The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ไปกับโลกล้านปี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปุรชัย วังจีน, 2023-06-10 15:19:40

ไปกับโลกล้านปี

ไปกับโลกล้านปี

นายปุรชัย วังจีน MMT36521N


ไดโนเสาร์ มาจากภาษากรีกรีซึ่งซึ่ก็คือ “สัตสัว์เว์ลื้อยคลานที่น่ากลัว” ไดโนเสาร์เร์ป็นสัตสัว์มีว์กมีระดูกดูสันสัหลังที่อยู่บยู่นโลกเมื่อมื่ 230 ล้านปีมาแล้ว และมีวิมีวัวิฒวันาการเป็นชนิดต่าง ๆ ยุคที่ไดโนเสาร์คร์รองโลกนั้นนั้เป็นเวลานาน มาก นานกว่าว่มนุษย์ แต่แล้วอยู่ๆยู่ ไดโนเสาร์ก็ร์ ก็ สูญสูพันพัธุ์ไธุ์ปอย่าย่งลึกลับเมื่อมื่ ประมาณ 65 ล้านปีก่อน เมื่อมื่หลายล้านปีก่อนโลกได้กำ เนิดสิ่งสิ่มีชีมีวิชีตวิขนาดใหญ่ขึ้นขึ้มาบนโลก มีหมีลายเผ่าหลายพันพัธุ์สธุ์าย ทั้งทั้ประเภทกินเนื้อและกินพืชพืเป็นอาหาร ต่าง ฝ่ายก็มีหมีลายเผ่าหลายพันพัธุ์สธุ์าย ทั้งทั้ประเภทกินเนื้อและกินพืชพืเป็นอาหาร ต่างฝ่ายก็ซึ่งซึ่ต่างก็ได้รับรัสมญานามว่าว่เป็นนักล่า โดยเฉาะ ทีแร็ก ร็ ซ์ และแร็พ ร็ เตอร์ นับว่าว่เป็นนักล่าในยุคจูลลาสสิคสิและฝ่ายหาอาหารจากพืชพืก็จะมีสิ่มีงสิ่ ป้องกันบางอย่าย่งเพื่อพื่เป็นเกราะคุ้มคุ้ครองของตน เอง เช่นช่หนามที่แหลมคม พวกนี้จะไม่ทำม่ ทำอันตรายพวกอื่นก่อนถ้าไม่ถูม่กถูรบกวนหรือรืถูกถูรุกรานก่อน แต่ แล้วสายพันพัธุ์ขธุ์องไดโนเสาร์ก็ร์ ก็ ต้องสิ้นสิ้สุดสุลงเพราะต้องเผชิญชิกับหายนะอัน ใหญ่ หลวงของโลกจากกลุ่มลุ่หินหิอุกกาบาตที่เข้าข้ถล่มโลกอย่าย่งบ้าบ้คลั่งลั่ทำ ให้ สิ่งสิ่มีชีมีวิชีตวิต้องจบสิ้นสิ้ลงไปด้วยเพราะไม่อม่าจทนความร้อร้นได้ ท้องฟ้าฟ้เต็มไป ด้วยเขม่าม่และควันวั ไฟที่โพยพุ่งพุ่ โลกเต็มไปด้วยความมืดมืมิดมิ ไม่มีม่แมีสงสว่าว่ง และเป็นเช่นช่นั้นนั้อยู่หยู่ลายปีและโลกเริ่มริ่เย็น ย็ ขึ้นขึ้ๆเรื่อรื่ยๆ และต่อมาก็เริ่มริ่เข้าข้สู่ ภาวะปกติ เริ่มริ่เข้าข้ยุคใหม่ที่ม่ ที่ เริ่มริ่ก่อกำ เนิดสิ่งสิ่มีชีมีวิชีตวิยุดใหม่เม่ข้าข้มาแทนที่สัตสัว์ ใหญ่ ที่เคยครองโลกอยู่คยู่งเหลือแต่ซากเถ้ากระดูกดูและฟอสซิลซิ ให้เห้ห็น ห็ มาจน ตราบทุกทุวันวันี้ ประวัติไดโนเสาร์


