งดี คอื “เหน็ อะไรท่ีจะทำเพื่อบา้ นเมืองได้กต็ ้องทำ” เชน่ งานอาสาสมัคร
งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกศุ ลใหท้ ำด้วยความมนี ำ้ ใจ และความเออ้ื อาทร
สถานศึกษาน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนทั้ง 4 ด้าน ในรูปแบบการบูรณาการทุกสาระ
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ และ
แผนปฏิบัตกิ ารประจำ

4

คู่มือการบรหิ ารงบประมาณ

การบริหารงบประมาณ

การบริหารและการจัดการศึกษาของโรงเรียนนิติบุคคล มีวัตถุประสงค์เพื่อให้โรงเรียนจัดการศึกษา
อยา่ งเปน็ อิสระ คลอ่ งตัว สามารถบริหารจัดการศกึ ษาได้สะดวก รวดเรว็ มปี ระสทิ ธภิ าพและมีความรบั ผดิ ชอบ

โรงเรียนนิติบุคคล นอกจากมีอำนาจหน้าที่ตามวัตถุประสงค์ข้างต้นแล้ว ยังมีอำนาจหน้าที่ตามท่ี
กฎระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธกิ ารว่าด้วยการบรหิ ารจดั การและขอบเขตการปฏบิ ัตหิ น้าที่ของโรงเรียนข้ันพืน้ ฐาน
ทเี่ ปน็ นติ ิบคุ คลสังกดั เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา พ.ศ 2546 ลงวนั ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2546

กฎหมายการศกึ ษาแหง่ ชาติ และกฎหมายระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จงึ กำหนดให้
โรงเรียนนติ ิบคุ คลมอี ำนาจหนา้ ที่ ดงั นี้

1. ใหผ้ ู้อำนวยการโรงเรียนเปน็ ผู้แทนนิติบคุ คลในกิจการทว่ั ไปของโรงเรยี นทเ่ี ก่ียวกบั บุคคลภายนอก
2. ให้โรงเรียนมอี ำนาจปกครอง ดแู ล บำรุงรกั ษา ใชแ้ ละจดั หาผลประโยชน์จากทรพั ย์สินที่มีผู้บริจาค
ให้ เว้นแต่การจำหน้ายอสังหาริมทรัพย์ที่มีผู้บริจาคให้โรงเรียน ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้ืนฐานของโรงเรียน
3. ให้โรงเรียนจดทะเบียนลิขสิทธิ์หรือดำเนินการทางทะเบียนทรัพย์สินต่าง ๆ ที่มีผู้อุทิศให้หรือ
โครงการซอ้ื แลกเปล่ียน จากรายได้ของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ กรรมสิทธ์ขิ องสถานศึกษา
4. กรณีโรงเรียนดำเนนิ คดีเปน็ ผู้ฟ้องร้องหรือถูกฟ้องร้อง ผู้บริหารจะต้องดำเนินคดีแทนสถานศึกษา
หรือถูกฟ้องร่วมกับสถานศึกษา ถ้าถูกฟ้องโดยมิได้อยู่ในการปฏิบัติราชการ ในกรอบอำนาจ ผู้บริหารต้อง
รบั ผดิ ชอบเปน็ การเฉพาะตัว
5. โรงเรียนจัดทำงบประมาณประจำปแี ละรายงานสาธารณะทกุ สน้ิ ปงี บประมาณ

แนวคดิ
การบริหารงานงบประมาณของสถานศึกษามุ่งเน้นความเป็นอิสระ ในการบริหารจัดการมีความ

คลอ่ งตวั โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ยดึ หลักการบริหารมุง่ เน้นผลสัมฤทธิ์และบริหารงบประมาณแบบม่งุ เน้นผลงาน
ให้มีการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิทของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการมาใช้บริหารจัดการ
เพื่อประโยชน์ทางการศึกษา สง่ ผลใหเ้ กิดคุณภาพที่ดขี ้นึ ตอ่ ผู้เรียน

วัตถปุ ระสงค์
เพอื่ ให้สถานศึกษาบรหิ ารงานดา้ นงบประมาณมีความเปน็ อิสระ คลอ่ งตัว โปร่งใสตรวจสอบได้
1. เพ่ือให้ไดผ้ ลผลิต ผลลัพธเ์ ป็นไปตามข้อตกลงการให้บริการ
2. เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการทรัพยากรท่ีไดอ้ ยา่ งเพยี งพอและมปี ระสิทธิภาพ

5

คู่มอื การบริหารงบประมาณ

ขอบขา่ ยภารกิจ
1 กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารท่ีเกย่ี วข้อง
1.1 พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ขเพ่มิ เติม
1.2 พระราชบัญญตั บิ ริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546
1.3 ระเบยี บว่าด้วยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2562
1.4 หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ฉบับปรับปรงุ 2560
1.5 แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจดั การศกึ ษาและสถานศกึ ษาตาม

กฎกระทรวง กำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารกระจายอำนาจการบริหารและการจดั การศึกษา พ.ศ. 2550
2. หน้าที่และความรับผิดชอบ
2.1 การจดั ทำแผนงบประมาณและคำขอต้ังงบประมาณ
2.2 การจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารใชจ้ ่ายเงิน ตามท่ไี ด้รบั จดั สรรงบประมาณ
2.3 การอนุมตั กิ ารใช้จ่ายงบประมาณท่ไี ด้รับจัดสรร
2.4 การขอโอนและการขอเปล่ยี นแปลงงบประมาณ
2.5 การรายงานผลการเบกิ จ่ายงบประมาณ
2.6 การตรวจสอบติดตามและรายงานการใชง้ บประมาณ
2.7 การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ผลผลิตจากงบประมาณ
2.8 การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศกึ ษา
2.9 การปฏิบัติงานอ่ืนใดตามท่ไี ด้รบั มอบหมายเก่ียวกับ
2.10 กองทนุ เพื่อการศึกษา
2.11 การบริหารจัดการทรัพยากรเพ่อื การศกึ ษา
2.12 การจัดหาผลประโยชน์จากทรพั ยส์ ิน
2.13 การเบิกเงินจากคลัง
2.14 การรับเงิน การเกบ็ รกั ษาเงนิ และการจ่ายเงิน
2.15 การนำเงนิ ส่งคลงั
2.16 การจัดทำบญั ชกี ารเงิน
2.17 การจดั ทำรายงานทางการเงนิ และงบการเงิน
2.18 การจดั ทำหรอื จดั หาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบยี น และรายงาน

6

คมู่ อื การบริหารงบประมาณ

ตามทีพ่ ระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพม่ิ เตมิ ไดบ้ ญั ญตั ิ เกีย่ วกบั สิทธิและ
หนา้ ทที่ างการศึกษา มาตรา 10 วรรคหน่งึ ได้บัญญตั ิไว้ว่า “การจดั การศกึ ษาต้องจดั ให้ บคุ คลมีสทิ ธแิ ละโอกาส
เสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไม่น้อยกวา่ สิบสองปีทรี่ ัฐต้องจดั ใหอ้ ย่างท่วั ถึง และมคี ุณภาพโดยไม่เก็บ
คา่ ใชจ้ า่ ย”

การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การ
สือ่ สารและการเรยี นรู้ หรอื มีร่างกายพิการ หรือทพุ พลภาพหรือบุคคลซงึ่ ไม่สามารถพงึ่ ตนเองไดห้ รือไม่มี ผดู้ ูแล
หรอื ดอ้ ยโอกาส ตอ้ งจัดใหบ้ คุ คลดังกลา่ วมสี ิทธิและโอกาสไดร้ บั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานเปน็ พิเศษ

การศึกษาสำหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
และให้บุคคลดังกลา่ วมีสิทธิไดร้ บั สิง่ อำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา
ตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารท่กี ำหนดในกฎกระทรวง

การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสมโดยคำนึงถึง
ความสามารถของบุคคลนนั้

ประกอบกบั มาตรา 14 ระบุว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชพี
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สงั คมอ่ืน ซ่ึงสนับสนุนหรือจัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐานมสี ิทธิ ได้รับ
สิทธปิ ระโยชนต์ ามควรแก่กรณี ดังตอ่ ไปน้ี

1. การสนบั สนุนจากรัฐใหม้ ีความรคู้ วามสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบคุ คลซง่ึ อยู่ในความดูแล
รบั ผดิ ชอบ

2. เงินอดุ หนนุ จากรัฐสำหรบั การจัดการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานตามทีก่ ฎหมายกำหนด
3. การลดหย่อนหรอื ยกเวน้ ภาษีสำหรบั คา่ ใชจ้ า่ ยการศกึ ษาตามทก่ี ฎหมายกำหนด ตามมติ
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2562 ขออนุมัติตั้งงบประมาณเป็นรายปี เพื่อดำเนินงานสนับสนุน
ค่าใช้จ่ายในการจดั การศึกษาตัง้ แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานเป็น ลำดบั ต่อเนอ่ื งมาจนถึงปัจจบุ ัน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้รับงบประมาณตามโครงการสนับสนุน ค่าใช้จ่าย
ในการจดั การศึกษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน โดยได้รับค่าใช้จ่ายใน 5 รายการ ดงั ต่อไปน้ี
1. ค่าจดั การเรยี นการสอน
2. ค่าหนังสือเรียน
3. ค่าอุปกรณ์การเรียน
4. ค่าเคร่อื งแบบนักเรียน
5. คา่ กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น

7

คู่มือการบริหารงบประมาณ

เกณฑก์ ารจัดสรรงบประมาณ และแนวทางการดำเนินงาน (1,700 บาท/คน/ปี)
1.ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษา 850 บาท/คน/ภาคเรียน (1,900 บาท/คน/ปี)
2.ระดบั ประถมศกึ ษา 950 บาท/คน/ภาคเรียน (3,500 บาท/คน/ปี)
3.ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1,750 บาท/คน/ภาคเรียน (3,800 บาท/คน/ป)ี
4.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1,900 บาท/คน/ภาคเรยี น

ปัจจัยพ้นื ฐานสำหรบั นักเรียนยากจน
1. ระดับประถมศึกษา 40% ของนักเรียนประถมศึกษาทั้งหมด 500 บาท/คน/ภาคเรียน (1,000

บาท/คน/ป)ี
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 30% ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นทั้งหมด 1,500 บาท/คน/ภาค

เรียน (3,000 บาท/คน/ปี)

หลกั เกณฑ์การคดั กรองนกั เรียนยากจน พ.ศ.2560 (จากค่มู ือ สพฐ.)
ประกอบดว้ ยหลกั เกณฑ์ 2 ดา้ น คอื ด้านรายไดแ้ ละดา้ นสถานะครวั เรือนของนักเรยี น (แบบ นร. 01)

โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี
1. เกณฑ์รายไดก้ ำหนดใหร้ ายไดเ้ ฉล่ียของครัวเรอื นไมเ่ กนิ 3,000 บาทต่อคนต่อเดือน
2. เกณฑ์สถานะครัวเรอื น อย่างหนงึ่ อยา่ งใด ดงั ต่อไปน้ี
2.1 ครอบครัวมภี าระพึ่งพิง ได้แก่ ในครอบครวั มคี นพกิ าร หรือผู้สงู อายุเกิน 60 ปี หรือมคี น
อายุ 15-65 ปวี ่างงาน (ท่ไี มใ่ ชน่ ักเรียน/นกั ศกึ ษา) หรอื เป็นพอ่ แม่เล้ียงเดย่ี ว
2.2 สภาพที่อยอู่ าศยั สภาพบา้ นชำรุดทรุดโทรม หรอื บ้านทำจากวัสดุพ้นื บา้ น เชน่ ไมไ้ ผ่ ใบ
จาก หรอื วสั ดเุ หลอื ใชห้ รืออยบู่ ้านเช่า หรอื ไม่มหี ้องสว้ มในทีอ่ ยู่อาศัย
2.3 ไมม่ ีรถยนตส์ ว่ นบุคคล หรอื รถปกิ อัพ หรือรถบรรทุกเล็ก หรือรถตหู้ รอื รถไถ/เกยี่ วข้าว/
รถอีแตน๋ /รถอื่นๆ ประเภทเดยี วกัน
2.4 เป็นเกษตรกรท่มี ที ีด่ นิ ทำกิน (รวมเช่า) ไมเ่ กิน 1 ไร่ หรือไม่มที ดี่ ินเป็นของตนเอง

การคดั เลือกหนังสือเรียน
ครูผสู้ อนเปน็ ผู้พจิ ารณาคดั เลอื กหนังสือตามเหตผุ ลเชงิ คณุ คา่ ทางวชิ าการ เสนอ คณะกรรมการบรหิ าร

หลักสูตรและวิชาการผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทน
ชุมชน และผู้แทนนักเรยี น) และคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน โดยหนังสอื เรียนและแบบฝึกหดั รายวิชา
พื้นฐาน พิจารณาคัดเลือกจากหนังสือที่สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และหลักสูตร
สถานศกึ ษา

8

คูม่ อื การบริหารงบประมาณ

ค่าอุปกรณก์ ารเรียน
อุปกรณ์การเรียนที่จำเป็นและส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ได้แก่ สีเทียน สีน้ำ ดินน้ำมัน ไร้

สารพษิ กรรไกรสำหรับเด็กปฐมวยั กระดาษ สมดุ ดินสอ ปากกา ยางลบ ไมบ้ รรทดั เคร่ืองมือเรขาคณิต วัสดุ
ฝกึ ตามกลุม่ สาระการเรียนรวู้ สั ดุฝึกอาชีพ วัสดดุ ้าน ICT กระเป๋านกั เรยี น ฯลฯ ในอตั ราดงั น้ี

- ระดับก่อนประถมศกึ ษา 100 บาท/คน/ภาคเรียน (200 บาท/คน/ปี)
- ระดับประถมศกึ ษา 195 บาท/คน/ภาคเรยี น (390 บาท/คน/ปี)
- ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 210 บาท/คน/ภาคเรียน (420 บาท/คน/ปี)
- ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 230 บาท/คน/ภาคเรียน (460 บาท/คน/ปี)
- ระดับ ปวช.1-3 (สถานประกอบการ) 230 บาท/คน/ภาคเรียน (460 บาท/คน/ป)ี
ทั้งน้ผี ปู้ กครอง/นักเรียนสามารถถวั จ่ายระหว่างอปุ กรณก์ ารเรยี นและเคร่อื งแบบนกั เรียนได้
ทั้งค่าอุปกรณ์การเรียนและค่าเครื่องแบบนักเรียน ให้สถานศึกษาแต่งตั้งผู้จ่ายเงินอย่างน้อย 2 คน
เพื่อร่วมกันจ่ายเงินให้กับนักเรียนและ/หรือผู้ปกครองโดยลงลายมือชื่อรับเงิน กรณีนักเรียนไม่สามารถลง
ลายมือชื่อรับเงินได้ให้ผู้ปกครองลงลายมือชื่อรับเงินแทนเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานการจ่ายเงิน ตามแบบ
หลกั ฐานการจา่ ยเงิน

คา่ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน
กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน ประกอบด้วย 4 อย่าง

1. กจิ กรรมวิชาการ อย่างนอ้ ยปีละ 1 ครัง้
2. กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม /ลูกเสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาด/ผู้บำเพ็ญประโยชน์ อย่างน้อยปีละ 1
ครั้ง
3. กจิ กรรมทศั นศึกษา อยา่ งนอ้ ย ปลี ะ 1 ครง้ั
4. กิจกรรมการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ให้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าว
อย่างน้อย 40 ช่ัวโมง/คน/ปี

แนวทางการบริหารงบประมาณระดับสถานศกึ ษา
เมอ่ื สถานศกึ ษาไดร้ บั จัดสรรงบประมาณแล้ว ใหส้ ถานศึกษาจดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปี ตามระบบ

ประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ทง้ั นแ้ี ผนปฏบิ ัติการประจำปีต้องผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการ
สถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน และให้สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากำกบั ติดตาม ตรวจสอบการใช้ จ่ายงบประมาณ
ให้เป็นไปตามแนวทางการดำเนินงานตามโครงการฯ และนโยบาย สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับ
ติดตามและประเมินผล ซ่งึ ประกอบดว้ ย ผู้แทน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ครผู ู้ปกครอง นกั เรยี น

9

คมู่ อื การบรหิ ารงบประมาณ

เป็นกรรมการกำกับ ติดตามและประเมินผล การใช้หนังสือเรยี น อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียน และ
กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน รวมท้งั กิจกรรม “ลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้”และให้สถานศึกษารายงานผลการ
ดำเนนิ งานต่อสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา

* เมื่อสถานศึกษาได้รับแจ้งการตัดโอนเงินงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน โดยสำนักการคลังและสินทรัพย์ ให้สถานศึกษานำเงินอุดหนุนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของ
สถานศึกษาแลว้ สถานศึกษาตอ้ งใช้จ่ายเงินภายในปงี บประมาณ กรณมี ีเงินเหลืออยู่และยงั ไม่สิ้นสดุ โครงการ ให้
รีบดำเนินการให้เสร็จสิ้นอย่างช้าภายในปีงบประมาณถัดไป ตัวอย่างเช่น ได้รับงบประมาณ ปี 2563
สถานศึกษาสามารถใชจ้ ่ายได้ 2 ปงี บประมาณ คอื ภายในปีงบประมาน 2563 และ ปงี บประมาณ 2564

* ถ้าสถานศึกษาใช้จ่ายเงินไม่หมดตามระยะเวลาดังกล่าว เงินที่เหลือต้องส่งคืนคลังเป็นรายได้
แผ่นดิน

* ดอกเบ้ียทีเ่ กิดจากเงนิ ฝากธนาคารของเงนิ อุดหนุนรายหัว เงนิ โครงการอาหารกลางวนั สถานศึกษา
ต้องนำสง่ คนื คลงั เปน็ รายไดแ้ ผน่ ดิน

* การจัดซอื้ จดั จ้าง ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติ การจัดซอื้ จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั
และระเบียบกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการจดั ซอ้ื จดั จ้างและการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560

* การใช้จ่ายเงินตอ้ งเกิดประโยชน์ต่อนักเรียนเป็นลำดับแรก และใช้จ่ายให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานกำหนด

* ค่าจัดการเรียนการสอน ให้ปฏิบัติตามระเบยี บของทางราชการที่เกี่ยวข้อง โดยให้ใช้ ในลักษณะ 3
ประเภทงบรายจ่าย ดงั นี้

1. งบบคุ ลากร
- คา่ จ้างชัว่ คราว เชน่ ค่าจ้างครูอัตราจา้ งรายเดอื น พนักงานขบั รถ ฯลฯ

2. งบดำเนนิ งาน
- คา่ ตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวทิ ยากร ค่าตอบแทนวิทยากรวชิ าชพี -ทอ้ งถนิ่ ฯลฯ
- ค่าใชส้ อย เชน่ ค่าเบี้ยเล้ียง คา่ เช่าที่พกั คา่ พาหนะ ค่าจ้างซอ่ มแซม คา่ จ้าง เหมา

บรกิ าร ค่าพาหนะพานกั เรียนไปทศั นศกึ ษาแหลง่ เรียนรฯู้ ลฯ
- ค่าวสั ดุ เชน่ ค่าวัสดกุ ารศกึ ษา ค่าเครือ่ งเขยี น แปรงลบกระดาน กระทะ คา่ วสั ดุ

เวชภณั ฑ์คา่ ซ่อมแซมบำรุงรกั ษาทรพั ยส์ นิ ฯลฯ
- คา่ สาธารณปู โภค เชน่ ค่าน้ำ คา่ ไฟฟ้า คา่ โทรศัพท์ ฯลฯ

3. งบลงทนุ หมายถึง รายจ่ายท่กี าหนดใหจ้ ่ายเพือ่ การลงทุน ได้แก่ รายจา่ ยที่จ่าย ใน
ลกั ษณะคา่ ครุภัณฑค์ ่าท่ดี ินและส่ิงกอ่ สร้าง

10

คูม่ อื การบรหิ ารงบประมาณ

- ค่าครุภณั ฑ์ เช่น เคร่อื งถ่ายเอกสาร เครอื่ งคำนวณ เครอ่ื งดูดฝ่นุ ฯลฯ
- ค่าท่ดี ินและสิง่ กอ่ สรา้ ง รายจา่ ยเพ่ือดดั แปลง ต่อเติม หรือปรบั ปรงุ ส่ิงกอ่ สรา้ ง ซ่ึง
ทำให้ท่ดี ิน สิ่งกอ่ สรา้ ง มมี ลู คา่ เพิ่มขึ้น ฯลฯ

เงินทโ่ี รงเรียนได้รบั 3 ประเภท
1. เงินงบประมาณ (ปจั จบุ นั กรมบัญชีกลางโอนเงนิ ไปยงั ผมู้ สี ทิ ธิรับเงนิ โดยตรง)
2. เงนิ นอกงบประมาณ
3. เงินรายไดแ้ ผ่นดนิ

หลกั การจำหน่ายประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ

• รายจา่ ยตามงบประมาณจำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่

1. รายจ่ายของสว่ นราชการ และรฐั วสิ าหกิจ
2. รายจ่ายงบกลาง

1. รายจ่ายของสว่ นราชการ และรฐั วสิ าหกิจ
รายจา่ ยของสว่ นราชการ และรัฐวสิ าหกิจ หมายถึง รายจา่ ยซง่ึ กำหนดไว้สำหรับแต่ละส่วนราชการ

และรัฐวสิ าหกจิ โดยเฉพาะ จำแนกออกเป็น 5 ประเภทงบรายจ่าย ดงั น้ี
1. งบบุคลากร
2. งบดำเนนิ งาน
3. งบลงทุน
4. งบเงนิ อุดหนุน
5. งบร่ายจ่ายอ่นื

1. งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่รายจ่ายที่
จ่ายในลักษณะเงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจ่ายท่ี
กำหนดให้จา่ ยจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว

2. งบดำเนนิ งาน หมายถึง รายจ่ายทีก่ ำหนดใหจ้ า่ ยเพื่อการบรหิ ารงานประจำ ได้แก่ รายจ่ายที่จ่าย
ในลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบ
รายจ่ายอน่ื ใดในลกั ษณะรายจ่ายดงั กล่าว

3. งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่า
ครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลักษณะรายจ่าย
ดงั กล่าว

11

คูม่ ือการบรหิ ารงบประมาณ

4. งบเงินอุดหนนุ หมายถึง รายจ่ายท่ีกำหนดใหจ้ า่ ยเป็นค่าบำรุงหรือเพอ่ื ชว่ ยเหลอื สนบั สนุนงานของ
รัฐวิสาหกิจ เอกชนหรอื กจิ การอนั เปน็ สาธารณประโยชน์ รวมถงึ เงนิ อุดหนนุ สถาบันพระมหากษัตริย์ และการ
ศาสนา ตลอดจนงบประมาณรายจ่าย ของหน่วยงานของรัฐที่มีกฎหมายกำหนดให้ได้รับงบประมาณเป็นเงนิ
อุดหนุน

งบเงนิ อุดหนุนมี 2 ประเภท ไดแ้ ก่
ก. เงินอดุ หนนุ ทว่ั ไป หมายถงึ เงินทก่ี ำหนดใหจ้ า่ ยตามวัตถปุ ระสงค์ของรายการ
ข. เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ หมายถึง เงินที่กำหนดให้จ่ายตามวัตถุประสงค์ของรายการ และตาม
รายละเอยี ดทสี่ ำนกั งบประมาณกำหนด
รายจ่ายงบอุดหนุนรายการใดจะเป็นรายจ่ายประเภทเงนิ อดุ หนุนทั่วไป หรือเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ให้เป็นไป
ตามที่สำนกั งบประมาณกำหนด
5. งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง รวมถึง
รายจ่ายดงั น้ี

ก. เงนิ ราชการลับ
ข. เงินค่าปรับทจี่ า่ ยคืนให้แกผ่ ู้ขายหรือผรู้ บั จา้ ง
ค. คา่ จ้างทป่ี รกึ ษาเพอื่ ศกึ ษา วจิ ัย ประเมินผล หรอื พฒั นาระบบต่าง ๆ ซง่ึ มิใชเ่ พื่อการจัดหา
หรือปรบั ปรุงครุภัณฑ์ ที่ดนิ และสิง่ กอ่ สร้าง
ง. ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการตา่ งประเทศชั่วคราว
จ รายจา่ ยเพอื่ ชำระหนีเ้ งินกู้
ฉ คา่ ใช้จ่ายสำหรับกองทุน หรือเงินทุนหมุนเวียน ท่ีตัง้ ขน้ึ ภายในหน่วยรับงบประมาณ
ช รายการที่สำนกั งบประมาณกำหนดให้ใชจ้ ่ายในงบรายจ่ายน้ี เปน็ กรณีไป

2. รายจา่ ยงบกลาง
หมายถึง รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจโดยทั่วไป ใช้จ่าย ตามรายการ

ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. “เงินเบยี้ หวดั บำเหน็จบำนาญ” หมายความว่า รายจา่ ยท่ีต้ังไว้เพ่อื จ่ายเปน็ เงนิ บำนาญ ข้าราชการ

เงินบำเหน็จลูกจ้างประจำ เงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง เงินทดแทนข้าราชการวิสามัญ เงินค่าทดแทน
สำหรับผู้ได้รับอันตรายในการรักษาความมั่นคงของประเทศ เงินช่วยพิเศษข้าราชการบำนาญเสียชีวิต เงิน
สงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการช่วยเหลือราชการ การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหน้าท่ี
มนษุ ยธรรม และเงนิ ช่วยค่าครองชพี ผรู้ บั เบ้ยี หวดั บำนาญ

12

คูม่ อื การบรหิ ารงบประมาณ

2. “เงินช่วยเหลือข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ” หมายความว่า รายจ่าย ที่ตั้งไว้เพื่อจ่าย
เป็นเงินสวัสดิการช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ให้แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ ได้แก่ เงินช่วยเหลือ
การศกึ ษาของบตุ ร เงนิ ชว่ ยเหลือบตุ ร และเงนิ พิเศษในกรณีตายในระหว่างรบั ราชการ

3. “เงนิ เลอ่ื นข้ันเล่ือนอันดบั เงินเดอื นและเงินปรับวฒุ ขิ ้าราชการ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพ่ือ
จ่ายเป็นเงินเล่ือนขัน้ เลื่อนอันดับเงนิ เดอื นข้าราชการประจำปี เงินเลื่อนขัน้ เลือ่ นอันดบั เงนิ เดือนข้าราชการที่
ไดร้ ับเล่ือนระดับและหรือแตง่ ตัง้ ใหด้ ำรงตำแหน่งระหวา่ งปี และ เงินปรับวุฒขิ า้ ราชการ

4. “เงินสำรองเงนิ สมทบและเงินชดเชยของข้าราชการ” หมายความว่า รายจ่ายท่ีตั้งไว้เพื่อจ่ายเปน็
เงนิ สำรอง เงนิ สมทบ และเงินชดเชยท่ีรัฐบาลนำส่งเข้ากองทนุ บำเหนจ็ บำนาญขา้ ราชการ

5. “เงินสมทบของลูกจา้ งประจำ” หมายความว่า รายจ่ายทต่ี ัง้ ไวเ้ พือ่ จา่ ยเปน็ เงนิ สมทบท่รี ัฐบาลนำส่ง
เข้ากองทนุ สำรองเลย้ี งชีพลูกจ้างประจำ

6. “ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเสด็จพระราชดำเนินและต้อนรับประมุขต่างประเทศ” หมายความว่า
รายจา่ ยท่ตี ้งั ไวเ้ พื่อเป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุนพระราชภารกิจในการเสด็จพระราชดำเนนิ ภายในประเทศและหรือ
ต่างประเทศ และคา่ ใชจ้ า่ ยในการต้อนรบั ประมขุ ตา่ งประเทศทมี่ าเยอื นประเทศไทย

7. “เงินสำรองจา่ ยเพอื่ กรณฉี ุกเฉินหรือจำเปน็ ” หมายความวา่ รายจา่ ยทตี่ ้ังสำรองไวเ้ พ่อื จัดสรรเป็น
คา่ ใชจ้ ่ายในกรณีฉกุ เฉินหรอื จำเป็น

8. “ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการรักษาความมั่นคงของประเทศ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพ่ือ
เปน็ ค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงานรกั ษาความมั่นคงของประเทศ

9. “เงินราชการลบั ในการรักษาความมน่ั คงของประเทศ” หมายความว่า รายจา่ ยทต่ี งั้ ไว้เพื่อเบิกจ่าย
เป็นเงินราชการลบั ในการดำเนินงานเพอื่ รักษาความมั่นคงของประเทศ

10. “ค่าใช้จ่ายตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” หมายความว่า รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อเป็น
ค่าใชจ้ า่ ยในการดำเนนิ งานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

11. “คา่ ใชจ้ ่ายในการรกั ษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจา้ งและพนักงานของรัฐ” หมายความวา่ รายจ่าย
ทีต่ ัง้ ไวเ้ ป็นคา่ ใชจ้ ่ายในการช่วยเหลือคา่ รกั ษาพยาบาลข้าราชการ ลกู จา้ งประจำและพนกั งานของรฐั

เงนิ นอกงบประมาณ
เป็นเงนิ ท่ีกฎหมายกำหนดไมต่ ้องนำสง่ เป็นเงินรายได้แผ่นดนิ ไดแ้ ก่
1. รายได้สถานศึกษา หมายถึง รายได้ตามมาตรา 59 พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ซึ่งเกิด
จาก
- การจัดหาผลประโยชนจ์ ากทรพั ย์สินของสถานศึกษาทีเ่ ปน็ ท่ีราชพัสดุ
- เบยี้ ปรบั ทีเ่ กดิ จากการผิดสญั ญาลาศึกษาต่อ และเบี้ยปรับทเ่ี กดิ จากผิดสญั ญาซ้ือหรือจ้าง

13

คูม่ อื การบรหิ ารงบประมาณ

- ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษามีอำนาจอนุมตั กิ ารจ่าย คร้ังละไมเ่ กนิ 15 ล้านบาท
2. เงินภาษหี กั ณ ท่ีจา่ ย

- ซ้ือหรือจ้างบคุ คลธรรมดา ต้ังแต่ 10,000 บาทขึ้นไป หกั ร้อยละ 1
- ซอ้ื หรือจ้างนิติบคุ คล ตง้ั แต่ 500 บาทขึ้นไป หกั ร้อยละ 1
- นำสง่ อำเภอทอ้ งทห่ี รือ สรรพากร ภายในวนั ท่ี 7 ของเดอื นถัดจากเดอื นทจี่ า่ ยเงิน
- ถ้าไมส่ ่งภายในกำหนด สถานศึกษาอาจไดร้ บั โทษทางอาญาปรับไม่เกนิ 2,000 บาท
3. เงนิ ประกนั สัญญา
- อตั ราร้อยละ 5 ของราคาทีจ่ ดั ซื้อจดั จ้าง
- ต้องนำฝากสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา
- สถานศึกษาต้องจา่ ยคนื อย่างช้าไม่เกนิ 15 วนั นบั แตว่ นั ท่ีครบสัญญา

เงินรายไดแ้ ผ่นดิน
เงินรายไดแ้ ผน่ ดิน หมายถงึ เงนิ ที่สว่ นราชการจดั เก็บหรือไดร้ ับไว้เป็นกรรมสิทธ์ติ ามกฎหมาย ระเบยี บ

ขอ้ บงั คบั หรือจากนิติกรรมหรือนติ ิเหตุ และไม่มีกฎหมายอนื่ ใดกำหนดให้ส่วนราชการเกบ็ ไว้หรือหัก ไว้เพ่ือใช้
จา่ ย

1. คา่ ขายของเบด็ เตลด็ คา่ ขายของเกา่ ทพี่ ังหรือชำรุดทจี่ ัดหาจากเงินงบประมาณ
2. เงนิ อุดหนุนท่ัวไปท่ีเหลือจ่ายเกิน 2 ปงี บประมาณ
3. ดอกเบย้ี จากบญั ชเี งินฝากของเงนิ อุดหนนุ ทัว่ ไป
4. ดอกเบยี้ จากเงนิ ฝากธนาคารของเงินอุดหนนุ โครงการอาหารกลางวนั จาก อปท.

