The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือบริหารงานทั่วไป โรงเรียนบ้านทุ่งยาว สพป.ตรัง เขต 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thungyao.49, 2021-11-07 07:21:27

คู่มือบริหารงานทั่วไป

คู่มือบริหารงานทั่วไป โรงเรียนบ้านทุ่งยาว สพป.ตรัง เขต 1

Keywords: คู่ม,ือ

ค่มู ือการบริหารงานทั่วไป


คมู่ อื การบรหิ ารงานท่ัวไป

คำนำ

คมู่ อื การบริหารงานทัว่ ไปของโรงเรยี นบา้ นทุ่งยาวเล่มน้ี จดั ทำขึ้นเพือ่ เสริมสรา้ งความเข้าใจระหว่างครู
นักปฏิบัติการ บุคลากรในโรงเรียนในการปฏิบัติหน้าที่ให้การบริการและจัดการศึกษาแก่นักเรียนและ
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย คู่มือเล่มนี้จัดทำให้สอดคล้องกับโครงสร้างการบริหารงานใช้เป็นแนวทางการกระจาย
อำนาจสู่สถานศึกษาของ สพฐ. ฝ่ายบริหารทั่วไปได้จัดกรอบงานใหค้ รอบคลุมกับภาระงาน และสอดคล้องกับ
สภาพในการจัดการศึกษา ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาและระบบประกันคุณภาพการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งหวังว่าภาระงานที่จะปฏิบัติจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ตลอดจน
ผูเ้ กีย่ วข้องทกุ ฝ่ายมคี วามพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของกลุ่มบริหารงานทวั่ ไป

คณะผู้จัดทำ
กลมุ่ บรหิ ารงานท่วั ไป
โรงเรยี นบ้านทงุ่ ยาว



ค่มู ือการบริหารงานท่วั ไป

สารบัญ

เรือ่ ง หนา้

คำนำ ข
สารบญั 1
วสิ ัยทัศน์ 1
พนั ธกิจ 1
เปา้ ประสงค์ 1
อตั ลักษณข์ องสถานศึกษา 1
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา 1
กลยุทธ์การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 2
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 2
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในหลวงรัชกาลท่ี 10
การบรหิ ารงานทั่วไป 5
บทบาทหนา้ ท่ีของกลุ่มบริหารงานทว่ั ไป
ขอบข่ายและภารกจิ การดำเนินงานดา้ นการบริหารท่ัวไป 5
6
- การพฒั นาระบบและเครอื ข่ายขอ้ มลู สารสนเทศ 6
- การประสานงานและพัฒนาเครอื ข่ายการศึกษา 6
- การวางแผนการบริหารงานการศกึ ษา 6
- งานวจิ ัยเพื่อพฒั นานโยบายและแผน 6
- การจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาองค์กร 6
7
- การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ัติงาน 7
- งานเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา 7
- การดำเนินงานธรุ การ 7
- การดูแลอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ ม 7
- การจดั ทำสำมะโนผู้เรยี น 8
- การรับนักเรียน 8
- การเสนอความเห็นเกยี่ วกับเร่ืองการจัดต้ัง ยุบ รวมหรอื เลิกสถานศึกษา


คมู่ ือการบริหารงานท่วั ไป

สารบัญ (ต่อ)

เรอ่ื ง หน้า

ขอบข่ายและภารกิจการดำเนินงานดา้ นการบรหิ ารทัว่ ไป (ต่อ) 8
8
- การประสานการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ 8
9
- การระดมทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา 9
9
- การทัศนศกึ ษา 9
9
- งานกจิ การนักเรียน 9
9
- การประชาสมั พันธ์งานการศกึ ษา 10
- การส่งเสริม สนับสนนุ และประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร 11
- งานประสานราชการกบั สว่ นภูมภิ าคและสว่ นท้องถิ่น
- การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน
- การจดั ระบบการควบคุมภายในหนว่ ยงาน
- แนวทางการจัดกจิ กรรมเพ่ือปรับเปลย่ี นพฤติกรรมในการลงโทษนักเรียน
- การพฒั นาการบริหารรปู แบบนติ ิบุคคลดา้ นการบริหารทวั่ ไป
งานสารบญั



ค่มู ือการบริหารงานท่วั ไป

วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ เปา้ ประสงค์ อตั ลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ และกลยทุ ธ์การพัฒนาคณุ ภาพ
การจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา

…………………………………………………………………………………………………………………………………………

วิสยั ทัศน์ (Vision)

“ภายในปกี ารศึกษา 2566 โรงเรยี นบ้านทุ่งยาว จดั การศกึ ษาได้มาตรฐาน มงุ่ เนน้ ให้ผู้เรียนเกิดทักษะ

ในศตวรรษท่ี 21 โดยครมู ืออาชีพ ภายใต้ระบบการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมมาภบิ าล”

พันธกิจ (Mission)
1. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ครอบคลุมหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขน้ั พื้นฐาน พ.ศ.2551 (ปรับปรงุ พ.ศ.2560) โดยให้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษาและตามมาตรฐาน สสวท.
เพ่ือมงุ่ พัฒนาสูห่ ลักสตู รฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum)

