The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khrudaony, 2021-07-17 03:30:23

lesson10_KhruDaony

lesson10

บทท่ี 10
การสรา้ งฟอร์ม (Form) กรอกข้อมลู

ฟอร์ม (Form) คือ องคป์ ระกอบบนหน้าเว็บเพจที่ทำหน้าท่รี ับข้อมูลจากผู้เย่ียมชมเว็บไซต์และส่ง
ข้อมูลเหล่าน้ันไปยังเครื่องบริการเว็บท่ีเรียกกันว่าเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) เพ่ือทำการประมวลผล
อย่างใดอย่างหนึ่ง การออกแบบเว็บเพจในบางครั้งจำเป็นต้องมีแบบฟอร์มเพ่ือขอรับข้อมูลจากผู้เข้าเย่ียม
ชมเว็บไซต์ เช่น การลงทะเบียนสมาชิก การสั่งซ้ือสินค้า เป็นต้น ภายในฟอร์มจะประกอบด้วยวัตถุหรือ
ออบเจ็คต์ (Object) ต่าง ๆ ท่ีทำหน้าท่ีรับข้อมูล ซึ่งมีหลายชนิด เช่น ฟิลด์กรอกข้อความ (Text Field)
รายการเลอื ก(List Menu) เช็คบ็อกซ์ (Check Box)เป็นตน้

โปรแกรม Macromedia Dreamweaver ได้เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีเรียกว่า ฟอร์ม
ออบเจก็ ต์ (Form Object) ไว้ทำหน้าทีใ่ นการจัดการและควบคุมส่วนประกอบต่าง ๆ ในแบบฟอร์มเพื่อให้
ผ้อู อกแบบเวบ็ เพจสามารถสรา้ งฟอรม์ ได้ง่ายขึ้น

เนตรดาว โทธรัตน์

[email protected]

ภาพที่ 10.1 ตัวอย่างเว็บเพจทีใ่ ชฟ้ อร์ม (Form) ในการออกแบบ

2

สว่ นประกอบของเคร่อื งมอื สรา้ งฟอรม์

เครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการสรา้ งฟอรม์ สามารถเรยี กใชไ้ ดโ้ ดยคลิกแถบฟอร์ม บนแทบเครื่องมือแทรก
ดงั ภาพท่ี 10.2

ภาพท่ี 10.2 สว่ นประกอบของเครื่องมือสรา้ งฟอรม์ (Form Object)

รายละเอียดเครือ่ งมอื สร้างฟอร์ม มดี ังน้ีคือ

สร้างฟอร์ม(Insert Form)
ฟลิ ด์กรอกข้อความ(Text Field)
ฟลิ ดซ์ ่อน(Hidden Field)
ฟิลดก์ รอบข้อความแบบหลายบรรทัด(Text Area)
เช็คบอ็ กซ์(Check Box)
ตวั เลือก(Radio Button)
กลมุ่ ตวั เลือก (Radio Group)
ลสิ ตร์ ายการ (List / Menu)
รายการเชอ่ื มโยง (Jump Menu)
ฟลิ ด์รูปภาพ (Image Field)
กรอบสำหรับเลอื กไฟล์ (File Field)
ปุ่มกด (Button)
ฟิลดแ์ ถบข้อความ (Label)
ฟลิ ด์จัดกลมุ่ ฟอร์ม (Field Set)

การสร้างฟอร์ม

การสร้างฟอร์มในหน่วยการเรียนนี้ จะใช้ตัวอย่างการสร้างฟอร์มตามภาพที่ 10.3 ซ่ึงเป็น
แบบฟอร์มการรบั สมาชกิ ของเว็บไซต์แหง่ หน่ึง เพื่อใหผ้ ูเ้ ยี่ยมชมเว็บไซต์สมคั รเป็นสมาชิก โดยกรอกข้อมูล
ของตนเองตามแบบฟอรม์ นี้

3

ภาพที่ 10.3 ตวั อยา่ งฟอร์ม
1. ขอบเขตของฟอร์ม
การสร้างฟอร์มใด ๆ บนหน้าเว็บเพจต้องเร่ิมต้นด้วยการกำหนดขอบเขตของฟอร์มก่อน