ซากดึกดำ บรรพ์ หรือรื ฟอสซิลซิ (fossil) คือ ซากหรือรืร่อร่ง รอยของพืชพื หรือรืสัตสัว์ที่ว์ ที่ ถูกถูเก็บรักรัษาไว้โว้ดยธรรมชาติในชั้นชั้หินหิ ในเปลือกโลก ประโยชน์ ของฟอสซิลซิ ฟอสซิลซิสามารถบอกให้เห้ราทราบถึงชนิดรูปแบบและ วิวัวิฒวันาการของสิ่งสิ่มีชีมีวิชีตวิ ในช่วช่ง ระยะเวลาทาง ธรณีวิทวิยารวมทั้งทั้บ่งบ่บอก สภาพแวดล้อมของ โลกในอดีตกาลอีกด้วยเนื่องจากในแต่ละช่วช่งระยะ เวลาทางธรณีวิทวิยาจะมีสิ่มีงสิ่มีชีมีวิชีตวิเกิดขึ้นขึ้เฉพาะบางชนิดเท่านั้นนั้จากการ คำ นวณหาอายุของหินหิทั้งทั้ ในโลกและจากดาวต่างๆในระบบสุริสุยริจักจัรวาลโดย เฉพาะ อย่าย่งยิ่งยิ่จากดวงจันจัทร์ โดยการศึกษาไอโซโทป(isotope)ของธาตุ กัมมันมัตรังรัสีต่สี ต่างๆ(radioactive elements)ที่เป็นส่วส่นประกอบของหินหิ รวมทั้งทั้การศึกษาเปรียรีบเทียบชั้นชั้หินหิ โดยใช้ซช้ากดึกดำ บรรพ์ ทำ ให้ทห้ราบอายุ ของโลกโดยประมาณ 4,600,000,000 ปี (4.6 billion years) และแบ่งบ่ช่วช่ง ระยะเวลาทางธรณีดังกล่าวออกเป็น บรมยุค(eon) มหายุค(era) ยุค(period) และ สมัยมั (epoch) ไดโนเสาร์ เป็นสัตสัว์เว์ลื้อยคลานชนิดหนึ่ง ซึ่งซึ่อาศัยอยู่บยู่นผืนแผ่นดินและสูญสูพันพัธุ์หธุ์มด สิ้นสิ้จากโลกนี้ เมื่อมื่หลายสิบสิล้านปีมาแล้ว