การนำเงินรายได้แผน่ ดนิ ส่งคลงั
1. ใหโ้ รงเรียนนำสง่ อยา่ งนอ้ ยเดอื นละ 1 ครง้ั เวน้ แตม่ เี งนิ รายไดแ้ ผ่นดินเกินกว่า 10,000 บาท ใหน้ ำ

สง่ อยา่ งชา้ ภายใน 7 วนั ทำการ

การจา่ ยเงนิ สวสั ดิการเก่ยี วกบั การศึกษาของบตุ ร
1. เบิกได้ตั้งแต่บตุ รเขา้ เรียนอนุบาลถึงปรญิ ญาตรี ตั้งแตล่ ำดบั ที่ 1-3
2. เบกิ ไดห้ ลักสูตรแรกปริญญาตรีของรัฐเท่าที่จา่ ยจริง แตเ่ อกชนเบกิ ได้ครึง่ หนึ่งของท่ีจ่ายจริง แต่ไม่

เกนิ 25,000 บาท (อัตราใหม่ ปรบั ปรุงปี 2559)
3. ยน่ื เบิกไดภ้ ายใน 1 ปี นับแตว่ นั เปดิ ภาคเรียนแต่ละภาค
4. ผู้มสี ิทธิ์เปน็ ผูร้ บั รองการมสี ทิ ธขิ องตนเอง

14

คมู่ ือการบรหิ ารงบประมาณ

อำนาจจการเบกิ จา่ ยเงนิ สวัสดกิ ารบตุ ร/ค่ารักษาพยาบาล
1. เลขาธิการ กพฐ. มอบอำนาจให้ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุมัติการเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล/ค่า

การศึกษาบตุ รของขา้ ราชการและลูกจ้างประจำในสังกดั แทนเลขา กพฐ.
2. เลขาธิการ กพฐ. มอบอำนาจให้รองผู้อำนวยการโรงเรียนหรือครูท่ีได้รับมอบหมายเป็นลายลักษณ์

อักษรให้ทำหน้าที่เจา้ หนา้ ที่การเงินของโรงเรียนซึ่งเป็นข้าราชการ เป็นผู้อนุมัติการเบิกเงินค่ารกั ษาพยาบาล
และค่าการศกึ ษาบุตรของผอู้ ำนวยการโรงเรียน แทนเลขา กพฐ.

การเบกิ เงนิ สวสั ดกิ ารคา่ รักษาพยาบาล
1. เบิกได้สำหรบั ตนเอง คสู่ มรส บิดา มารดา บตุ รทย่ี ังไม่บรรลุนิติภาวะ (คนที่ 1-3) และอายุ ไม่เกิน

20 ปีบรบิ รู ณ์
2. ถ้าฉกุ เฉินเข้าโรงพยาบาลเอกชน เบกิ ไดไ้ มเ่ กินครง่ึ หน่งึ แต่ไมเ่ กนิ 8,000 บาท

เงินอุดหนุนค่าอาหารกลางวันทไี่ ดร้ ับจาก อปท.
1. นำฝากธนาคารไม่เกิน 200,000 บาท
2. ส่วนทีเ่ กนิ ใหน้ ำฝาก สพท. เพ่ือนำฝากคลังจังหวดั ตอ่ ไป
3. ดอกเบย้ี ทเ่ี กิดจากเงินฝาก ใหส้ ง่ คลงั เป็นรำยได้แผ่นดิน

งานพัสดุ

ขอบขา่ ยภารกจิ
1. กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง

1.1 พระราชบัญญัติ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพสั ดภุ าครัฐ
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจัดซอื้ จดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560

2. หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบ
2.1 การวางแผนพสั ดุ
2.2 การกำหนดรูปแบบรายการ หรอื คณุ ลกั ษณะเฉพาะของครภุ ณั ฑ์ หรือสิง่ กอ่ สรา้ ง
2.3 การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเพอื่ การจัดทำและจดั หาพัสดุ
2.4 การจัดหาพสั ดุ
2.5 การควบคุมดูแล บำรงุ รกั ษาและจำหน่ายพสั ดุ

15

ค่มู ือการบริหารงบประมาณ

พระราชบัญญตั ิ การจัดซอื้ จัดจ้างและการบริหารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560
มาตรา 4 “กำรจัดซอ้ื จดั จ้าง” หมายความว่า การดำเนินการเพอ่ื ใหไ้ ด้มาซง่ึ พสั ดุโดยการซอื้ จ้าง เช่า

แลกเปลี่ยน หรือโดยนติ กิ รรมอืน่ ตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง

“พสั ด”ุ หมายความว่า สนิ ค้า งานบริการ งานกอ่ สรา้ ง งานจ้างทปี่ รึกษาและงานจา้ ง ออกแบบหรอื
ควบคมุ งานก่อสร้าง รวมทง้ั การดำเนินการอื่นตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง

“สนิ ค้า” หมายความวา่ วสั ดุครุภณั ฑ์ทด่ี ิน สงิ่ ปลูกสร้าง และทรัพย์สนิ อ่ืนใด รวมทง้ั งาน บรกิ ารที่
รวมอย่ใู นสินค้าน้ันด้วย แต่มูลค่าของงานบริการตอ้ งไม่สูงกวา่ มลู คา่ ของสนิ ค้าน้ัน

“งานบรกิ าร” หมายความว่า งานจ้างบรกิ าร งานจ้างเหมาบรกิ าร งานจ้างทำของและการรับขนตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล แต่ไม่หมายความรวมถึงการจ้างลูกจ้าง
ของหน่วยงานของรัฐ การรับขนในการเดินทางไปราชการหรือไปปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐงานจ้างที่
ปรกึ ษา งานจ้างออกแบบหรือควบคมุ งานกอ่ สร้าง และการจา้ งแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์

“งานกอ่ สรา้ ง” หมายความว่า งานกอ่ สร้างอาคาร งานกอ่ สร้างสาธารณูปโภค หรอื สิ่งปลกู สรา้ งอน่ื ใด
และการซ่อมแซม ต่อเติม ปรับปรุง รื้อถอน หรือการกระทรวงอื่นที่มีลักษณะทำนองเดียวกันต่อ อาคาร
สาธารณูปโภค หรอื ส่ิงปลกู สร้างดังกล่าว รวมทงั้ งานบริการท่ีรวมอยู่ในงานกอ่ สรา้ งน้ันด้วย แตม่ ลู ค่า ของงาน
บริการต้องไม่สงู กว่ามูลค่าของงานกอ่ สร้างนน้ั

“อาคาร” หมายความว่า สิ่งปลูกสร้างถาวรที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือใช้สอยได้ เช่น อาคารที่ทำการ
โรงพยาบาล โรงเรียน สนามกีฬา หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน รวมทั้ง สิ่งก่อสร้าง
อื่น ๆ ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอยสำหรับอาคารนั้น ๆ เช่น เสาธง รั้ว ท่อระบายน้ำ หอ ถังน้ำ ถนน
ประปา ไฟฟา้ หรือสง่ิ อื่น ๆ ซึ่งเปน็ ส่วนประกอบของตัวอาคาร เช่น เครอื่ งปรับอากาศ ลฟิ ท์ หรอื เครอ่ื งเรอื น

“งานจ้างที่ปรึกษา” หมายความว่า งานจ้างบริการจากบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลเพื่อเป็น ผู้ให้
คำปรึกษาหรือแนะนำแก่หน่วยงานของรัฐในด้านวิศวกรรม สถาปัตยกรรม ผังเมือง กฎหมาย เศรษฐศาสตร์
การเงนิ การคลัง ส่ิงแวดล้อม วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีสาธารณสุข ศลิ ปะวัฒนธรรม การศึกษาวจิ ัย หรือด้านอ่ืน
ทีอ่ ยู่ในภารกิจของรัฐหรือของหนว่ ยงานของรัฐ

“งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสรา้ ง” หมายความว่า งานจา้ งบรกิ ารจากบคุ คลธรรมดา หรือ
นติ ิบคุ คลเพือ่ ออกแบบหรอื ควบคุมงานก่อสร้าง

“การบริหารพัสดุ” หมายความว่า การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การ
บำรุงรกั ษา และการจำหน่ายพสั ดุ (ไม่มกี ารซ้ือ)

“ราคากลาง” หมายความว่า ราคาเพื่อใช้เป็นฐานสำหรับเปรียบเทียบราคาที่ผู้ยื่นข้อเสนอ ได้ย่ืน
เสนอไวซ้ ึ่งสามารถจดั ซ้ือจัดจ้างไดจ้ รงิ ตามลำดับ ดังตอ่ ไปนี้

16

คูม่ อื การบริหารงบประมาณ

1. ราคาทไี่ ดม้ าจากการคำนวณตามหลกั เกณฑท์ ่คี ณะกรรมการราคากลางกำหนด
2. ราคาทไี่ ดม้ าจากฐานขอ้ มลู ราคาอา้ งอิงของพัสดทุ ี่กรมบญั ชีกลางจัดทำ
3. ราคามาตรฐานท่ีสำนักงบประมาณหรอื หน่วยงานกลางอ่นื กำหนด
4. ราคาทไี่ ดม้ าจากการสบื ราคาจากทอ้ งตลำด

5. ราคาทเ่ี คยซือ้ หรอื จ้างคร้ังหลังสดุ ภายในระยะเวลาสองปงี บประมาณ
6. ราคาอ่ืนใดตามหลักเกณฑ์วธิ กี าร หรือแนวทางปฏิบตั ขิ องหนว่ ยงานของรัฐนนั้ ๆ
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่ิน
รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ องค์การมหาชน องค์กรอิสระ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
หนว่ ยธุรการของศาล มหาวิทยาลัยในกำกบั ของรัฐ หน่วยงานสังกัดรัฐสภาหรือในกำกับของรัฐสภา หน่วยงาน
อิสระของรัฐ และหนว่ ยงานอืน่ ตามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง
“คณะกรรมการนโยบาย” หมายความว่า คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร
พัสดุ ภาครัฐ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังหรือรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลังซึ่งรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการคลังมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ)
“คณะกรรมการวินิจฉัย” หมายความว่า คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บรหิ าร พสั ดภุ าครฐั (ปลัดกระทรวงการคลัง เปน็ ประธานกรรมการ)
“คณะกรรมการราคากลาง” หมายความว่า คณะกรรมการราคากลางและขึน้ ทะเบยี นผูป้ ระกอบการ
(อธบิ ดกี รมบญั ชีกลาง เป็นประธานกรรมการ)
“คณะกรรมการ ค.ป.ท.” หมายความว่า คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต (ปลัด
กระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการ)
“คณะกรรมการพิจารณาอทุ ธรณ”์ หมายความว่า คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
(ปลดั กระทรวงการคลงั เป็นประธานกรรมการ)
มาตรา 7 พระราชบญั ญตั ินม้ี ิให้ใช้บงั คบั แก่
1. การจดั ซอ้ื จัดจ้างของรัฐวสิ าหกจิ ที่เกีย่ วกบั การพาณชิ ย์โดยตรง
2. การจัดซ้อื จัดจา้ งยทุ โธปกรณแ์ ละการบริการที่เกย่ี วกบั ความม่ันคงของชาตโิ ดยวธิ รี ฐั บาล ต่อรัฐบาล
หรอื โดยการจัดซ้ือจดั จ้างจากต่างประเทศที่กฎหมายของประเทศนน้ั กำหนดไว้เป็นอยา่ งอนื่
3. การจัดซื้อจัดจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนา เพื่อการให้บริการทางวิชาการของ สถาบันอุดมศึกษา
หรอื การจ้างท่ปี รึกษา ทงั้ นี้ ที่ไม่สามารถดำเนินการตามพระราชบญั ญตั ินไ้ี ด้
4. การจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ
สถาบันการเงินระหว่างประเทศ องค์การต่างประเทศทั้งในระดับรัฐบาลและที่มิใช่ระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือ
เอกชนตา่ งประเทศ ทส่ี ญั ญาหรอื ขอ้ กำหนดในการใหเ้ งินก้หู รอื เงนิ ช่วยเหลอื กำหนดไว้เป็นอย่างอ่นื