จากน้ันจึงนำข้อมูลต่าง ๆ ใส่ไว้ในขอบเขตของฟอร์มวิธีการสร้างขอบเขตของฟอร์มการรับสมัครสมาชิก
ตามภาพท่ี 10.3 สามารถทำไดด้ งั นีค้ ือ (ดภู าพท่ี10.4)

1. วางเคอรเ์ ซอร์ตรงตำแหน่งที่ต้องการสรา้ งฟอร์ม
2. คลิกแถบฟอรม์ ทแี่ ถบเคร่ืองมือแทรก
3. คลกิ เครือ่ งมอื ฟอร์ม (Form) หรือคลกิ คำสัง่ Insert  Form
4. กำหนดค่าต่าง ๆ ในพาเนลกำหนดคุณสมบตั ิ

4




ไฟล์ทีร่ บั ขอ้ มลู จาก
ฟอรม์ ไปประมวลผล



กำหนดช่ือฟอรม์ การกำหนดวิธสี ่งข้อมลู
ไปยังเซิร์ฟเวอร์
ภาพท่ี 10.4 การสรา้ งฟอรม์

2. คุณสมบัติของฟอร์ม (Form Properties)
หลงั จากทก่ี ำหนดขอบเขตของฟอร์มไวแ้ ล้ว ข้ันตอนตอ่ ไปจะเปน็ ข้นั ตอนของการกำหนด

คณุ สมบตั ิของฟอรม์ โดยการคลกิ ท่เี สน้ ขอบเขตของฟอร์มซึ่งเปน็ เสน้ ประสแี ดง จะปรากฏคุณสมบตั ขิ อง
ฟอร์มบนพาเนลกำหนดคุณสมบตั ิ เพื่อให้กำหนดคา่ ตา่ ง ๆ ดงั ภาพท่ี 10.5

URL ของโปรแกรมทีใ่ ช้ กำหนดการแสดงผลบนหน้าต่าง
ประมวลผล เบราวเ์ ซอร์

ชื่อฟอร์ม วธิ สี ง่ ขอ้ มลู ไปยัง วิธเี ข้ารหัสขอ้ มลู

เว็บเซริ ฟ์ เวอร์
ภาพที่ 10.5 คุณสมบัตขิ องฟอร์ม (Form Properties)

5

Form name ชอื่ ฟอร์ม
Action ยอู ารเ์ อล (URL) ของโปรแกรมทท่ี ำหนา้ ทีป่ ระมวลผลข้อมูล
Method จากฟอร์ม
กำหนดวธิ กี ารส่งข้อมลู จากฟอร์มไปยังเวบ็ เซิรฟ์ เวอร์
Enctype ซง่ึ ประกอบด้วย
Target Default ใช้คา่ โดยปรยิ ายขึ้นอยู่กบั การทำงานของเบราวเ์ ซอร์

โดยทัว่ ไปจะเป็นแบบ Get
GET สง่ ข้อมลู โดยนำไปตอ่ ทา้ ยยอู าร์แอล (URL) ของ

โปรแกรมทใี่ ช้ประมวลผล
POST สง่ ขอ้ มูลไปกบั เอชทีทีพรี ีเควซ (HTTP Request)

มกั ใชก้ ับขอ้ มลู ท่ตี ้องการความปลอดภัย
กำหนดวิธกี ารเขา้ รหัสข้อมูล
กำหนดการแสดงผลบนหน้าต่างเว็บเบราวเ์ ซอร์

การสร้างฟลิ ดก์ รอกขอ้ ความ (Text Field)