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีสมรรถนะตามหลักสูตรที่เน้นทักษะวิชาการ
ทักษะชวี ิตและอาชพี สำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม รักความเปน็ ไทย ดำรงชีวิตตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. ส่งเสริม พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะตรงตามสายงาน มีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาและมีวฒั นธรรมการทำงานทมี่ ุง่ เนน้ ผลสมั ฤทธ์ิอย่างครูมอื อาชพี ด้วยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย

4. บรหิ ารจัดการโรงเรยี นโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน ตามหลกั ธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงโดยการมีส่วนรว่ มจากทกุ ฝ่าย

เป้าประสงค์ (Goals
1. โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐาน สสวท. และเป็น

โรงเรยี นตน้ แบบนำร่องการใชห้ ลักสตู รฐานสมรรถนะ
2. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีทักษะในศตวรรษที่ 21 และมีวิถีชีวิตตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และเปน็ ครูมอื อาชีพ
4. โรงเรียนมรี ะบบการบรหิ ารจัดการท่ีมีคณุ ภาพ มาตรฐานเปน็ ท่ยี อมรับและเช่อื ม่นั ของสังคม

อัตลักษณ์ของสถานศกึ ษา
“แต่งกายดี มรี อยยิ้ม”

เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา
“สง่ เสริมวชิ าการ สืบสานเชดิ สงิ โต วงโยธวาทิตงามเด่น”

กลยทุ ธ์การพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
กลยทุ ธท์ ่ี 1 ด้านการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน

1

คู่มอื การบรหิ ารงานทัว่ ไป

กลยุทธท์ ่ี 2 ดา้ นการเพ่มิ ประสิทธิภาพกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
กลยุทธ์ที่ 3 ด้านการส่งเสรมิ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านทุง่ ยาว (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2564) ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 มงุ่ ให้ผู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปญั หาความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ การเลอื กรบั หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใชว้ ิธีการสื่อสาร ทีม่ ีประสทิ ธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทมี่ ีตอ่ ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพอ่ื การตัดสินใจเกยี่ วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หา และมีการตดั สนิ ใจที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบคุ คล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใชเ้ ทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ และ
มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน
การแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านทุ่งยาว (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๔) ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อน่ื ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ หมายถึง คุณลกั ษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ ธำรงไว้ซึ่งความ
เป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนาและเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือผู้มี

2

คูม่ ือการบริหารงานท่วั ไป

ลกั ษณะซึง่ แสดงออกถึงการเปน็ พลเมอื งที่ดขี องชาติ มคี วามสามัคคปี รองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็นชาตไิ ทย ปฏิบัติตน

ตามหลกั ศาสนาที่ตนนับถอื และแสดงความจงรักภักดีตอ่ สถาบันพระมหากษตั ริย์ .

2. ซ่ือสัตยส์ จุ ริต หมายถงึ คุณลกั ษณะท่ีแสดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกต้อง ประพฤติตรงตามความเป็น

จริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ ผู้ที่มีความซื่อสัตย์ สุจริต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตามความเป็นจริงทั้งกาย

วาจา ใจ และยึดหลกั ความจริง ความถูกต้องในการดำเนินชวี ิต มคี วามละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำผดิ

3. มีวินัย หมายถึงคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และระเบียบข้อบังคับของ

ครอบครัว โรงเรียน และสังคม ผู้มีวินัยคือ ผู้ที่ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว

โรงเรยี น และสงั คมเป็นปกตวิ ิสยั ไมล่ ะเมิดสิทธิของผอู้ ่ืน

4. ใฝ่เรียนรู้ หมายถงึ คุณลกั ษณะที่แสดงออกถงึ ความตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้จาก

แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ คือ ผู้ที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน

และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งงเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ด้วย

การเลอื กใชส้ อ่ื อย่างเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วิเคราะห์ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และ

นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้

5. อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกการดำรงชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ

มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้ดีมีความสุข ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ที่ดำรงชีวิตอย่าง

ประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของ

ทรัพยากรต่าง ๆ มกี ารวางแผนปอ้ งกันความเส่ยี งและพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลง

6. มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความเขา้ ใจและรับผิดชอบในการทำหน้าที่การ

งาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพือ่ ให้งานสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย ผู้ท่มี ุ่งมนั่ ในการทำงานคือ ผู้ท่ีมีลักษณะถึงความ

ตง้ั ใจปฏิบตั ิหนา้ ท่ที ี่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ท่มุ เทกำกังกาย กำลงั ใจ ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ให้

สำเร็จลลุ ว่ งตามเปา้ หมายทก่ี ำหนด ด้วยความรับผดิ ชอบ และมคี วามภาคภมู ิใจในผลงาน

7. รักความเป็นไทย หมายถงึ คณุ ลักษณะทแ่ี สดงออกถึงความภาคภูมใิ จถึงคุณค่า รว่ มอนรุ กั ษ์ สืบทอดภูมิ

ปญั ญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ศลิ ปะและวัฒนธรรมใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ผู้ท่ี