ไดโนเสาร์พร์วกแรก ปรากฎขึ้นขึ้มาในโลกในช่วช่งตอนปลายของ ยุคไทรแอ สสิกสิเมื่อมื่กว่าว่ 225ล้าน ปีมาแล้วเป็นเวลาที่ทวีปวีทั้งทั้หลาย ยังยัต่อเป็นผืน เดียวกัน สัตสัว์เว์ลื้อยคลานพวกนี้มีชีมีวิชีตวิอยู่แยู่ละมีวิมีวัวิฒวันาการตลอดระยะเวลา อันยาวนานถึง 160 ล้านปี กระจัดจักระจายแพร่หร่ลายอยู่ทั่ยู่ ทั่วทั่ผืนแผ่นดินใน โลก แล้วจึงจึได้สูญสูพันพัธุ์ไธุ์ปหมดในปลายยุคครีเรีทชียชีสหรือรืเมื่อมื่ 65 ล้านปีที่ ล่วงมาแล้ว ในขณะที่ต้นตระกูลกูของมนุษย์เย์พิ่งพิ่จะปรากฎในโลกเมื่อมื่ 5 ล้าน ปีที่ผ่านมา มนุษย์ปัย์ ปัจจุบันบันั้นนั้เพิ่งพิ่เริ่มริ่ต้นมาเมื่อมื่ ไม่เม่กินหนึ่งแสนปีมา นี่เอง มนุษย์มัย์กมัจะคิดว่าว่ ไดโนเสาร์นั้ร์ นั้นั้ โง่และธรรมชาติสร้าร้งมาไม่เม่หมาะสมกับ สภาพแวดล้อม จึงจึทำ ให้มัห้นมัต้องสูญสูพันพัธุ์ไธุ์ป โดยแท้จริงริแล้วไดโนเสาร์ไร์ด้ เจริญริแพร่หร่ลายเป็น เวลายาวนานกว่าว่ 30 เท่า ที่มนุษย์ไย์ด้อาศัยอยู่ใยู่นโลก ตลอดช่วช่งเวลาอันยาวนานนี้ไดโนเสาร์ไร์ด้มีวิมีวัวิฒวันา การออกไปเป็นวงศ์ สกุลกุต่าง ๆ กันมากมาย เท่าที่ค้นพบและจำ แนกแล้วประมาณ 340 ชนิด และคาดว่าว่ยังยัมีอีมี อีกเป็นจำ นวนมากที่กำ ลังรอคอยการค้นพบอยู่ใยู่นที่ต่าง ๆ กันทั่วทั่ โลก ทุกทุวันวันี้ ทั่วทั่ โลกมีคมีณะสำ รวจ ไดโนเสาร์อร์ยู่ปยู่ระมาณ100 คณะ ทำ ให้มีห้กมีารค้นพบไดโนเสาร์ชร์นิดใหม่เม่พิ่มพิ่ขึ้นขึ้อีกมากมาย ประมาณว่าว่มี การ ค้นพบไดโนเสาร์ชร์นิดใหม่เม่พิ่มพิ่ขี้น ขี้ 1ชนิดในทุกทุสัปสัดาห์นัห์ นักโบราณชีวชีวิทวิยา แบ่งบ่ ไดโนเสาร์อร์อกเป็น2กลุ่มลุ่ใหญ่โดยอาศัยความแตกต่างของกระดูกดู เชิงชิกรานคือ


คาร์โร์นซอร์ (Carnosaurs) พวกนี้ตัวใหญ่กว่าว่และแข็ง ข็ เเรงกว่าว่เทอโร พอตทั่วทั่ ไป เช่นช่ ไทรันรั โนซอรัสรัเร็ก ร็ ซ์ (Tyrannosaurus rex) ซีลุซี โลุรซอร์ (Coelurosaurs) พวกนี้กลับวิวัวิฒวันาการจนตัวเล็กลง แต่ ยังยัมีเมีขี้ย ขี้ วเล็บเเหลมคมตามแบบฉบับบัของเทอโรพอต และมีคมีวาม ว่อว่งไวปราดเปรียรีว เช่นช่คอมพ์ซพ์อกนาทัส ลองกิพิสพิ (Compsognathus longipes) 1. พวกซอริสริเซียซีน (Saurischians) มีกมีระดูกดูเชิงชิกรานเป็นแบบสัตสัว์ เลื้อยคลาน คือ กระดูกดูพิวพิบิสบิและอิสเชียชีมแยกออกจากกันเป็นมุมกว้าว้ง แบ่งบ่ออกเป็น 1. ซอโรพอต (Sauropods) คือพวกคอยาว สี่ข สี่ า กินพืชพืเช่นช่แบร็ค ร็ คิโอ ซอรัสรัอัลติธอแร็ก ร็ ซ์ (Brachiosaurus altithorax) อะเเพตโตซอรัสรัหลุยลุ เซ่ (Apatosaurus louisae) ฯลฯ 2. เทอโรพอต (Theropods) คือพวกกินเนื้อ ยืนยืสองขา และได้ วิวัวิฒวันาการออกเป็นสองสายพันพัธุ์ใธุ์หม่ คือ