ฟลิ ด์กรอกข้อความ (Text Field) มีลักษณะเป็นกรอบสี่เหล่ยี มเพ่อื รับข้อมูลประเภทข้อความหรือ
ตวั อักษรที่ผู้เย่ียมชมเว็บไซต์สามารถกรอกข้อมูลเข้ามาผู้ออกแบบสามารถกำหนดข้อมูลประเภทข้อความ
หรือตัวอักษรท่ีผู้เย่ยี มชมเวบ็ ไซต์สามารถกรอกข้อมูลเข้ามาผอู้ อกแบบสามารถกำหนดความกว้างของฟิลด์
(Field) จำนวนตัวอักษรทีส่ ามารถพิมพ์ได้ โดยทำไดด้ ังนี้ (ดูภาพที่ 10.6)

1. พมิ พข์ อ้ ความท่ตี ้องการวางหน้าฟิลดก์ รอกข้อความ
2. คลกิ เครอื่ งมือเทก็ ฟิลด์ (Text Field)
3. กำหนดคา่ ในพาเนลกำหนดคุณสมบตั ิ

6






ภาพที่ 10.6 การสร้างฟิลดก์ รอกข้อความ (Text Field)

1. ฟลิ ด์กรอกข้อความแบบบรรทัดเดยี ว (Single line)
ฟิลด์กรอกข้อความแบบบรรทัดเดียวเป็นกรอบที่ใช้รับข้อความสั้น ๆ ไม่เกิน 1 บรรทัด โดย

การกำหนดประเภท (Type) เป็น “Single line” ท่พี าเนลกำหนดคณุ สมบัตดิ งั ภาพที่ 10.7

ความกวา้ งของกรอบ รูปแบบบรรทดั เดยี ว

ช่อื ฟลิ ด์ จำนวนตวั อกั ษร กำหนดขอ้ ความเร่ิมตน้
ท่กี รอกได้สงู สดุ

ภาพท่ี 10.7 คุณสมบัตขิ องฟิลด์กรอกขอ้ ความแบบบรรทัดเดียว

7

Text Field ช่อื ฟลิ ด์ใช้สำหรบั เก็บค่าตัวแปรเพ่ือส่งไปยงั เวบ็ เซริ ์ฟเวอร์
Char width ความกว้างของกรอบรบั ขอ้ ความทปี่ รากฏบนฟอร์ม
Max Chars จำนวนตวั อกั ษรสงู สดุ ท่ีสามารถกรอกได้ถ้าไมร่ ะบุจะกรอกได้
Type ไม่เกนิ 20 ตัวอักษร
ประเภทของฟิลด์
Init val Single line กำหนดให้รับข้อมูลไดเ้ พียงบรรทัดเดียว
Multiline กำหนดให้รบั ข้อมลู ไดห้ ลายบรรทดั
Password กำหนดให้รบั ข้อมลู ท่ีต้องการใหเ้ ป็นความลับ

เช่น รหสั ผ่าน
กำหนดข้อความเร่ิมต้น หรือใสค่ ำแนะนำในการกรอกข้อมูล

2. ฟลิ ดก์ รอกข้อความแบบหลายบรรทัด
ฟิลดก์ รอกข้อความแบบหลายบรรทัด เปน็ กรอบท่ใี ช้รับขอ้ ความท่ยี าวเกิน 1 บรรทัด โดยการ

กำหนดประเภท (Type) เป็น “Multiline” ที่พาเนลกำหนดคุณสมบตั ิ ดังภาพท่ี 10.8

ความกวา้ งของ จานวนบรรทดั สงู สดุ รปู แบบหลายบรรทดั
กรอบขอ้ ความ

ช่อื ฟิลด์ การตดั คา กาหนดขอ้ ความเรมิ่ ตน้

ภาพที่ 10.8 คุณสมบตั ขิ องฟิลด์กรอกข้อความแบบหลายบรรทดั (Multiline)

Num Lines จำนวนบรรทดั สงู สดุ ทีต่ ้องการแสดงบนฟอร์ม
Wrap วธิ กี ารขึ้นบรรทดั ใหม่ โดยเลอื กระบุตามค่าดังน้คี ือ
ใช้ค่าโดยปรยิ าย ขนึ้ อยู่กบั การทำงานของเบราวเ์ ซอร์
Default ต้องกด (Enter) เพ่ือขึน้ บรรทัดใหม่
Off กำหนดให้ขน้ึ บรรทดั ใหม่อตั โนมัติ โดยตวั ควบคมุ การขึน้ บรรทัดใหม่จะ
Virtual ไมถ่ ูกสง่ ไปยังโปรแกรมบนเซริ ์ฟเวอร์
กำหนดให้ขนึ้ บรรทดั ใหม่อตั โนมตั ิ โดยตัวควบคุมการขึน้ บรรทัดใหม่
Physical จะถูกส่งไปยังโปรแกรมบนเซิร์ฟเวอร์