รกั ความเปน็ ไทย คอื ผู้ทีม่ ีความภาคภมู ิใจ เห็นคุณคา่ ช่นื ชม มีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ สบื ทอดเผยแพร่ภูมิปัญญาไทย

ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญกู ตเวที ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง

และเหมาะสม

8. มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือสถานที่ก่อให้เกิด

ประโยชน์แก่ผูอ้ ืน่ ชมุ ชนและสงั คม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวังผลตอบแทน ผู้มีจิตสาธารณะ คือ ผู้ที่มี

ลักษณะเป็นผู้ให้ และช่วยเหลือผู้อื่น แบ่งบันความสุขส่วนตัวเพื่อประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจเห็นใจผู้ที่เดือดร้อน

อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมดว้ ยแรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิดในชุมชน

โดยไมห่ วังสิ่งตอบแทน

3

คมู่ ือการบริหารงานทัว่ ไป

พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา ในหลวงรัชกาลที่ 10
การศึกษาตอ้ งมงุ่ สร้างพ้ืนฐานให้แกผ่ ้เู รยี น 4 ด้าน ดงั น้ี
1. มีทศั นคติที่ถกู ต้องต่อบ้านเมือง
1) ความรูค้ วามเขา้ ใจต่อชาติบา้ นเมือง
2) ยดึ มนั่ ในศาสนา
3) มนั่ คงในสถาบันกษัตริย์
4) มคี วามเอ้อื อาทรต่อครอบครัวและชุมชนของตน
2. มพี ื้นฐานชีวิตท่ีมนั่ คง – มีคณุ ธรรม
1) ร้จู ักแยกแยะส่งิ ทีถ่ กู – ผิด / ดี – ชว่ั
2) ปฏบิ ตั ิแต่สิ่งทช่ี อบ สิง่ ท่ีดีงาม
3) ปฏเิ สธส่ิงท่ผี ดิ /สงิ่ ท่ีช่วั
4) ชว่ ยกนั สรา้ งคนดีใหแ้ กบ่ า้ นเมือง
3. มีงานทำ – มีอาชีพ
1) การเลย้ี งดลู กู หลานในครอบครวั หรือการฝกึ ฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งใหเ้ ดก็ และ
เยาวชนรกั งาน สู้งาน ทำจนงานสำเร็จ
2) การฝกึ ฝนอมรมทัง้ ในหลกั สตู ร และนอกหลักสูตรตอ้ งมีจดุ มงุ่ หมายให้ผเู้ รยี นทำงานเปน็
และมงี านทำในทสี่ ดุ
3) ตอ้ งสนบั สนุนผู้สำเรจ็ หลกั สูตร มีอาชีพ มงี านทำ จนสามารถเล้ียงตนเอง และครอบครวั
4. เป็นพลเมืองที่ดี
1) การเป็นพลเมืองดี เปน็ หน้าที่ของทกุ คน
2) ครอบครัว – สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องส่งเสริมใหท้ ุกคนมโี อกาสทำหนา้ ท่ี
เป็นพลเมืองดี
3) การเป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรทีจ่ ะทำเพอ่ื บ้านเมืองไดก้ ต็ อ้ งทำ” เชน่ งานอาสาสมัคร
งานบำเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศลให้ทำดว้ ยความมีน้ำใจ และความเอื้ออาทร
สถานศึกษาน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียนทั้ง 4 ด้าน ในรูปแบบการบูรณาการทุกสาระ
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ และ
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำ

4

คูม่ อื การบริหารงานทัว่ ไป

งานดา้ นการบรหิ ารท่วั ไป

เป็นภารกจิ หนึง่ ของโรงเรียนในการสนบั สนนุ สง่ เสริมการปฏบิ ัตงิ านของโรงเรยี นใหบ้ รรลตุ ามนโยบาย
และมาตรฐานการศึกษาที่โรงเรียนกำหนดให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เช่น การดำเนินงานธุรการ งาน
เลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน งานพัฒนาระบบและเครือขา่ ยข้อมูลสารสนเทศ การประสาน
และพัฒนาเครือข่ายการศึกษา การจัดระบบการบริหารและพัฒนาองค์กร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ การ
ส่งเสริม สนับสนุนด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากรและบริหารทั่วไป การดูแลอาคารสถานที่และ
สภาพแวดล้อม การจัดทำสำมะโนผู้เรียน การรับนักเรียน การส่งเสริมและประสานงานการศึกษาในระบบ
นอกระบบ และตามอัธยาศัย การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา งานส่งเสริมงานกิจการนักเรียน การ
ประชาสัมพนั ธ์ งานการศกึ ษา การส่งเสริมสนับสนุน และสถาบันสงั คมอน่ื ทจ่ี ดั การศึกษา งานประสานราชการ
กับเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาและหน่วยงานอ่ืน การจดั ระบบการควบคุมในหน่วยงาน งานบริการสาธารณะ

บทบาทและหนา้ ทข่ี องกลุ่มบรหิ ารงานทวั่ ไป
หัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารงานทั่วไป