17

คู่มอื การบรหิ ารงบประมาณ

5. การจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจำกรัฐบาลต่างประเทศ องค์การระหว่างประเทศ
สถาบันการเงินระหว่างประเทศ องค์การต่างประเทศทั้งในระดับรัฐบาลและที่มิใช่ระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือ
เอกชนต่างประเทศ ที่สัญญาหรือข้อกำหนดในการให้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือกำหนดไว้เป็นอย่างอื่น โดยใช้
เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือนั้นร่วมกับเงินงบประมาณ ซึ่งจำนวนเงินกู้หรือเงินช่วยเหลือที่ใช้นั้นเป็นไป ตาม
หลกั เกณฑท์ ่คี ณะกรรมการนโยบายประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา

6. การจัดซื้อจัดจ้างของสถาบันอุดมศึกษาหรือสถานพยาบาลที่เป็นหน่วยงานของรัฐโดยใช้ เงิน
บริจาครวมทั้งดอกผลของเงินบริจาค โดยไม่ใชเ้ งินบรจิ าคน้ันร่วมกบั เงินงบประมาณ

มาตรา 8 การจดั ซ้อื จัดจา้ งและการบริหารพัสดุของหน่วยงานของรฐั ต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่
หน่วยงานของรฐั และตอ้ งสอดคล้องกบั หลักการ ดังต่อไปน้ี

1. คุ้มค่ำ โดยพัสดุที่จัดซื้อจัดจ้างต้องมีคุณภาพหรือคุณลักษณะที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ ในการใช้
งานของหนว่ ยงานของรฐั มรี าคาทเี่ หมาะสม และมีแผนการบริหารพสั ดทุ ี่เหมาะสมและชัดเจน

2. โปร่งใส โดยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุต้องกระทำโดยเปิดเผย เปิดโอกาสให้มี การ
แข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการปฏิบัติต่อผู้ประกอบการทุกรายโดยเท่าเทียมกัน มีระยะเวลาที่เหมาะสม และ
เพียงพอต่อการยืน่ ข้อเสนอ มีหลักฐานการดำเนินงานชัดเจน และมีการเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง และ
การบรหิ ารพสั ดใุ นทุกขนั้ ตอน

3. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยต้องมีการวางแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ
ล่วงหนา้ เพ่อื ให้การจัดซอื้ จัดจ้างและการบริหารพัสดุเป็นไปอย่างต่อเน่ืองและมีกำหนดเวลาที่เหมาะสม โดยมี
การประเมินและเปดิ เผยผลสัมฤทธิข์ องการจัดซอื้ จดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดุ

4. ตรวจสอบได้โดยมีการเก็บข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุอย่างเป็นระบบ เพ่ือ
ประโยชนใ์ นการตรวจสอบ

มาตรา 9 การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่จะทำการจัดซื้อจัดจ้าง ให้หน่วยงานของรัฐ
คำนึงถึงคุณภาพ เทคนิค และวัตถุประสงค์ของการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุนั้น และห้ามมิให้กำหนดคุณลักษณะ
เฉพาะของพัสดุใหใ้ กล้เคียงกับยีห่ ้อใดยี่ห้อหนึ่ง หรือของผู้ขายรายใดรายหนึ่งโดยเฉพาะ เว้นแต่พัสดุที่จะทำ
การจัดซือ้ จดั จา้ งตามวตั ถุประสงค์น้ันมยี ีห่ อ้ เดยี วหรือจะต้องใช้อะไหลข่ องยี่หอ้ ใด กใ็ ห้ระบยุ ่ีห้อนน้ั ได้

มาตรา 11 ให้หน่วยงานของรัฐจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีและประกาศ เผยแพร่ในระบบ
เครอื ขา่ ยสารสนเทศของกรมบญั ชกี ลางและของหนว่ ยงานของรัฐตามวธิ กี ารทีก่ รมบญั ชีกลางกำหนดและให้ปิด
ประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานท่ีปิดประกาศของหนว่ ยงานของรัฐน้นั เวน้ แต่

1. กรณีทีม่ ีความจำเปน็ เร่งด่วนหรือเปน็ พัสดทุ ใี่ ช้ในราชการลับ ทัง้ น้ีตามมาตรา 56 (1) (ค) หรอื (ฉ)
2. กรณีที่มีวงเงินในการจัดซ้ือจัดจ้างตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวงหรือมีความจำเป็นต้องใช้พัสดโุ ดย
ฉุกเฉนิ หรือเป็นพสั ดุท่จี ะขายทอดตลาด ท้ังน้ตี ามมาตรา 56 (2) (ข) (ง) หรอื (ฉ)
3. กรณีท่ีเป็นงานจ้างที่ปรึกษาที่มีวงเงินค่าจ้างตามที่กำหนดในกฎกระทรวงหรือที่มี ความจำเป็น
เรง่ ด่วนหรอื ที่เกี่ยวกับความมนั่ คงของชาตทิ ั้งน้ตี ามมาตรา 70 (3) (ข) หรอื (ฉ)

18

คูม่ อื การบริหารงบประมาณ

4. กรณที ี่เปน็ งานจา้ งออกแบบหรือควบคมุ งานก่อสร้างที่มีความจำเป็นเรง่ ดว่ นหรอื ทเ่ี กยี่ วกับความ
มน่ั คงของชาตติ ามมาตรา 82 (3)

มาตรา 18 ข้อตกลงคุณธรรมตามโครงการความร่วมมือปอ้ งกันการทุจรติ ในการจัดซอ้ื จดั จ้างภาครฐั
ใหจ้ ัดทำเป็นข้อตกลงรว่ มกนั ระหว่างหน่วยงานของรฐั เจ้าของโครงการและ ผปู้ ระกอบการที่จะเขา้ ย่ืนข้อเสนอ
โดยฝ่ายหน่วยงานของรัฐเจ้าของโครงการและฝ่ายผู้ประกอบการ ที่จะเข้ายื่นข้อเสนอต้องตกลงกันว่าจะไม่
กระทำการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง และให้มีผูส้ ังเกตการณซ์ ึ่งมีความรู้ ความเชี่ยวชาญหรือประสบการณ์ ท่ี
จำเป็นต่อโครงการจัดซื้อจัดจ้างนั้น ๆ เข้าร่วมสังเกตการณ์ในการจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่ขั้นตอนการจัดทำร่าง
ขอบเขตของงานหรือรายละเอียด ของพัสดุที่จะทำการจัดซื้อจัดจ้างและร่างเอกสารเชิญชวนจนถึงขั้นตอน
สน้ิ สุดโครงการ

โดยผูส้ งั เกตการณ์ต้องมีความเป็นกลางและไม่เป็นผู้มสี ว่ นไดเ้ สียในโครงการการจัดซือ้ จัดจ้างน้ัน แล้ว
ให้รายงานความเหน็ พร้อมข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการ ค.ป.ท. ทราบดว้ ย

มาตรา 46 ให้กรมบัญชีกลางมีหน้าที่ในการดูแลและพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ และการประกาศเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างในระบบเครือข่ายสารสนเทศของ
กรมบัญชีกลาง เพอื่ ให้สาธารณชนสามารถเข้าตรวจดูได้

หมวด 6 การจัดซ้อื จดั จา้ ง
มาตรา 54 บทบัญญัติในหมวดน้ีให้ใชบ้ ังคับกับการจัดซือ้ จัดจา้ งพสั ดุ ยกเว้น งานจ้างทีป่ รึกษา และ

งานจา้ งออกแบบหรอื ควบคุมงานก่อสร้าง
มาตรา 55 การจัดซ้อื จัดจ้างพสั ดุอาจกระทำไดโ้ ดยวิธดี งั ตอ่ ไปน้ี
1. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป ไดแ้ ก่ การที่หน่วยงานของรัฐเชญิ ชวนผู้ประกอบการทั่วไปที่มีคุณสมบัติ

ตรงตามเงือ่ นไขที่หนว่ ยงานของรฐั กำหนดให้เข้ายนื่ ขอ้ เสนอ
2. วิธีคัดเลือก ได้แก่ การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติ ตรงตาม

เงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสามรายให้เข้ายื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงานนั้น มี
ผู้ประกอบการท่ีมคี ุณสมบตั ิตรงตามทก่ี ำหนดนอ้ ยกว่าสามราย

3. วิธีเฉพาะเจาะจง ได้แก่ การที่หน่วยงานของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติ ตรงตาม
เงื่อนไขที่หน่วยงานของรัฐกำหนดรายใดรายหนึ่งให้เข้ายื่นข้อเสนอ หรือให้เข้ามาเจรจาต่อรองราคา รวมทั้ง
การจัดซ้อื จัดจ้างพสั ดุกบั ผู้ประกอบการโดยตรงในวงเงนิ เลก็ นอ้ ยตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ที่ออกตามความ
ในมาตรา 96 วรรคสอง

มาตรา 56 การจัดซื้อจัดจา้ งพัสดุ ให้หน่วยงานของรัฐเลอื กใช้วิธีประกาศเชญิ ชวนท่ัวไปก่อน เว้นแต่
(1) กรณดี ังต่อไปนี้ ใหใ้ ช้วิธคี ัดเลอื ก
1. ใช้วิธปี ระกาศเชิญชวนทว่ั ไปแลว้ แต่ไม่มผี ู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนั้นไมไ่ ดร้ ับ การคัดเลือก
2. พัสดทุ ่ีต้องการจดั ซ้ือจดั จ้างมีคุณลกั ษณะเฉพาะเปน็ พเิ ศษหรอื ซับซอ้ นหรือต้องผลติ จำหน่าย

19

ค่มู อื การบริหารงบประมาณ

ก่อสร้าง หรือให้บริการโดยผู้ประกอบการที่มีฝีมือโดยเฉพาะ หรือมีความชำนาญเป็นพิเศษ หรือมีทักษะสูง
และผปู้ ระกอบการนั้นมีจำนวนจำกดั

3. มคี วามจำเป็นเรง่ ด่วนทีต่ ้องใช้พัสดุน้ันอันเนื่องมาจากเกดิ เหตกุ ารณ์ทไ่ี ม่อาจคาดหมาย ได้ซึ่งหาก
ใชว้ ิธปี ระกาศเชิญชวนทว่ั ไปจะทำใหไ้ มท่ นั ต่อความต้องการใชพ้ ัสดุ

4. เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งาน หรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการ
เฉพาะ

5. เปน็ พัสดทุ จี่ ำเปน็ ตอ้ งซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ หรอื ดำเนนิ การโดยผา่ นองคก์ าร ระหวา่ งประเทศ
6. เป็นพัสดุที่ใช้ในราชการลับ หรือเป็นงานที่ต้องปกปิดเป็นความลับของหน่วยงานของรัฐ หรือที่
เกยี่ วกบั ความม่นั คงของประเทศ
7. เป็นงานจา้ งซ่อมพัสดุที่จำเป็นตอ้ งถอดตรวจ ให้ทราบความชำรุดเสียหายเสียก่อน จึงจะประมาณ
คา่ ซ่อมได้ เช่น งานจ้างซ่อมเครอ่ื งจักร เครื่องมอื กล เครอ่ื งยนต์ เคร่อื งไฟฟา้ หรือเคร่อื งอิเล็กทรอนิกส์
8. กรณอี ่ืนตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง
(2) กรณดี ังตอ่ ไปน้ใี หใ้ ชว้ ธิ เี ฉพาะเจาะจง
1. ใช้ทั้งวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปและวิธีคัดเลือก หรือใช้วิธีคัดเลือกแล้วแต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือ
ข้อเสนอนั้นไมไ่ ด้รับการคัดเลือก
2. การจดั ซอื้ จัดจา้ งพัสดทุ ม่ี กี ารผลิต จำหน่าย กอ่ สรา้ ง หรอื ให้บริการทวั่ ไป และมวี งเงนิ ในการจัดซ้ือ
จดั จา้ งครั้งหนึ่งไม่เกนิ วงเงินตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง (ไม่เกิน 500,000 บาท)
3. การจดั ซื้อจดั จ้างพัสดทุ ่ีมผี ู้ประกอบการซง่ึ มคี ุณสมบัติโดยตรงเพียงรายเดยี ว หรอื การจัดซ้ือจัดจ้าง
พัสดุจากผปู้ ระกอบการซ่ึงเปน็ ตวั แทนจำหนา่ ยหรือตวั แทนผ้ใู หบ้ รกิ ารโดยชอบ ด้วยกฎหมายเพยี งรายเดียวใน
ประเทศไทยและไม่มพี ัสดอุ ่นื ทจ่ี ะใชท้ ดแทนได้
4. มีความจำเปน็ ตอ้ งใช้พสั ดุนน้ั โดยฉุกเฉิน เนือ่ งจากเกิดอบุ ัตภิ ัยหรือภัยธรรมชาติ หรอื เกิดโรคติดต่อ
อนั ตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคตดิ ตอ่ และการจดั ซื้อจัดจ้างโดยวิธีประกาศเชญิ ชวนทว่ั ไปหรอื วธิ ีคดั เลือกอาจ
กอ่ ใหเ้ กดิ ความล่าช้าและอาจทำใหเ้ กิดความเสียหายอย่างร้ายแรง
5. พสั ดุทจ่ี ะทำการจัดซื้อจัดจ้างเป็นพสั ดุท่เี กี่ยวพนั กบั พสั ดุทไี่ ดท้ ำการจดั ซอ้ื จัดจ้างไวก้ อ่ นแล้ว และมี
ความจำเป็นต้องทำการจัดซื้อจัดจ้างเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์หรือต่อเนื่องในการใช้พัสดุน้ันโดยมูลค่าของ
พสั ดุที่ทำการจดั ซ้ือจัดจา้ งเพิม่ เตมิ จะตอ้ งไม่สูงกวา่ พสั ดุที่ได้ทำการจดั ซอ้ื จดั จ้างไว้ก่อนแล้ว
6. เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยหน่วยงานของรัฐ องค์การระหว่างประเทศ หรือหน่วยงานของ
ตา่ งประเทศ
7. เปน็ พัสดุท่ีเปน็ ที่ดนิ หรือส่ิงปลูกสร้างซง่ึ จำเปน็ ต้องซื้อเฉพาะแห่ง
8. กรณอี ืน่ ตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง

หมวด 7 งานจา้ งทีป่ รึกษา

20

ค่มู อื การบริหารงบประมาณ

มาตรา 69 งานจา้ งท่ีปรึกษาอาจกระทำไดโ้ ดยวธิ ีดังตอ่ ไปน้ี
1 วธิ ปี ระกาศเชิญชวนทั่วไป
2 วธิ ีคัดเลือก
3 วิธีเฉพาะเจาะจง

หมวด 8 งานจา้ งออกแบบหรือควบคุมงานก่อสรา้ ง
มาตรา 79 งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างอำจกระทำไดโ้ ดยวิธีดงั ต่อไปน้ี
1. วิธปี ระกาศเชิญชวนท่วั ไป
2. วธิ คี ดั เลอื ก
3. วธิ เี ฉพาะเจาะจง
4. วิธปี ระกวดแบบ

หมวด 13 การบรหิ ารพัสดุ
มาตรา 112 ให้หน่วยงานของรัฐจัดใหม้ กี ารควบคุมและดูแลพสั ดุที่อยูใ่ นความครอบครอง ให้มีการ
ใชแ้ ละการบริหารพัสดทุ ่ีเหมาะสม คมุ้ ค่า และเกดิ ประโยชนต์ ่อหนว่ ยงานของรฐั มากท่ีสดุ
มาตรา 113 การดำเนนิ การตามมาตรา 112 ซงึ่ รวมถงึ การเกบ็ การบนั ทึก การเบิกจ่าย การยมื การ
ตรวจสอบ การบำรงุ รกั ษา และการจำหน่ายพัสดใุ ห้เปน็ ไปตามระเบยี บที่รัฐมนตรีกำหนด

หมวด 15 บทกำหนดโทษ
มาตรา 120 ผูใ้ ดเป็นเจ้าหน้าท่ีหรือเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนนิ การเกี่ยวกับการจัดซ้ือ จัดจ้าง
หรือการบริหารพัสดุ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ ตาม
พระราชบัญญตั นิ ้ี กฎกระทรวง ระเบียบ หรอื ประกาศที่ออกตามความในพระราชบญั ญัตินโ้ี ดยมชิ อบ

ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการจดั ซื้อจดั จ้างและการบรหิ าร พัสดภุ าครฐั พ.ศ.2560
หมวด 1 ขอ้ ความท่วั ไป
ข้อ 4 ในระเบยี บนี้
“หวั หน้าเจา้ หน้าที”่ หมายความว่า ผ้ดู ำรงตำแหน่งหวั หน้าสายงานซึ่งปฏิบตั ิงานเกย่ี วกับการจัดซอ้ื จัด

จา้ งหรอื การบรหิ ารพสั ดตุ ามที่กฎหมายเกย่ี วกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของ หนว่ ยงานของรัฐน้ันกำหนด หรอื ผู้ที่
ไดร้ บั มอบหมายจากหัวหนา้ หน่วยงานของรัฐใหเ้ ปน็ หวั หน้าเจ้าหนา้ ที่

“ผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน” หมายความว่า บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลที่เข้าเสนอราคา หรือเข้าย่ืน
ข้อเสนอในการจัดซอ้ื จัดจา้ งตอ่ หน่วยงานของรัฐใด เปน็ ผมู้ ีส่วนได้เสียไมว่ ่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมในกิจการ
ของบุคคลธรรมดาหรอื นิตบิ ุคคลอ่ืนที่เข้าเสนอราคาหรือเข้ายืน่ ขอ้ เสนอตอ่ หน่วยงานของรฐั นั้นในคราวเดียวกัน
การมีสว่ นไดเ้ สียไมว่ ่าโดยทางตรงหรือทางออ้ ม ดังตอ่ ไปน้ี

21

คมู่ อื การบรหิ ารงบประมาณ

1. มคี วามสมั พนั ธก์ ันในเชงิ บริหาร โดยผจู้ ดั การ ห้นุ ส่วนผ้จู ดั การ กรรมการ ผ้จู ดั การ ผู้บริหาร หรือผู้
มีอำนาจในการดำเนินงานในกิจการของบุคคลธรรมดาหรือของนิติบุคคลรายหนึ่งมีอำนาจหรือสามารถใช้
อำนาจในการบริหารจัดการกิจการของบุคคลธรรมดา หรือของนิตบิ ุคคลอีกรายหน่งึ หรือหลายราย ทเี่ ข้าเสนอ
ราคาหรือเข้าย่นื ขอ้ เสนอต่อหน่วยงานของรฐั น้นั ในคราวเดยี วกัน

2. มีความสัมพันธ์กันในเชิงทุน โดยผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือผู้เป็น หุ้นส่วนไม่จำกัด
ความรบั ผดิ ในห้างหุ้นส่วนจำกัด หรอื ผถู้ ือหุน้ รายใหญใ่ นบริษัทจำกดั หรือบริษทั มหาชน จำกัด เป็นหุ้นส่วนใน
หา้ งหุ้นสว่ นสามญั หรือห้างหนุ้ ส่วนจำกัด หรือเปน็ ผู้ถือห้นุ รายใหญ่ ในบรษิ ัทจำกดั

หรอื บรษิ ทั มหาชนจำกัดอีกรายหนง่ึ หรือหลายราย ท่ีเขา้ เสนอราคาหรอื เข้ายน่ื ข้อเสนอต่อ หน่วยงาน
ของรัฐน้ันในคราวเดียวกัน

คำวา่ “ผู้ถอื หนุ้ รายใหญ่” ใหห้ มายความว่า ผถู้ ือหนุ้ ซง่ึ ถอื หุ้นเกินกว่ารอ้ ยละย่ีสิบห้าในกิจการน้ันหรือ
ในอัตราอื่นตามที่ผู้รักษาการตามระเบียบเห็นสมควรประกาศกำหนด สำหรับกิจการบางประเภทหรือบาง
ขนาด

3. มีความสมั พนั ธก์ ันในลักษณะไขว้กนั ระหว่าง (1) และ (2) โดยผู้จัดการ ห้นุ สว่ นผูจ้ ดั การ กรรมการ
ผจู้ ัดการ ผูบ้ ริหาร หรอื ผู้มีอำนาจในการดำเนินงานในกิจการของบุคคลธรรมดาหรือของนติ ิบคุ คลรายหน่ึงเป็น
หุ้นส่วนในห้างห้นุ สว่ นสามัญหรือห้างหุน้ สว่ น จำกดั หรอื เป็นผู้ถอื หนุ้ รายใหญใ่ นบริษัทจำกดั หรอื บริษทั มหาชน
จำกัดอีกรายหนึ่งหรือหลายราย ที่เข้าเสนอราคาหรือเข้ายื่นข้อเสนอตอ่ หน่วยงานของรัฐนั้นในคราวเดียวกัน
หรอื ในนัยกลบั กัน