8

3. ฟลิ ดก์ รอกข้อความแบบรหัสผ่าน (Password)
ฟลิ ด์กรอกขอ้ ความแบบรหสั ผา่ น เป็นกรอบท่ีใชร้ บั ข้อความสั้น ๆ ไม่เกิน 1 บรรทัด ทต่ี ้องการ

ใหเ้ ป็นความลับ เช่น รหัสผา่ น โดยการแสดงผลบนเวบ็ เบราวเ์ ซอรเ์ มื่อรับข้อมลู จะแสดงเป็นเคร่อื งหมาย*
วิธกี ารโดยกำหนดประเภท (Type) เป็น “Password” ท่ีพาเนลกำหนดคุณสมบัติ ดงั ภาพท่ี 10.9

ความกว้างของ จำนวนบรรทดั สงู สดุ รูปแบบรหสั ผา่ น
กรอบข้อความ

ช่ือฟลิ ด์ กำหนดข้อความเร่ิมตน้

ภาพท่ี 10.9 คณุ สมบัติของฟลิ ด์กรอกข้อความแบบรหัสผา่ น (Password)

การสรา้ งรายการเลือก (List / Menu)

รายการเลือกเป็นการสร้างรายการเพ่ือให้ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์เลือก โดยมีรูปแบบเป็นแบบรายการ
เลือกหรือเมนู (Menu) และแบบลิสต์ (List)

1. การสรา้ งรายการเลอื กแบบเมนู (Menu)
รายการเลือกแบบเมนูหรือที่เรียกว่าดรอปดาวน์เมนู (Drop Down Menu)เป็นรายการ

ตัวเลือกที่แสดงเพียงบรรทัดเดียว แต่จะมีปุ่มลูกศรอยู่ทางด้านขวาไว้สำหรับคลิกเพื่อให้แสดงรายการ
ทัง้ หมด โดยผ้เู ยี่ยมชมเว็บไซต์จะสามารถเลือกรายการได้เพยี งรายการเดยี วจากรายการที่ให้เลอื ก (ดภู าพ
ที่ 10.10)

คลิกเพื่อใหแ้ สดงรายการท้งั หมด

เมนเู ลอื กรายการ

ภาพที่ 10.10 ตวั อยา่ งรายการเลอื กแบบเมนู (Menu)

9

วิธีการสร้างรายการเลือกแบบเมนู สามารถทำไดด้ ังน้ีคือ (ดูภาพที่ 10.11)
1. พมิ พ์ขอ้ ความท่ตี ้องการวางหน้าลิสตร์ ายการ
2. คลิกเครือ่ งมือลสิ ต์/เมนู (List/Menu)
3. จะปรากฏฟิลดล์ สิ ต์รายการข้ึนมา
4. กำหนดคา่ ในพาเนลกำหนดคณุ สมบัติ โดยเลอื ก Type เป็นแบบ Menu
5. คลิกปมุ่ ลสิ ต์แวรย์ ู List Values
6. พมิ พ์คา่ ในไดอะลอ็ กบ็อกซ์ช่ือ “List Values” จากนน้ั คลิกปุ่มOK

เพิ่มคา่ ทตี่ อ้ งการ ลบคา่ ทไ่ี มต่ ้องการ

ฟลิ ด์ลสิ ตร์ ายการ

ภาพที่ 10.11 การสร้างรายการเลือกแบบเมนู (Menu)

2. การสรา้ งรายการเลอื กแบบลิสต์ (List)
รายการเลือกแบบลิสต์ (List) เปน็ รายการแสดงตัวเลือกใหผ้ ู้เย่ยี มชมเวบ็ ไซต์เห็นตวั เลอื กคราว