มีหน้าท่ีรบั ผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปนี้
1. ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีในฐานะหวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารงานท่ัวไปของโรงเรยี น
2. เป็นท่ปี รกึ ษาของผู้อำนวยการโรงเรยี นเกยี่ วกับงานบรหิ ารทัว่ โรงเรยี น
3. กำกับ ตดิ ตาม การดำเนนิ งานของกลุม่ บรหิ ารท่วั ไปใหด้ ำเนินไปดว้ ยความเรียบร้อย และมี
ประสิทธภิ าพ
4. กำหนดหนา้ ทีข่ องบคุ ลากรในกลุม่ บริหารท่วั ไป และควบคุมการปฏิบตั งิ านของกลุ่มงานบริหาร
ทว่ั ไป
5. บริหารจดั การในสายงานตามบทบาทและหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
6. กำกับ ตดิ ตาม ให้งานแผนงานและบรหิ ารทั่วไป ประสานฝา่ ยต่าง ๆ เพอื่ ดำเนนิ กจิ กรรม งาน
โครงการ ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏิบัตกิ ารของโรงเรยี น
7. กำกับ ตดิ ตาม ประสานงานใหม้ ีการรวบรวมข้อมลู สถิติเกย่ี วกบั งานบรหิ ารทว่ั ไปให้เปน็ ปัจจุบัน
เพ่อื นำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา และแกไ้ ขปัญหา
8. ควบคมุ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานและประเมินผลการปฏบิ ัติงานของบคุ ลากรในกลมุ่ บริหาร
ท่ัวไปอยา่ งตอ่ เนื่อง
9. ตดิ ตามประสานประโยชนข์ องครู ผปู้ ฏิบตั หิ นา้ ที่และปฏิบัตหิ น้าทพ่ี เิ ศษ เพ่ือสร้างขวัญและ
กำลงั ใจ
10. วนิ จิ ฉยั สั่งการงานท่ีรับมอบหมายไปยังงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง
11. ติดตามผลสัมฤทธิ์และประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านเพื่อสรปุ ปัญหา และอุปสรรคในการดำเนินงาน
เพ่ือหาแนวทางในการพฒั นางานให้มีประสทิ ธิภาพยิ่งข้ึน
12. กำกับ ตดิ ตาม ให้งานตดิ ตามประเมนิ ผล และประสานงาน ดำเนนิ การติดตามการปฏบิ ัตงิ านของ

5

คมู่ ือการบริหารงานทว่ั ไป

ทุกงานพรอ้ มรายงานผลการปฏิบตั ิอย่างต่อเนือ่ ง
13. ประสานงานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานโรงเรยี นบ้านทุ่งยาว
14. ติดตอ่ ประสานงานระหว่างโรงเรียนกบั หนว่ ยงานภายนอกในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับงานบรหิ ารท่วั ไป
15. ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีอ่นื ๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย

ขอบข่ายการบรหิ ารงานทั่วไป
1. การพัฒนาระบบและเครือขา่ ยข้อมูลสารสนเทศ
2. การประสานงานและพฒั นาเครือขา่ ยการศกึ ษา
3. การวางแผนการบริหารงานการศึกษา
4. งานวิจัยเพือ่ พัฒนานโยบายและแผน
5. การจดั ระบบการบรหิ ารและพัฒนาองค์กร
6. การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน
7. งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
8. การดำเนนิ งานธรุ การ
9. การดแู ลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
10. การจัดทำสำมะโนผเู้ รียน
11. การรับนักเรยี น
12. การเสนอความเห็นเกยี่ วกับเรือ่ งการจัดต้งั ยุบ รวมหรือเลิกสถานศกึ ษา
13. การประสานการจดั การศึกษาในระบบ นอกระบบ
14. การระดมทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษา
15. การทัศนศกึ ษา
16. งานกจิ การนักเรียน
17. การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
18. การสง่ เสรมิ สนบั สนุนและประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชมุ ชน องค์กร
19. งานประสานราชการกับส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถน่ิ
20. การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
21. การจัดระบบการควบคุมภายในหนว่ ยงาน
22. แนวทางการจดั กิจกรรมเพอื่ ปรับเปล่ยี นพฤติกรรมในการลงโทษนักเรยี น

6

คมู่ ือการบริหารงานทวั่ ไป

ขอบข่าย/ภารกจิ การดำเนนิ งานดา้ นการบริหารทว่ั ไปของสถานศึกษาตามระบบการพฒั นาการบริหาร
รปู แบบนิติบุคคล มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1. การพัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ

1.1 จัดทำระบบฐานข้อมูลของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการบริหารจัดการภายในสถานศึกษา ให้
สอดคล้องกับระบบฐานข้อมูลของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