“การขัดขวางการแข่งขันอย่างเป็นธรรม” หมายความว่า การที่ผู้ย่ืนข้อเสนอรายหน่ึงหรอื หลายราย
กระทำการอย่างใด ๆ อันเปน็ การขดั ขวาง หรอื เป็นอปุ สรรค หรอื ไมเ่ ปดิ โอกาสใหม้ ี การแข่งขันอย่างเป็นธรรม
ในการเสนอราคาหรือยื่นขอ้ เสนอต่อหน่วยงานของรฐั ไมว่ ่าจะกระทำโดยการสมยอมกันหรือโดยการให้ ขอให้
หรือรบั วา่ จะให้ เรียก รบั หรือยอมจะรบั เงนิ หรอื ทรพั ย์สนิ หรอื ประโยชน์อืน่ ใดหรือใชก้ ำลงั ประทุษร้าย หรือ
ข่มขู่ว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย หรือ แสดงเอกสารอันเป็นเท็จ หรือส่อว่ากระทำการทุจริตอื่นใดในการเสนอ
ราคา ท้งั น้ี โดยมีวัตถปุ ระสงค์ท่จี ะแสวงหาประโยชนใ์ นระหวา่ งผู้ย่นื ขอ้ เสนอด้วยกนั หรือเพอ่ื ให้ประโยชน์แก่ผู้
ยืน่ ขอ้ เสนอรายหนึง่ รายใดเปน็ ผู้มีสิทธิทำสญั ญากับหน่วยงานของรัฐนั้น หรอื เพ่อื หลีกเล่ียงการ แข่งขันอย่าง
เปน็ ธรรม หรอื เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความได้เปรียบหน่วยงานของรัฐโดยมใิ ช่เป็นไปในทางการ ประกอบธุรกจิ ปกติ

สว่ นท่ี 5 การจัดทำแผนการจัดซ้อื จัดจา้ ง
แผนการจัดซือ้ จดั จ้างประจำปใี ห้ประกอบดว้ ยรายการอยา่ งน้อย ดังต่อไปนี้
1. ชื่อโครงการทจี่ ะจดั ซื้อจัดจ้าง
2. วงเงินทจี่ ะจดั ซอ้ื จัดจ้างโดยประมาณ
3. ระยะเวลาที่คาดวา่ จะจดั ซอื้ จดั จ้าง
4. รายการอื่นตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด เมื่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐให้ความเห็นชอบแผนการ
จดั ซ้อื จัดจ้างประจำปแี ล้ว ใหห้ ัวหน้าเจา้ หน้าทป่ี ระกาศเผยแพรแ่ ผนดังกล่าวในระบบเครือข่ายสารสนเทศของ

22

คมู่ ือการบริหารงบประมาณ

กรมบญั ชีกลางและของหน่วยงานของรฐั ตามวธิ ีการทกี่ รมบญั ชีกลางกำหนด และใหป้ ิดประกาศโดยเปิดเผย ณ
สถานท่ปี ดิ ประกาศของหน่วยงานของรฐั นนั้ เว้นแตก่ รณีทีบ่ ัญญตั ิไว้ ตามความในมาตรา 11 วรรคหน่ึง

คณะกรรมการซ้อื หรือจ้าง ข้อ 25 ในการดำเนินการซอ้ื หรอื จา้ งแต่ละคร้ัง ให้หวั หน้าหน่วยงานของรัฐ
แต่งตง้ั คณะกรรมการซอื้ หรอื จ้างขึน้ เพือ่ ปฏิบตั กิ ารตามระเบียบน้ี พร้อมกบั กำหนดระยะเวลาในการพิจารณา
ของคณะกรรมการ แลว้ แตก่ รณี คือ

1. คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
2. คณะกรรมการพจิ ารณาผลการสอบราคา
3. คณะกรรมการซื้อหรือจา้ งโดยวธิ คี ัดเลอื ก
4. คณะกรรมการซอ้ื หรือจา้ งโดยวิธเี ฉพาะเจาะจง
5. คณะกรรมกำรตรวจรบั พสั ดุ ขอ้ 26 คณะกรรมการซ้อื หรือจา้ งตามขอ้ 25 แตล่ ะคณะประกอบดว้ ย
ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอย่างน้อย 2 คน ซึ่งแต่งตั้งจากข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงาน
ราชการ พนกั งานมหาวิทยาลัย พนกั งานของรัฐ หรือพนักงานของหนว่ ยงานของรัฐทเ่ี รียกช่ืออยา่ งอ่ืน โดยให้
คำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์
ของหน่วยงานของรัฐจะแต่งตั้งบุคคลอื่นร่วมเป็นกรรมการ ด้วยก็ได้แต่จำนวนกรรมการที่เป็นบุคคลอื่นนั้น
จะต้องไม่มากกว่าจำนวนกรรมการตามวรรคหนึ่ง ในการซือ้ หรอื จ้างคร้งั เดียวกัน ห้ามแต่งตัง้ ผู้ท่ีเป็นกรรมการ
พิจารณาผลการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ กรรมการพิจารณาผลการสอบราคา หรือกรรมการซื้อหรือจ้าง
โดยวิธีคดั เลือก เป็นกรรมการตรวจรบั พสั ดุ มตขิ องคณะกรรมการใหถ้ ือเสยี งข้างมาก ถ้าคะแนนเสยี งเท่ากันให้
ประธานกรรมการออกเสียง เพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชีข้ าด เว้นแต่คณะกรรมการตรวจรับพัสดุใหถ้ ือมติ
เอกฉนั ท์
วธิ ีการซือ้ หรือจา้ ง
ข้อ 28 การซอ้ื หรือจา้ ง กระทำได้ 3 วธิ ี ดังน้ี
1. วิธปี ระกาศเชญิ ชวนทัว่ ไป
2. วิธีคดั เลอื ก
3. วิธีเฉพาะเจาะจง
วธิ ีประกาศเชิญชวนทวั่ ไป ขอ้ 29 การซื้อหรือจา้ งโดยวธิ ีประกาศเชญิ ชวนทัว่ ไป กระทำได้ 3 วิธี ดังนี้
1. วธิ ตี ลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e - market)
การซ้ือหรือจา้ งที่มรี ายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุท่ีไม่ซับซ้อนหรือเปน็ สนิ คา้ หรอื งานบริการ
ท่ีมีมาตรฐาน และได้กำหนดไวใ้ นระบบข้อมูลสนิ คา้ (e - catalog)

(1) การเสนอราคาโดยใบเสนอราคา คือ การซอื้ หรอื จา้ งครั้งหนง่ึ ซ่งึ มีวงเงินเกนิ ๕๐๐,๐๐๐
บาท แตไ่ ม่เกิน 5,000,000 บาท
(2) การเสนอราคาโดยการประมูลอิเลก็ ทรอนกิ ส์คือ การซือ้ หรือจ้างครง้ั หนึ่ง ซ่ึงมีวงเงินเกิน
5,000,000 บาท

23

คู่มอื การบรหิ ารงบประมาณ

2. วธิ ปี ระกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-bidding)
การซื้อหรือจา้ งครั้งหน่ึงซึ่งมีวงเงนิ เกิน 500,000 บาท และเป็นสินค้าหรืองาน บริการทีไ่ ม่ได้กำหนด
รายละเอยี ดคุณลักษณะเฉพาะของพสั ดุไว้ในระบบขอ้ มูลสินค้า (e - catalog)
3. วธิ สี อบราคา
วิธีสอบราคา คือ การซื้อหรอื จ้างคร้ังหนึ่ง ซึ่งมีวงเงินเกิน 500,000 บาท แต่ไม่เกนิ 5,000,000 บาท
ให้กระทำไดใ้ นกรณที ่ีหน่วยงานของรฐั นนั้ ตั้งอยูใ่ นพื้นที่ทมี่ ขี อ้ จำกดั ในการใช้สญั ญาณอนิ เตอร์เน็ต
อำนาจในการส่ังซ้อื หรือส่งั จ้าง
ข้อ 84 การสั่งซื้อหรือสั่งจ้างโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปครั้งหนึ่ง ให้เป็นอำนาจ ของผู้ดำารง
ตำแหนง่ และภายในวงเงิน ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. หัวหนา้ หน่วยงานของรฐั ไม่เกิน 200,000,000 บาท
2. ผูม้ อี ำนาจเหนอื ขนึ้ ไปหนึ่งชัน้ เกิน 200,000,000 บาท ข้อ 95 การสงั่ ซอื้ หรือสง่ั จ้างโดยวิธีคัดเลือก
คร้งั หนึง่ ให้เป็นอำนาจของผดู้ ำรงตำแหนง่ และภายในวงเงนิ ดงั ต่อไปนี้

(1) หัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั ไมเ่ กิน 100,000,000 บาท
(2) ผมู้ อี ำนาจเหนอื ขนึ้ ไปหนึง่ ชัน้ เกนิ 100,000,000 บาท
การสงั่ ซ้อื หรือสง่ั จ้างโดยวิธเี ฉพาะเจาะจงครง้ั หนง่ึ ใหเ้ ป็นอำนาจของผดู้ ำรงตำแหน่ง และภายในวงเงิน
ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) หัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐ ไมเ่ กนิ 50,000,000 บาท
(2) ผมู้ อี ำนาจเหนอื ข้ึนไปหนึ่งชนั้ เกิน 50,000,000 บาท

อำนาจในการสงั่ จา้ งงานจา้ งทปี่ รกึ ษา
ข้อ 127 การสั่งจ้างงานจ้างที่ปรึกษาครั้งหนึ่ง ให้เป็นอำนาจของผู้ดำรงตำแหน่งและภายใน วงเงิน

ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. หวั หนา้ หน่วยงานของรฐั ไม่เกนิ 100,000,000 บาท
2. ผ้มู อี ำนาจเหนือข้นึ ไปหนง่ึ ชัน้ เกิน 100,000,000 บาท

อำนาจในการสัง่ จา้ งงานจา้ งออกแบบหรอื ควบคมุ งานก่อสรา้ ง
ข้อ 158 การสั่งจ้างงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้างครั้งหนึ่ง ให้เป็นอำนาจของ ผู้ดำรง

ตำแหนง่ และภายในวงเงิน ดังตอ่ ไปนี้
1. หวั หน้าหน่วยงานของรัฐ ไม่เกนิ 50,000,000 บาท
2. ผูม้ ีอำนาจเหนือขน้ึ ไปหนง่ึ ช้นั เกนิ 50,000,000 บาท

คา่ ปรับ
การทำสัญญาเปน็ หนังสอื ตอ้ งมกี ารกำหนดค่าปรับรายวนั ในอัตราตายตวั ดงั นี้

24

คูม่ อื การบริหารงบประมาณ

1. ปรับรายวนั ร้อยละ 0.01 – 0.20 ของราคาพสั ดุท่ยี งั ไม่ไดร้ ับมอบ
2. ปรบั รายวันรอ้ ยละ 0.01 – 0.10 ของราคางานจา้ ง ไม่ต่ำกวา่ วันละ 100 บาท
3. สาธารณปู โภคทีม่ ีผลตอ่ การจราจร ปรบั รอ้ ยละ 0.25 ของราคางานจ้าง