ละหลายบรรทัดหรือหลายหวั ขอ้ โดยผู้เยี่ยมชมเวบ็ ไซต์จะสามารถเลือกรายการได้เพียงรายการเดยี วจาก
รายการทใี่ ห้เลอื ก

10
วิธีการสร้างรายการเลอื กแบบลิสต์ สามารถทำไดด้ ังนีค้ ือ (ดูภาพท่ี 10.12)

1. พิมพ์ข้อความทตี่ ้องการวางหน้าลสิ ตร์ ายการ
2. คลิกเครอ่ื งมือลิสต์/เมนู
3. จะปรากฏฟลิ ด์ลิสต์รายการข้นึ มา
4. กำหนดคา่ ในพาเนลกำหนดคณุ สมบัติ โดยเลือก Type เป็นแบบ Menu
5. คลิกปุ่มลสิ ต์แวร์ยู List Values
6. พมิ พ์คา่ ในไดอะลอ็ กบ็อกซ์ชอื่ “List Values” จากน้นั คลกิ ปุ่ม OK

ฟิลดล์ สิ ตร์ ายการ

ภาพท่ี 10.12 การสรา้ งรายการเลือกแบบลสิ ต์ (List)

11

การสร้างเช็คบ็อกซ์ (Check Box)

เช็คบ็อกซ์เป็นการสร้างรายการแบบตัวเลือกในลักษณะที่มีหลายคำตอบ ซ่ึงสามารถเลือกได้
มากกว่า 1 รายการ หรอื ไม่เลือกเลยก็ได้

วธิ ีการสร้างเช็คบ็อกซ์ (Check Box) สามารถทำได้ดังนี้คอื (ดูภาพท่ี 10.13)
1.คลกิ เคร่ืองมือเช็คบ็อกซ์
2.จะปรากฏฟลิ ด์เช็คบอ็ กซ์ขึ้นมา
3.กำหนดค่าในพาเนลกำหนดคุณสมบตั ิ

เชค็ บอ๊ กซ์

ภาพที่ 10.13 การสรา้ งเช็คบ็อกซ์ (Check Box)

Checkbox name ช่ือฟิลด์ เป็นตัวแปรเพือ่ ส่งไปยังเวบ็ เซริ ฟ์ เวอร์พร้อมกับค่าในรายการ
Checked value ถ้าฟิลด์นี้ถูกเลือก
Checked value ค่าทีจ่ ะถกู สง่ ไปยังเว็บเซิร์ฟเวอรถ์ ้าฟิลด์นี้ถูกเลือก
Initial state สถานะเรม่ิ ตน้ ของฟิลด์ ประกอบดว้ ย
Checked ใหฟ้ ลิ ดถ์ ูกเลอื กไว้ก่อน
Unchecked ให้ฟลิ ด์ไมถ่ ูกเลอื ก

12

การสรา้ งเรดิโอบทั ทอน(Radio Button)

เรดิโอบัททอนเป็นการสร้างตัวเลือกชนิดท่ีให้ผู้เลือกสามารถเลือกได้เพียงตัวเลือกเดียวเท่าน้ัน
เหมาะสำหรบั คำถามทต่ี ้องการคำตอบที่เฉพาะเจาะจงลงไป

วธิ กี ารสรา้ งเรดิโอบัททอน (Radio Button) สามารถทำได้ดังน้คี อื (ดภู าพที่ 10.14)
1. คลิกเครื่องมือเรดิโอบัททอน
2. จะปรากฏฟิลด์ เช็คบ็อกซข์ น้ึ มา
3. กำหนดค่าในพาเนลกำหนดคุณสมบตั ิ

ภาพที่ 10.14 ตัวอยา่ งการสร้างเรดโิ อบัททอน (Radio Button)

13

การสรา้ งกรอบสำหรับเลือกไฟล์ (File Field)