2.แฮดโดรซอร์ (Hadrosaurs) มีปมีากคล้ายเป็นและมีหมีงอนบนหัวหัแบ่งบ่ ออกเป็น 2 กลุ่มลุ่ย่อย่ย คือ -แลมบีโบีอซอรีนรี (Lambeosaurinae) เป็นพวกที่มีหมีงอนหลายลักษณะและ มีกมีระดูกดูเชิงชิกรานใหญ่ เช่นช่พาราซอโรโลฟัสฟัวอคเครี (Parasaurolophus walkeri) แลมบีโบีอซอรัสรัแลมเบ (Lambeosaurus lambei) ฯลฯ -แฮดโดรซอรีนรี (Hadrosaurinae) คือชนิดที่ไม่มีม่หมีงอน และมีกมีระดูกดู เชิงชิกรานเล็ก เช่นช่เอ็ดมอนโตซอรัสรั (Edmontosaurus annectens) ฯลฯ 2. พวกออร์นิร์ นิธิสธิเชียชีน (Ornithiscians) มีกมีระดูกดูเชิงชิกรานเป็นแบบนก คือ กระดูกดูทั้งทั้สอง (พิวพิบิสบิและอิสเชียชีม) ชี้ไชี้ปทางด้านหลัง แบ่งบ่ออกเป็น 6 วงศ์ตระกูลกูดังนี้ 1. ออร์นิร์ นิโทพอต (Ornithopods) เป็นพวกที่มีปมีากเหมือมืนเป็ด เช่นช่อิกัวโน ดอน(Iguanodon)


5. แองคีโลซอร์ (Ankylosaurs) ตามตัวของพวกมันมัเต็มไปด้วยแผ่นกระ ดูกดูแข็ง ข็ ๆ และหางเป็นตุ้มตุ้ใช้ฟช้าดศัตรู เช่นช่แองคีโลซอรัสรัแม็ก ม็ นิเวน ทริสริ(Ankylosaurus magniventris) 6. เซอราท็อปเซียซีน (Ceratopsians) เป็นไดโนเสาร์กร์ลุ่มลุ่สุดสุท้ายที่ประกฏ ตัวบนโลก ลักษณะเด่นคือ “หน้าสามเขา” ตัวอย่าย่งที่เห็น ห็ ได้ชัดชัคือ ไทรเซ อราท็อปส์ (Triceratops) 4. สเตโกซอร์ (Stegosaurs) ลักษณะเด่นคือ มีกมีระดูกดูเป็นแผ่นหรือรืเป็น เดือยแหลมๆ อยู่บยู่นหลัง เช่นช่สเตโกซอรัสรัอามาทัส (Stegosaurus armatus) 3. พาคีเซฟาโลซอร์ (Pachycephalosaurs) รู้จัรู้กจักันในนาม “เจ้าจ้หัวหั กระดูกดู ” — ไม่ใม่ช่เช่พราะมันมั โง่ แต่เพราะมีหัมีวหัที่แข็ง ข็ มากๆ ซึ่งซึ่เป็นอาวุธชั้นชั้ดี เช่นช่พาคีเซฟาโลซอรัสรั (Pachycephalosaurus)


ตัวอย่าย่งข้อข้มูลไดโนเสาร์ชร์นิดต่างๆ คอมซอกนาทัส เป็นไดโนเสาร์เร์ทอโรพอด สกุลกุไดโนเสาร์ที่ร์ ที่ ตัวเล็กที่สุดสุใน โลก ลำ ตัวยาวประมาณ 70เซนติเมตร และมีน้ำมีน้ำหนักเพียพีง 3 กิโลกรัมรั ฟอสซิลซิของมันมัพบในเหมือมืงที่ประเทศเยอรมนี นอกจากนี้ยีงยีพบใน ประเทศไทยของเราด้วย คามาราซอรัสรัเป็นไดโนเสาร์กิร์ กินพืชพืตระกูลกูซอโรพอด 4 เท้า มีขมีนาดลำ ตัว ไม่ใม่หญ่ มีชีมีวิชีตวิอยู่ใยู่นกลางถึงปลายยุคจูแรสซิกซิเมื่อมื่ 155 -145 ล้านปีก่อน มีคมีวามยาวประมาณ 12-18 เมตร กะโหลกศีรษะมีลัมี ลักษณะสั้นสั้แต่ลึกเข้าข้ไป ด้านใน ขากรรไกรมีขมีนาดใหญ่ คอและหางสั้นสั้กว่าว่ซอโรพอดตัวอื่น ไม่มีม่ มี ปลายหางแส้ ลำ ตัวกลมหนาและค่อนข้าข้งสั้นสั้แขนขาใหญ่โตมีลัมี ลักษณะ คล้ายเสาหินหิขาหลังยาวกว่าว่ขาหน้าเล็กน้อย มีรูมีรูจมูกขนาด ใหญ่เหนือ ดวงตา เพื่อพื่ช่วช่ยในการระบายความร้อร้นและดมกลิ่น