1.2 จัดระบบเครือขา่ ยขอ้ มลู สารสนเทศเชื่อมโยงกบั สถานศกึ ษาอ่นื เขตพ้นื ที่การศึกษา และส่วนกลาง
1.3 นำเสนอและเผยแพร่ข้อมลู และสารสนเทศเพื่อการบริหาร การบริการและการประชาสัมพันธ์
2. การประสานงานและพฒั นาเครือข่ายการศึกษา
2.1 ประสานงานกับเครือข่ายการศึกษาท้ังภายในประเทศและตา่ งประเทศเพ่ือแสวงหา ความร่วมมอื
ความชว่ ยเหลอื เพ่ือสง่ เสริมช่วยเหลอื สนบั สนนุ งานการศึกษาของสถานศกึ ษา
2.2 เผยแพร่ขอ้ มลู เครือขา่ ยการศกึ ษาใหบ้ ุคลากรในสถานศึกษาและผูเ้ กย่ี วข้องทราบ
2.3 กำหนดแผนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายการศึกษาทั้ง
ภายในประเทศและตา่ งประเทศ
2.4 ให้ความร่วมมือและสนับสนุนทางวิชาการแก่เครือข่ายการศึกษา สถาบันและองค์กรอื่น ๆ อย่าง
ตอ่ เนื่อง
3. การวางแผนการบรหิ ารงานการศกึ ษา
3.1 จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับเป้าหมาย ทิศทางของ เขตพื้นที่
การศึกษา และสนองต่อความต้องการของชุมชน สังคม โดยการมีส่วนร่วมของบุคคล ชุมชน องค์กร สถาบนั
และหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการจัดและพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษา
3.2 เสนอแผนพัฒนาการศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานต่อ
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
4. งานวิจยั เพอ่ื พัฒนานโยบายและแผน
4.1 ศึกษา วิเคราะห์วิจัยการจัดและพัฒนาสถานศึกษาของสถานศึกษาตามนโยบายและ แผนพัฒนา
สถานศกึ ษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกบั ทิศทางของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
4.2 นำผลการวิจัยมาปรับปรุงพัฒนานโยบายและแผนพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษาของสถานศึกษา
4.3 เผยแพร่และประชาสมั พันธ์การศึกษา วจิ ยั ของสถานศกึ ษาให้ผ้เู กีย่ วข้องและสาธารณชนทราบ
5. การจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาองค์กร
5.1 จัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ องค์กรทีท่ ันสมัยและมปี ระสิทธิภาพ โดยมีการ
กำหนดตวั ชี้วดั ความสำเร็จของการบรหิ ารจัดการ
5.2 นำแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีเป็นเครื่องมอื การขับเคลื่อนการ
บริหารและพฒั นาองค์กร
5.3 ประเมินผลงานและรายงานการพฒั นาองคก์ ร
5.4 ปรับปรุงและพัฒนาระบบการบริหารงานสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง

7

คู่มอื การบรหิ ารงานทั่วไป

6. การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน
6.1 กำหนดมาตรฐานและตัวบง่ ช้ผี ลการปฏิบตั งิ านแต่ละดา้ นของสถานศกึ ษา
6.2 เผยแพรม่ าตรฐานการปฏิบตั ิงานของสถานศึกษาให้ผรู้ บั ผิดชอบและผเู้ กย่ี วข้องทราบ
6.3 ตดิ ตาม ประเมินผลการปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของสถานศึกษา
6.4 ปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานและระบบการประเมินมาตรฐาน การปฏิบัติงานของ

สถานศึกษา
7. งานเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา

7.1 วางแผนและดำเนินการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษามาใช้ในการบริหาร และพัฒนา
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา

7.2 ระดมจัดหาเทคโนโลยเี พ่ือพฒั นาการศึกษาในงานด้านต่าง ๆ ของสถานศกึ ษา
7.3 สนับสนุนและพัฒนาให้บุคลากรสามารถนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาใช้ในการ
บริหารและพัฒนาการศกึ ษา
7.4 ติดตาม ประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา
7.5 สง่ เสริมให้มกี ารวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่อื การศึกษา
8. การดำเนินงานธุรการ
8.1 ศกึ ษาวเิ คราะหส์ ภาพระบบงานธุรการ ระเบียบ และกฎหมายท่ีเกยี่ วขอ้ ง
8.2 วางแผนออกแบบระบบงานธุรการ โดยนำเทคโนโลยีมาช่วยเพื่อลดขั้นตอนและรองรับการ
ปฏบิ ัตงิ านธุรการ
8.3 จัดบุคลากรรับผิดชอบงานธุรการโดยเฉพาะและพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถในการ
ปฏิบตั ิงานธรุ การ
8.4 ดำเนนิ งานธรุ การตามระบบท่ีกำหนดไวโ้ ดยยดึ หลกั ความถกู ตอ้ ง รวดเรว็ ประหยัด และคุ้มค่า
8.5 ติดตาม ประเมินผล และปรบั ปรงุ ระบบงานธรุ การใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
9. การดแู ลอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม
9.1 วางแผนการบริหารจดั การอาคารสถานทแ่ี ละสภาพแวดล้อม
9.2 บำรุง ดูแล และพัฒนาอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้
มัน่ คง ปลอดภัย และสวยงาม
9.3 ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใชอ้ าคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา
10. การจัดทำสำมะโนผู้เรียน
10.1 ประสานกับชุมชนและท้องถิ่นในการสำรวจและจัดทำสำมะโนผู้เรียนที่จะเข้ารับบริการทาง
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
10.2 เสนอสำมะโนผเู้ รยี นให้เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาทราบ
10.3 จดั ระบบขอ้ มูลสารสนเทศจากการทำสำมะโนผเู้ รียน
10.4 เสนอขอ้ มลู สารสนเทศการทำสำมะโนผเู้ รียนในเขตพนื้ ท่ีการศึกษา