การสร้างกรอบสำหรับเลือกไฟล์ทำให้ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์สามารถอับโหลดไฟล์จากเว็บไซต์มาไว้ท่ี
เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเองได้โดยมีปุ่มสำหรับเลือกไฟล์เพื่อใช้สำหรับเปิดหน้าต่ างเพ่ือค้นหาไฟล์ท่ีเรา
ต้องการ ซึ่งจะต้องเขียนโปรแกรมเพ่ิมเติมจึงจะสามารถใชง้ านกรอบเลือกไฟลน์ ้ีได้

การสร้างกรอบสำหรับเลอื กไฟลม์ ีวิธีการดงั น้ี คอื
1. คลกิ เคร่ืองมือไฟล์ฟลิ ด์
2. จะปรากฏกรอบสำหรบั เลอื กไฟล์บนฟอร์มท่สี รา้ งไว้
3. กำหนดความยาวของกรอบได้ในรายการ Char Width
4. กำหนดจำนวนตัวอักษรท่ีสามารถพิมพ์ไดส้ ูงสดุ ในรายการ Max Chars

กรอบสาหรบั เลอื กไฟล์

ภาพท่ี 10.15 ตัวอยา่ งการสรา้ งกรอบสำหรบั เลือกไฟล์ (File Field)

14

การสรา้ งป่มุ กด (Button)

แบบฟอรม์ กรอกรายการ เมือ่ ผกู้ รอกข้อมลู เรียบรอ้ ยแล้วมกั จะตอ้ งคลกิ ทีป่ มุ่ กด (Button)
เพ่อื ทำการส่งข้อมูลไปประมวลผล

การสรา้ งปุ่มกด (Button) มีวิธกี ารดังน้ี (ดูภาพที่ 10.16)
1. คลิกเครือ่ งมือบทั ทอน
2. จะปรากฏป่มุ กดเลอื กบนฟอร์ม
3. กำหนดขอ้ ความบนปมุ่ กดในชอ่ ง Value
4. กำหนดหน้าท่ใี หป้ ุม่ ในกรอบ Action

ปมุ่ กด (Button)

ภาพที่ 10.16 ตัวอย่างการสร้างปุ่มกด (Button)

15

การใสฟ่ ิลด์ซอ่ น (Hidden Field)

ฟิลด์ซ่อนเป็นเสมือนฟิลด์ปกติ แต่จะไม่แสดงบนเว็บเบราว์เซอร์โดยฟิลด์น้ีจะใช้สำหรับส่งข้อมูล
ให้กับโปรแกรมสคริปต์ ซีจีไอ เพื่อนำไปประมวลผลโดยไม่ต้องการให้ปรากฏบนหน้าจอให้ผู้เย่ียมชม
เว็บไซตเ์ หน็

วธิ ีการใสฟ่ ลิ ดซ์ ่อนทำได้ดังนี้ (ดูภาพท่ี10.17)
1. คลกิ เคร่ืองมือฮิดเด้นฟิลด์
2. จะปรากฏฟลิ ด์ซ่อนบนฟอร์มที่สรา้ งไว้
3. กำหนดชื่อให้กบั ฟลิ ด์ซ่อนในกรอบด้านลา่ งของรายการ Hidden Field
4. กำหนดคา่ ให้กับฟลิ ดซ์ อ่ นในกรอบดา้ นขวาของรายการ Value

ฟิลดซ์ อ่ น (Hidden Field)

ภาพท่ี 10.17 ตวั อย่างการใส่ฟิลด์ซอ่ น (Hidden Field)

16

การสรา้ งจัมพ์เมนู (Jump Menu )
จัมพ์เมนูเป็นรายการเลือกท่ีให้ผู้เลือกสามารถเลือกไปยังหน้าเวบ็ เพจท่ีต้องการได้ ซ่ึงมีประโยชน์

สำหรบั เว็บไซตข์ นาดใหญ่ และผู้เขา้ เย่ยี มชมสามารถเปดิ ดูข้อมูลทีต่ ้องการไดอ้ ย่างรวดเร็ว (ดูภาพท่ี10.18)