คาร์ชร์าโรดอนโทซอรัสรั (Carcharodontosaurus)เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์กิร์ กิน เนื้อที่มีขมีนาดใหญ่โตและแข็ง ข็ แรงที่สุดสุมีขมีนาดโดยประมาณคือ 13 เมตร อาศัยอยู่ใยู่นทวีปวีแอฟริกริาเหนือเมื่อมื่ประมาณ 93-100 ล้านปีก่อน ชื่อชื่คาชา โรดอน มาจากภาษากรีกรีมีคมีวามหมาย ขรุขระ หรือรืคม คาร์โร์นทอรัสรั (อังกฤษ: Carnotaurus) ค้นพบที่ทุ่งทุ่ราบพาร์ตร์าโกเนียของ อาร์เร์จนตินา มีเมีขาอยู่บยู่นหัวหั 2 เขา เป็นลักษณะที่พิเพิศษของคาร์โร์นทอรัสรัชื่อชื่ ของมันมัมีคมีวามหมายว่าว่กิ้งก่ากระทิง ขนาดประมาณ 7.5 เมตร อาศัยอยู่ใยู่น ยุคครีเรีทเชียชีส ตอนปลายเมื่อมื่ประมาณ 75-80 ล้านปีก่อน


เคนโทรซอรัสรั (อังกฤษ: Kentrosaurus) ชื่อชื่ของมันมัมีคมีวามหมายว่าว่กิ้งก่า แหลมคม เพราะลำ ตัวส่วส่นหน้าของมันมัมีแมีผงกระดูอดูยู่ ส่วส่นจากหลังถึงหาง ของมันมัมีหมีนามแหลมคมอยู่ อาศัยอยู่ใยู่นยุคจูราสสิกสิตอนปลาย มันมัยาว 3- 5 เมตร พบที่แอฟริกริา อาวุธหลักของมันมัคือหนามยาวหนึ่งคู่ตคู่รงหาง กิน พืชพืเป็นอาหาร แคมป์โป์ทซอรัสรั (อังกฤษ: Camptosaurus – กิ้งก่าหลังโค้ง) มีชีมีวิชีตวิอยู่ใยู่น ช่วช่งปลายยุคจูแรสสิคสิชื่อชื่นี้มาจากโครงสร้าร้งของของมันมัที่สามารถยืนยืตรง 2 เท้าหรือรื 4 เท้าก็ได้ ขนาดตัวไม่ใม่หญ่มากนัก ความยาวประมาณ 6.5เมตร และ ส่วส่นสูงสู 2 เมตรจากพื้นพื้ถึงเอว เป็นไดโนเสาร์ใร์น กลุ่มลุ่สะโพกนก