8

คู่มือการบรหิ ารงานทว่ั ไป

11. การรบั นกั เรยี น
11.1 กำหนดแผนการรับนกั เรยี นของสถานศกึ ษาอย่างอิสระตามความสนใจและศักยภาพของผู้เรยี น

ตามความพร้อมของสถานศึกษา โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
11.2 ดำเนินการรับนักเรียนตามแผนการรับนักเรียนที่กำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ

สถานศึกษาขั้นพื้นฐานและตามปฏิทินการรับนักเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่
กำหนดเฉพาะสถานศกึ ษารูปแบบนิติบุคคล
12. การเสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องการจดั ตงั้ ยุบ รวม หรือเลกิ สถานศึกษา

เสนอขอ้ มูลและความต้องการในการจัดตั้ง ยุบ รวม เลกิ หรอื เปลีย่ นสภาพสถานศึกษา ไปยังเขตพื้นท่ี
การศึกษา โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
13. การประสานการจดั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั

13.1 สำรวจความต้องการในการเข้ารบั บริการการศึกษาทกุ รปู แบบ ทงั้ ในระบบ นอกระบบ และตาม
อธั ยาศยั

13.2 กำหนดแนวทางและความเชื่อมโยงในการจัดและพฒั นาการศกึ ษาของสถานศึกษา ท้ังการศึกษา
ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ตามความต้องการของนักเรียนและท้องถิ่นที่
สอดคล้องกบั แนวทางของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

13.3 ดำเนินการจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือทั้ง ๓ รูปแบบ ตามความเหมาะสม และ
ศักยภาพของสถานศึกษา รวมทั้งเชื่อมโยงประสานความร่วมมือและส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาของ
บคุ คล ชมุ ชน องคก์ ร หน่วยงาน และสถาบนั ต่าง ๆ ท่จี ดั การศึกษา
14. การระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา

14.1 กำหนดแนวทางการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาของสถานศึกษา
14.2 ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาของสถานศึกษาในทุกด้าน ซึ่งครอบคลุมถึงการประสานความ
ร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงาน สถานประกอบการ สถาบัน
สังคมอน่ื และสถานศกึ ษาในการใช้ทรพั ยากรเพื่อการศกึ ษาร่วมกัน
14.3 ดำเนนิ การโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
15. การทัศนศกึ ษา
15.1 วางแผนการนำนักเรยี นไปทัศนศกึ ษานอกสถานศึกษาทั้งภายในประเทศและตา่ งประเทศ
15.2 ดำเนนิ การขออนุญาตนำนกั เรยี นไปทศั นศึกษา โดย

1. การอนุญาตใหน้ ักเรยี นไปทศั นศึกษาในจังหวดั หรอื ตา่ งจงั หวัดทั้งประเภท ไป-กลบั และคา้ ง
คนื เปน็ อำนาจของผู้อำนวยการสถานศึกษา

2. การอนุญาตให้นักเรียนไปทัศนศึกษาต่างประเทศ เป็นอำนาจของผู้อำนวยการ สำนักงาน
เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา
15.3 ดำเนินการนำนกั เรียนไปทัศนศึกษานอกสถานศึกษาตามแผน หลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกำหนด

9

คมู่ ือการบรหิ ารงานทว่ั ไป

16. งานกิจการนกั เรยี น
16.1 วางแผนการบริหารงานกิจการนกั เรียน
16.2 ดำเนินการตามแผนทก่ี ำหนดโดยสง่ เสริมใหน้ กั เรียนมีสว่ นร่วม
16.3 ติดตาม ประเมนิ ผล ปรับปรุง และพฒั นางานกจิ การนักเรยี น

17. การประชาสมั พนั ธ์งานการศึกษา
17.1 วางแผนการประชาสัมพันธง์ านการศึกษาของสถานศึกษา
17.2 ดำเนินการประชาสัมพันธ์งานการศกึ ษาตามแนวทางทก่ี ำหนด
17.3 ตดิ ตาม ประเมินผล ปรับปรุง และพัฒนาการประชาสัมพนั ธ์การศึกษาของสถานศกึ ษา

18. การส่งเสริม สนับสนุน และประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กรหน่วยงาน และ
สถาบนั สังคมอนื่ ท่จี ดั การศึกษา

ให้คำปรึกษา แนะนำส่งเสริม สนับสนุน และประสานความรว่ มมือในการจัดการศึกษา ร่วมกับบุคคล
ชมุ ชน องค์กร หน่วยงาน และสถาบนั สงั คมอนื่ ทจี่ ดั การศึกษา
19. การประสานราชการกบั ส่วนภมู ิภาคและส่วนท้องถ่ิน