จัมพ์เมนู

ภาพที่ 10.18 ตวั อยา่ งจัมพ์เมนู (Jump Menu)
วธิ ีการการสร้างจมั พเ์ มนูทำได้ดงั นค้ี ือ
1. คลิกเคร่ืองมือจมั พ์เมนู
2. จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ชอ่ื Insert Jump Menu ข้ึนมาใหค้ ลกิ ป่มุ OK
3. คลกิ ปุม่ ลิสแวลยู เพ่อื กำหนดคา่ ให้กับเมนู (ดภู าพท่ี10.19)
4. กำหนดค่าให้กบั รายการเลอื กและจดุ เช่อื มโยง (Link) ในไดอะล็อกบ็อกซ์ชื่อ
List Values
5. คลิกปุ่ม OK

17
ภาพท่ี 10.19 ตัวอยา่ งการสร้างจมั พเ์ มนู (Jump Menu)

18

บทสรุป

ฟอร์ม (Form) คือ องค์ประกอบบนหน้าเว็บเพจท่ีทำหน้าท่รี ับข้อมูลจากผ้เู ย่ียมชมเว็บไซต์และส่ง
ข้อมูลเหล่าน้ันไปยังเคร่ืองบริการเว็บที่เรียกกันว่า เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) เพื่อทำการประมวลผล
อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การลงทะเบียนสมาชกิ การสั่งซื้อสินค้า เป็นต้น ภายในฟอร์มจะประกอบด้วยวัตถุ
หรือออบเจ็คต์ (Object) ต่าง ๆ ที่ทำหน้าท่ีรับข้อมูล ซึ่งมีหลายชนิด เช่น ฟิลด์กรอกข้อความ (Text
Field) รายการเลอื ก (List Menu) เชค็ บอ็ กซ์ (Check Box) เปน็ ต้น

การสร้างฟอร์ม เริ่มต้นด้วยการกำหนดขอบเขตของฟอร์มก่อนแล้วจึงนำข้อมูลต่าง ๆ ใส่ไว้ใน
ขอบเขตของฟอร์ม จากนน้ั จึงทำการปรบั แตง่ คณุ สมบัติของฟอร์มท่พี าเนลกำหนดคุณสมบัติ

คำถามทา้ ยบทท่ี 10

คำช้ีแจง
1. คำถามทา้ ยบทท่ี 10 เพ่ือทบทวนความรขู้ องนกั ศกึ ษาเร่ืองการสรา้ งฟอรม์ (Form) กรอกขอ้ มูล
2. การตอบคำถาม ใหน้ ักศกึ ษาเตมิ ข้อความลงในชอ่ งวา่ งให้สมบูรณ์

1. ฟอรม์ (Form) หมายถึง ………………………………………………………….……………………………………………..
…………………………………………………………………………………………….……………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………….……..

2. จงบอกหนา้ ท่ีของเครื่องมือสร้างฟอร์มดังต่อไปนี้
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………….

19

เอกสารอา้ งอิง

บญุ สืบ โพธศิ์ รี และอำภา กุลธรรมโยธิน (2547). การพฒั นาเว็บเพจดว้ ยโปรแกรมสำเรจ็ รูป.
กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมอาชวี ะ.

ดวงพร เก๋ยี งคำ. (2549). อินไซต์ Dreamweaver 8. กรงุ เทพฯ: โปรวชิ ่ัน.
ดวงพร เก๋ียงคำ. (2550). ค่มู ือสร้างเว็บไซตด์ ้วยตนเอง. กรงุ เพทฯ: โปรวิช่นั .
บรรณาธิการ นาถสงค์. (2550). Dreamweaver 8 Workshop. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดยี .
บอกอ แรมโบ.้ (2550). มอื ใหม่ Dreamweaver 8. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มเี ดยี .
พนั จนั ทร์ ธนวัฒนเสถียร. (2550). Dreamweaver 8 ฉบับเรยี นลัด. กรงุ เทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.
สทิ ธิชยั ประสานวงศ์. (2550). สรา้ งสรรคเ์ ว็บสวยด้วย Dreamweaver 8. กรุงเทพฯ: ซอฟทเ์ พรส.


Click to View FlipBook Version