โคริโริทซอรัสรั (อังกฤษ: Corythosaurus) เป็นไดโนเสาร์จำร์จำพวกแฮดโดร ซอร์ อาศัยช่วช่งปลายยุคครีเรีตเซียซีส เมื่อมื่ 65 ล้านปีก่อน ขนาด 12 เมตร ริวริ เท ซูน ฟอสซิลซิของมันมัพบที่ทวีปวีอเมริกริาเหนือ ชื่อชื่แปลว่าว่กิ้งก่ามงกุฏกุ ลักษณะปากของโคริโริทซอรัสรัคล้ายกระสุนสุปืน สามารถกินหินหิ ได้อย่าย่งสบาย ๆ เลยทีเดียว มันมัเป็นหนึ่งในเหยื่อยื่ที่โปรดปราณ ของ ไทรันรั โนซอรัสรั กิก้าโนโตซอรัสรัมีถิ่มี ถิ่นอาศัยอยู่ที่ยู่ ที่ ทุ่งทุ่ปาตาโกเนียที่ประเทศอาร์เร์จนตินาช่วช่ง กลางยุคครีเรีตเซียซีส 93 – 89 ล้านปี พบซากฟอสซิลซิ ในปี1993 เป็น 1 ใน 3 ไดโนเสาร์กิร์ กินเนื้อที่โตและดุที่ดุที่ สุดสุยาว13.5เมตร และนํ้าหนักอยู่รยู่ะหว่าว่ง 6.5-13.3 ตัน ความยาวกะโหลกศรีษรีระ 1.95 เมตร (6.3ฟุต


ซัลซัตาซอรัสรั (Saltasaurus) ซัลซัตาซอรัสรั ( กิ้งก่าจากซัลซัตา ) เป็นไดโนเสาร์ ตระกูลกูซอโรพอด ขนาดเล็กที่เหลืออยู่ถึยู่ ถึงปลายยุคครีเรีตเซียซีส 75 – 65 ล้านปี และ เป็นสายพันพัธุ์ที่ธุ์ ที่ มีขมีนาดเล็กลงมาอีก คือมีคมีวามยาวเพียพีง 12เมตร ซิตซิตะโกซอรัสรั (อังกฤษ: Psittacosaurus) หรือรื ไดโนเสาร์ปร์ากนกแก้ว มี ชีวิชีตวิอยู่ใยู่นยุคครีเรีตเชียชีสตอนต้นพบได้ในทวีปวีเอเชียชีและทวีปวียุโรป เป็นสัตสัว์ กินพืชพื 2 เท้าที่มีขมีนาดเล็ก เพราะมีคมีวาม ยาวลำ ตัวเพียพีง 2 เมตร กะโหลก ศีรษะแคบ กระดูกดูแก้มมีลัมี ลักษณะคล้ายเขา ตาและรูจมูกอยู่ค่ยู่ ค่อน ข้าข้งสูงสู จะงอยปากมีลัมี ลักษณะงองุ้มคล้ายปากของนกแก้ว


ซีโซีลไฟซิตซิ (อังกฤษ: Coelophysis) เป็นไดโนเสาร์มีร์ มีความสามารถในการ วิ่งวิ่อย่าย่งรวดเร็ว ร็ เพราะกระดูกดูของซีโซีลไฟซิตซินั้นนั้กลวง ซีโซีลไฟซิตซิยาว ประมาณ 3.2 เมตร อาหารของพวกซีโซีลไฟซิตซิคือซากสัตสัว์ที่ว์ ที่ ตายแล้ว กิ้งก่า และแมลง เซอราโตซอรัสรั (อังกฤษ: Ceratosaurus – กิ้งก่ามีเมีขา) เป็นไดโนเสาร์กิร์ กิน เนื้อ (เทอโรพอด) ช่วช่งปลายยุคจูแรสสิคสิมีคมีวามใกล้ชิดชิกับสายพันพัธุ์ขธุ์อ งอัลโลซอรัสรัแต่ขนาดตัวเล็กกว่าว่ครึ่งรึ่หนึ่ง ความยาวลำ ตัวประมาณ 6 เมตร แต่จากการคำ นวณคาดว่าว่ตัวโตที่สุดสุอาจยาวได้ 8.8 เมตร มี ลักษณะ คล้ายอัลโลซอรัสรั