ประสานความร่วมมือกับหน่วยราชการส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดและ
พัฒนาการศึกษาของสถานศกึ ษา
20. การรายงานผลการปฏิบัตงิ าน

20.1 จัดระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และรายงานผลการพัฒนาการศึกษาของ
สถานศึกษา

20.2 จัดทำเกณฑ์มาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การพัฒนา
การศกึ ษาของสถานศึกษา

20.3 ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการพฒั นาการศึกษาของสถานศึกษา ตามระบบ
ที่กำหนดไว้

20.4 รายงานผลการพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาให้หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องและสาธารณชนทราบ
20.5 ปรับปรุงและพัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และการรายงานผล การพัฒนา
การศกึ ษาของสถานศึกษา
21. การจดั ระบบการควบคมุ ภายในหนว่ ยงาน
21.1 วเิ คราะหก์ ำหนดมาตรการในการปอ้ งกนั ความเสย่ี งในการดำเนินงานของสถานศึกษา
21.2 วางแผนการจัดระบบการควบคุมภายในสถานศกึ ษา
21.3 ดำเนินการควบคุมตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารทสี่ ำนกั งานตรวจเงินแผ่นดินกำหนด
21.4 ติดตามและประเมินผลการควบคมุ ภายในและรายงานให้เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาทราบ
22. แนวทางการจัดกจิ กรรมเพอ่ื ปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมในการลงโทษนกั เรียน
22.1 ศกึ ษาสภาพปัญหาเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมของผู้เรียน ระเบียบ กฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ ง

10

คมู่ อื การบริหารงานทั่วไป

22.2 กำหนดระเบียบ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับผู้เรียนให้เป็นไปตามบริบท สภาพแวดล้อม ของแต่ละ
สถานศกึ ษา เน้นการมสี ่วนร่วมของผู้เรียน ครูผปู้ กครอง และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

22.3 การวางแผนงานปกครองนักเรียน
22.4 การบริหารงานปกครองนกั เรยี น กำหนดหน้าท่คี วามรบั ผิดชอบการประสานงานปกครอง
22.5 การส่งเสริมพัฒนาให้ผู้เรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ได้แก่ การจัดกิจกรรม ส่งเสริมพัฒนา
ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม การจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ การยกย่องให้
กำลงั ใจแก่นักเรยี นที่ประพฤติดี
22.6 การปอ้ งกนั และแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผูเ้ รยี น ไดแ้ ก่ การป้องกันและแก้ไข พฤตกิ รรม
ที่ไม่เหมาะสม การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาการดำเนินงาน ป้องกันและ
แกไ้ ขปัญหาโรคเอดส์ในสถานศึกษา
22.7 การสรปุ ประเมินผลงานปกครองนักเรียน
๒๓. การพัฒนาการบรหิ ารรูปแบบนิตบิ ุคคลด้านการบริหารทั่วไป
23.1 กำหนดรปู แบบนิตบิ ุคคลดา้ นการบรหิ ารท่ัวไปตามบริบทของสถานศึกษา
23.2 พัฒนารูปแบบนิติบุคคลด้านการบริหารทวั่ ไป
23.3 ตดิ ตาม ประเมนิ ผล รบั ผิดชอบ และรายงานผลการดำเนนิ งาน

งานสารบัญ
ชนดิ ของหนงั สอื ราชการ

- หนงั สอื มี 6 ชนดิ
1. หนังสือภายนอก แบบพิธี ใชก้ ระดาษตราครฑุ
2. หนงั สอื ภายใน บันทกึ ข้อความ
3. หนังสอื ประทับตรา ใช้กับระดับกรม ลงนามโดยระดับกอง
4. หนังสอื สัง่ การ คำสั่ง ระเบียบ ขอ้ บงั คบั
5. หนังสือประชาสัมพันธ์ ประกาศ แถลงการณ์ ขา่ ว
6. หนังสือท่ีเจ้าหน้าที่จัดทำข้ึนหรือรับไว้เป็นหลกั ฐานในราชการ
ความหมายของหนังสือสง่ั การ
- หนังสือส่ังการ
1. คำสง่ั ผูบ้ งั คับบญั ชา – ส่งั การ – ชอบดว้ ยกฎหมาย – กระดาษตราครฑุ
2. ระเบียบ ผู้มีอำนาจหนา้ ท่ี –วางไว้ – อาศยั กฎหมายหรือไม่ก็ได้ – กระดาษตราครฑุ
3. ขอ้ บงั คบั ผมู้ ีอำนาจหนา้ ท่ี – กำหนดใช้–อาศัยอำนาจของกฎหมาย – กระดาษตราครุฑ
ความหมายของหนงั สือประชาสัมพันธ์
- หนังสือประชาสัมพนั ธ์ มี 3 ชนดิ