หลักประกนั สญั ญา
*เงนิ ประกนั สญั ญา ให้กำหนดมลู คา่ เปน็ จำนวนเต็ม ในอัตราร้อยละห้า (5 %) ของวงเงิน งบประมาณ

หรอื ราคาพัสดทุ ่จี ัดซ้ือจัดจ้างครง้ั นนั้ แลว้ แตก่ รณี เวน้ แต่การจัดซอ้ื จดั จา้ งท่หี วั หน้าหนว่ ยงานของรฐั เห็นวา่ มี

ความสำคัญเปน็ พิเศษ จะกำหนดอัตราสูงกว่ารอ้ ยละหา้ แต่ไมเ่ กนิ รอ้ ยละสิบก็ได้ใช้ หลักประกนั อยา่ งหนง่ึ อย่าง
ใด ดังนี้

1. เงินสด
2. เช็คท่ีธนาคารส่งั จ่าย ลงวันทท่ี ีใ่ ช้เช็ค/กอ่ นวันนั้น ไม่เกิน 3 วันทำการ
3. หนังสือค้ำประกันของธนาคารภายในประเทศตามที่คณะกรรมการนโยบายกำหนด กำหนดโดยอาจ
เป็นหนังสือค้ำประกนั อิเล็กทรอนิกสต์ ามวธิ ีการทีก่ รมบญั ชกี ลางกำหนดก็ได้
4. พันธบัตรรฐั บาลไทย
5. หนงั สอื ค้ำประกันของบริษทั เงนิ ทนุ หรอื บรษิ ทั เงินทนุ หลักทรัพย์

➢ เงินประกนั สัญญา จะต้องนำเงินฝากสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา
➢ สถานศกึ ษาตอ้ งจา่ ยคนื อย่างช้าไมเ่ กนิ 15 วนั นับแตว่ ันที่พน้ สญั ญา
➢ หากไมป่ ระสงคร์ บั คืน ให้เปน็ เงนิ รายไดส้ ถานศึกษา

การตรวจรบั พัสดุในงานซ้ือหรืองานจ้าง
ข้อ 175 คณะกรรมการตรวจรบั พัสดใุ นงานซอ้ื หรืองานจา้ ง มีหน้าทด่ี งั นี้
1. ตรวจรับพัสดุ ณ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุนั้น หรือสถานที่ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญาหรือข้อตกลง การ
ตรวจรบั พสั ดุ ณ สถานที่อื่น ในกรณที ีไ่ มม่ ีสัญญาหรอื ขอ้ ตกลง จะต้องไดร้ ับอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงาน ของ
รัฐกอ่ น
2. ตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้ สำหรับกรณีที่มีการทดลองหรือ
ตรวจสอบในทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์ จะเชิญผู้ชำนาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับพัสดุนั้น มาให้
คำปรกึ ษา หรอื สง่ พสั ดุนั้นไปทดลองหรือตรวจสอบ ณ สถานท่ีของผชู้ ำนาญการหรือผทู้ รงคุณวุฒิน้นั ๆ กไ็ ด้ใน
กรณีจำเป็นทไี่ มส่ ามารถตรวจนับเปน็ จำนวนหนว่ ยทัง้ หมดได้ ใหต้ รวจรับตามหลกั วิชาการสถิติ
3. ให้ตรวจรับพสั ดใุ นวันทีผ่ ู้ขายหรือผรู้ บั จ้างนำพสั ดมุ าสง่ และใหด้ ำเนินการให้เสรจ็ ส้ินโดยเรว็ ที่สุด (๔
4. เมื่อตรวจถูกต้องครบถ้วนแล้ว ให้รับพัสดุไว้และถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งมอบพัสดุถูกต้อง
ครบถ้วนตง้ั แตว่ นั ทผ่ี ้ขู ายหรือผรู้ บั จา้ งนำพสั ดนุ น้ั มาส่ง แลว้ มอบแกเ่ จา้ หน้าทพี่ ร้อมกบั ทำใบตรวจรบั โดยลงชื่อ

25

คู่มือการบรหิ ารงบประมาณ

ไว้เป็นหลักฐานอย่างนอ้ ย 2 ฉบับ มอบแก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง 1 ฉบับ และเจ้าหน้าที่ 1 ฉบับ เพื่อดำเนินการ
เบกิ จ่ายเงนิ ตามระเบยี บของหน่วยงานของรัฐและรายงานใหห้ ัวหน้าหน่วยงานของรฐั ทราบ

5. ในกรณีที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่งมอบพัสดุถูกต้องแต่ไม่ครบจำนวน หรือส่งมอบครบจำนวน แต่ไม่
ถูกตอ้ งทง้ั หมด ถา้ สญั ญาหรือข้อตกลงมิได้กำหนดไว้เปน็ อย่างอ่นื ใหต้ รวจรบั ไว้เฉพาะจำนวน ท่ีถูกต้อง โดยถือ
ปฏิบัติตาม (4) และให้รีบรายงานหวั หนา้ หนว่ ยงานของรฐั ผา่ นหัวหนา้ เจ้าหน้าท่ี เพ่อื แจง้ ให้ผ้ขู ายหรือผู้รับจ้าง
ทราบภายใน 3 วันทำการ นับถัดจากวันตรวจพบ แต่ทั้งนี้ไม่ตัดสิทธิ์ หน่วยงานของรัฐที่จะปรับผู้ขายหรือผู้
รับจา้ งในจำนวนที่ส่งมอบไมค่ รบถว้ นหรือไม่ถูกตอ้ งนั้น

6. การตรวจรับพัสดุทป่ี ระกอบกนั เป็นชดุ หรือหนว่ ย ถ้าขาดสว่ นประกอบอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ไปแล้วจะ
ไมส่ ามารถใช้การไดโ้ ดยสมบูรณ์ ใหถ้ อื ว่าผู้ขายหรอื ผูร้ บั จ้างยงั มิได้ส่งมอบพัสดุน้ัน และโดยปกติ ให้รบี รายงาน
หวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั เพือ่ แจง้ ให้ผูข้ ายหรอื ผรู้ บั จ้างทราบภายใน 3 วนั ทำการ นับถดั จากวนั ทีต่ รวจพบ

7 ถ้ากรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับพัสดุโดยทำความเห็นแย้งไว้ให้เสนอหัวหน้า หน่วยงาน
ของรฐั เพ่ือพิจารณาส่งั การ ถ้าหวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั สงั่ การใหร้ ับพัสดุน้นั ไว้ จงึ ดำเนนิ การ ตาม (4) หรือ (5)
แลว้ แตก่ รณี

การตรวจพัสดุประจำปี
การตรวจพัสดปุ ระจำปี
1. ภายในเดือนสุดท้ายกอ่ นสิ้นปีงบประมาณ (เดือนกันยายน) ของทุกปี ให้หัวหน้าส่วนราชการหรอื

หวั หนา้ หน่วยงานหรอื หัวหน้าหน่วยพสั ดแุ ต่งต้ังเจา้ หน้าที่ในหน่วยงานน้ันที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ (พัสด)ุ คนหนึ่งหรือ
หลายคน

2. ตรวจสอบการรับ - จ่ายพัสดุ งวดตง้ั แต่วันที่ 1 ตุลาคม ปีก่อน ถึง 30 กันยายน ปปี จั จบุ นั
3. เริม่ ในวนั เปดิ ทำการวันแรกของเดือนตลุ าคม ใหเ้ สร็จภายใน 30 วนั ทำการ

การจำหน่ายพัสดุ
การจำหน่าย มี 4 วธิ ี
1. การขาย ใหข้ ายทอดตลาดกอ่ น
- ราคาไม่เกิน 500,000 บาท จะขายโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากันโดยไม่
ตอ้ งทอดตลาดก่อนก็ได้
- ขายใหส้ ว่ นราชการ ราชการทอ้ งถน่ิ รัฐวสิ าหกิจ ให้ตกลงราคา
2. การแลกเปลยี่ น
3 การโอน
4. แปรสภาพหรอื ทำลาย
**ปกตจิ ำหน่ายให้ดำเนนิ การภายใน 60 วนั นบั แตห่ วั หนา้ ส่วนราชการสัง่ การ

26

ค่มู อื การบริหารงบประมาณ
การจำหน่ายเป็นสญู

ข้อ 217 ในกรณีท่พี สั ดสุ ญู ไปโดยไมป่ รากฏตวั ผรู้ ับผิดหรือมีตวั ผู้รับผิดแตไ่ ม่สามารถชดใชไ้ ด้ หรือมีตัว
พสั ดอุ ยแู่ ต่ไม่สมควรดำเนนิ การตามขอ้ 215 ใหจ้ ำหนา่ ยพัสดนุ ัน้ เป็นสูญ ตามหลักเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. ถ้าพสั ดนุ ้ันมรี าคาซ้ือ หรือได้มารวมกนั ไม่เกนิ 1,000,000 บาท ใหห้ ัวหน้าหน่วยงาน ของรัฐเป็นผู้
พจิ ารณาอนุมตั ิ

2. ถา้ พสั ดนุ ัน้ มีราคาซ้อื หรือได้มารวมกันเกนิ 1,000,000 บาท ใหด้ ำเนินการดงั นี้
(ก) ราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค ให้อยู่ในอำนาจของ กระทรวงการคลังเป็น

ผ้อู นมุ ัติ
(ข) ราชการสว่ นทอ้ งถิน่ ใหอ้ ยูใ่ นอำนาจของผวู้ ่าราชการจังหวดั ผู้ว่าราชการกรงุ เทพมหานคร

หรือนายกเมืองพัทยา แลว้ แตก่ รณี เปน็ ผ้อู นุมตั ิ
(ค) หน่วยงานของรัฐอื่น ผู้ใดจะเป็นผู้มีอำนาจอนุมัติให้เป็นไปตามที่หน่วยงานของรัฐ นั้น

กำหนด
บทกำหนดโทษ

มาตรา 120 ผู้ใดเป็นเจ้าหน้าที่หรือเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการเก่ียวกับการจัดซ้ือจดั จ้าง
หรือการบริหารพัสดุ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุตาม
พระราชบัญญตั ินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตามความในพระราชบัญญัตินี้โดยมิชอบ เพื่อให้
เกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ในการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหาร
พสั ดตุ ามพระราชบญั ญัตนิ ้ี กฎกระทรวง ระเบยี บ หรอื ประกาศทอ่ี อกตามความในพระราชบญั ญตั นิ โี้ ดย ทุจริต
ต้องระวางโทษจำคกุ ตัง้ แตห่ น่ึงปีถงึ สิบปี หรอื ปรบั ต้งั แต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท หรือท้ังจำ ทั้งปรับ ผู้ใด
เป็นผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนในการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่ง ผู้นั้นต้องระวางโทษตามท่ี กำหนดไว้สำหรับ
ความผดิ ตามวรรคหน่ึง

27

ค่มู ือการบริหารงบประมาณ
28


Click to View FlipBook Version