ไซคาเนีย (อังกฤษ: Saichania) เป็นไดโนเสาร์หุ้ร์มหุ้เกราะชนิดหนึ่ง ชื่อชื่ของ มันมัมีคมีวามหมายว่าว่สวยงาม อาศัยอยู่ใยู่นยุคครีเรีทเชียชีสตอนปลาย ตรงที่ หางคล้ายมีกมีระบองติดอยู่ กระบองใช้เช้ป็นอาวุธฟาดศัตรู สาเหตุที่ตุที่ มันมั ได้ชื่อชื่ ว่าว่งดงามเป็นเพราะฟอสซิลซิของมันมัอยูในสภาพสมบูรณ์มาก ยาวประมาณ 7 เมตร กินพืชพืเป็นอาหาร ค้นพบฟอสซิลซิที่ประเทศญี่ปุ่น เมื่อมื่ปี ค.ศ. 1977 ไดพลอโดคัส (ชื่อชื่วิทวิยาศาสตร์:ร์ Diplodocus (เสียสีงอ่านภาษาอังกฤษ: /daɪˈplɒdəkəs/))หรือรืกิ้งก่าสันสัคู่ วงศ์ดิพโพลโดซิเซิด อันดับแยกย่อย่ย ซอ โรโพดา อันดับย่อย่ย ซอโรโพโดมอพา อันดับ ซอริสริเชียชีเป็นไดโนเสาร์ ตระกูลกูซอโรพอดเช่นช่เดียวกับ อะแพทโตซอรัสรัและ มีชื่มีชื่อชื่เสียสีงพอๆกัน ใน ด้านความยาวขนาดตัว ขนาดใหญ่โตเต็มที่ยาว 25-27 เมตร


ทาร์โร์บซอรัสรับาร์ทร์า เป็นไดโนเสาร์กิร์ กินเนื้อดุร้ดุาร้ยมากเหมือมืนไทรันรั โนซอรัสรั เป็นบรรพบุรุษของ ไทรันรั โนซอรัสรัพบได้ในเอเชียชีมองโกเลีย ความยาว ประมาณ 10-12 เมตร หนัก 5 – 6 ตัน สูงสูจากหัวหัถึงพื้นพื้ 5 เมตร อยู่ยุยู่ยุคครี เทเชียชีส 85 – 65 ล้านปีก่อน ทีนอนโตซอรัสรั (อังกฤษ: tenontosaurus) ชื่อชื่ของมันมัมีคมีวามหมายว่าว่ กิ้งก่าเอ็นกล้ามเนื้อ ที่ชื่อชื่ของมันมัมีคมีวามหมายแบบนี้เพราะมีเมีส้นส้เอ็นแข็ง ข็ ๆ ตั้งตั้แต่หลังไปจนถึงหาง พบในยุคครีเรีทเซียซีสตอนต้น ฟอสซิลซิของมันมัค้น พบที่อเมริกริาเหนือและแอฟริกริา ขนาด 5 เมตร เวลายืนยืมันมั ใช้ขช้าหลัง เวลา เดินมันมัจะใช้ขช้าทั้งทั้หมด


โทรโอดอน (Troodon หรือรื Troödon) เป็น ไดโนเสาร์ กินเนื้อที่จัดจัว่าว่เป็น ไดโนเสาร์ทีร์ ทีมีคมีวามฉลาดมากที่สุดสุไดโนเสาร์โร์ทรโอดอนเป็นไดโนเสาร์ที่ร์ ที่ มี ชีวิชีตวิอยู่ใยู่น ช่วช่งครีเรีตเชียชีสตอนปลาย พบได้ ในประเทศอเมริกริาและคานาดา ไททันโนซอรัสรั (อังกฤษ: Titanosaurus) จัดจัเป็นไดโนเสาร์กิร์ กินพืชพื ในกลุ่มลุ่ ซอโรพอด ลำ ตัวยาว 9-12 เมตร นำ หนัก 13 ตัน เกิดในยุคครีเรีทเชียชีสตอน ปลาย พบทางตอนใต้ของทวีปวียุโรปและทวีปวีอเมริกริาใต้