11

คมู่ อื การบรหิ ารงานทัว่ ไป

1. ประกาศ ช้ีแจง้ ให้ทราบ / ใชก้ ระดาษตราครุฑ
2. แถลงการณ์ เขา้ ใจ / ใชก้ ระดาษตราครฑุ
3. ข่าว เผยแพรใ่ ห้ทราบ / ใช้กระดาษข่าว
การกำหนดช้ันความเรว็ ของหนังสือ
- ชนั้ ความเรว็ ของหนงั สอื แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. ด่วนทสี่ ดุ ให้เจ้าหนา้ ท่ีปฏบิ ตั ทิ นั ทีท่ีได้รบั หนังสอื น้ัน
2. ดว่ นมาก ให้เจ้าหน้าท่ปี ฏิบัตโิ ดยเร็ว
3. ด่วน ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีปฏบิ ตั ิเรว็ กวา่ ปกติ เทา่ ท่ีจะทำได้ ระบุชนั้ ความเร็วด้วยตวั อักษรสแี ดงขนาดไม่
เลก็ กว่าตวั พมิ พ์โป้ง 32 พอยท์ ให้เห็นได้ชดั บนหนงั สือและบนซอง (บนท่หี นังสอื )
การกำหนดช้นั ความลบั ของหนงั สือ
- กำหนดชัน้ ความลับ 3 ชัน้ คือ ลบั ทสี่ ดุ ลบั มาก ลบั และยกเลกิ ชน้ั ปกปดิ สำหรบั ท่ีมอี ยู่ก่อนให้ ถือว่า
มีชั้นความลบั อยู่ในชัน้ ลบั นับแต่วันที่ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลบั พ.ศ. 2544 ใช้บังคบั
1. ลบั ทีส่ ุด (TOP SECRET) ก่อให้เกิดความเสียหายแกป่ ระโยชนแ์ หง่ รฐั อยา่ งร้ายแรงทีส่ ดุ
2. ลบั มาก (SECRET) ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประโยชน์แหง่ รัฐอยา่ งรา้ ยแรง
3. ลับ (CONFIDENTIAL) ก่อให้เกิดความเสยี หายแก่ประโยชนแ์ ห่งรฐั ชัน้ ความลับตอ้ งประทบั ตราสี
แดงไว้กง่ึ กลางหน้ากระดาษ ท้ังดา้ นบนและดา้ นล่างทุกหน้าของเอกสารท่ีมชี ้นั ความลบั และหนา้ ซอง
หนังสือด้วย
ข้ันตอนการรบั หนังสือ
- ขน้ั ตอนการรับหนังสือ
1. จดั ลำดับความสำคญั
2. ประทบั ตรารับ (มุมบนด้านขวา)
3. ลงทะเบียนรับ
4. จดั แยกใหส้ ่วนราชการ / ผู้เกีย่ วขอ้ งดำเนินการ
การเกบ็ หนงั สอื
- การเกบ็ หนังสอื แบ่งออกเป็น
1. การเก็บระหวา่ งปฏิบตั ิ
2. การเก็บเมื่อปฏบิ ตั เิ สร็จแล้ว
3. การเก็บไว้เพอ่ื ใช้ในการตรวจสอบ

12

ค่มู อื การบริหารงานทั่วไป
อายกุ ารเกบ็ หนังสอื

- อายกุ ารเกบ็ หนงั สือ โดยปกติใหเ้ กบ็ ไว้ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
- หนังสือเป็นค่สู ำเนาทม่ี ตี ้นเร่ืองจะคน้ ไดจ้ ากทีอ่ ืน่ ใหเ้ ก็บไว้ไม่น้อยกว่า 5 ปี
- หนังสือเกีย่ วกับการรบั เงิน จา่ ยเงนิ การก่อหนผี้ ูกพนั ที่ไมเ่ ป็นหลกั ฐานแหง่ การก่อ เปล่ียนแปลง โอน

สงวนสทิ ธิ ไมม่ คี วามจำเปน็ ต้องใชใ้ หเ้ ก็บไว้ไมน่ อ้ ยกวา่ 5 ปี
- หนังสือทเ่ี ปน็ เรื่องธรรมดาสามญั ซง่ึ ไม่มีความสำคญั และเป็นเรื่องท่เี กิดขน้ึ เปน็ ประจำเม่ือ ดำเนินการ

แล้วเสรจ็ ใหเ้ ก็บไว้ไม่น้อยกวา่ 1 ปี
- ทุกปปี ฏทิ ินใหจ้ ัดส่งหนงั สือที่มอี ายุครบ 20 ปีใดให้สำนักจดหมายเหตแุ ห่งชาติ กรมศลิ ปากร
การทำลายหนังสือ
- ภายใน 60 วันหลังจากสิ้นปีปฏิทิน ใหส้ ำรวจหนงั สือทค่ี รบกำหนดอายุการเกบ็ ในปีนน้ั เสนอหัวหน้า

ส่วนราชการเพื่อพจิ ารณาแต่งตง้ั คณะกรรมการทำลายหนงั สือ
(เลขาธิการ กพฐ. มอบอำนาจให้ ผอ.สพท. และผอ.สถานศึกษาแล้ว)
- คณะกรรมการทำลายหนังสือ = ประธานกรรมการ และกรรมการอีกอย่างน้อยสองคน โดยปกติ ให้
แตง่ ต้งั จากข้าราชการระดบั 3 หรอื เทียบเท่าข้นึ ไป

13

ค่มู อื การบรหิ ารงานทั่วไป
14


Click to View FlipBook Version