ไทรเซอราทอปส์ (อังกฤษ: triceratops) เป็นไดโนเสาร์ที่ร์ ที่ มีชีมีวิชีตวิอยู่ใยู่นปลาย ยุคครีเรีทเชียชีสราว 68-65ล้านปีมันมัเป็น1ในไดโนเสาร์ชร์นิดสุดสุท้าย ไทรเซอรา ทอปส์เส์ป็นไดโนเสาร์ขร์นาดใหญ่หนักราว6-8ตันและยาวได้กว่าว่ 6-10เมตร โดยทั่วทั่ ไปแล้วไทรเซอราทอปส์จส์ะกินเฟรินริสนซึ่งซึ่เป็นพืชพืเนื้อหยาบมันมัมีจมีง อยปากคล้ายนกแก้วไว้ตัว้ ตัดพืชพืและมันมัจะกลืนหินหิ ไปในกระเพาะเพื่อพื่บด อาหารหินหินี้ ไทแรนโนซอรัสรัหรือรืทิแรนโนซอรัสรัหรือรืเรียรีกอย่าย่งย่อย่ว่าว่ที. เรกซ์ (T. rex) เป็นไดโนเสาร์กิร์ กินเนื้อขนาดใหญ่ มีถิ่มี ถิ่นอาศัยตลอดทั่วทั่ตะวันวัตกเฉียง เหนือของทวีปวีอเมริกริา ซึ่งซึ่กว้าว้งกว่าว่ ไดโนเสาร์วร์งศ์เดียวกัน ไทแรนโนซอรัสรั อาศัยอยู่ใยู่นยุคครีเรีทเซียซีสตอน ปลายหรือรืประมาณ 68 ถึง 65 ล้านปีมา แล้ว เป็นหนึ่งในไดโนเสาร์พร์วกสุดสุท้ายที่ไม่มีม่ส่มีวส่นเกี่ยวข้อข้งกับนก ซึ่งซึ่มีชีมีวิชีตวิ อยู่ก่ยู่ ก่อนการสูญสูพันพัธุ์คธุ์รั้งรั้ใหญ่ครั้งรั้ที่สามในยุคครีเรีทเชียชีส ไทแรนโนซอรัสรั เป็นสัตสัว์กิว์ กินเนื้อ เดินสองขา มีกมีะโหลกศีรษะที่ใหญ่ และเพื่อพื่สร้าร้งความ สมดุลดุมันมัจึงจึมีหมีางที่มีน้ำมีน้ำหนักมาก มีขมีาหลังที่ใหญ่และทรงพลัง แต่กลับมี ขาหน้าขนาดเล็ก มีสมีองกรงเล็บ


บารีโรีอนิกซ์ (Baryonyx) เป็นไดโนเสาร์กิร์ กินเนื้อที่อยู่ใยู่นวงศ์สไปโนซอร์ มีถิ่มี ถิ่น กำ เนิดที่อังกฤษ บารีโรีอนิกซ์มีซ์ ฟัมีนฟัรูปกรวย มันมัมีเมีล็บหัวหัแม่มืม่อมืที่ใหญ่กว่าว่ เล็บอื่น ยังยัมีกมีารพบเกล็ดปลาดึกดำ บรรพ์ เลปิโดเทส ที่กระเพาะอาหารของ มันมัอีกด้วย ดังนั้นนั้นักวิทวิยาศาสตร์จึร์งจึคาดว่าว่มันมัคงจะกินปลาเป็นอาหาร โดยใช้เช้ล็บจิกจิ ปลาขึ้นขึ้มากิน แต่อย่าย่งไรก็ตาม มันมัก็กินไดโนเสาร์อื่ร์อื่นๆ และ กระทั่งทั่ลูกลูของมันมัเอง มันมัมีคมีวามยาวประมาณ10.5เมตร อาศัยอยู่ใยู่นยุคครี เทเชียชีสตอนต้น ประมาณ120ล้านปีก่อน แบรกคิโอซอรัสรั (อังกฤษ: Brachiosaurus) หรือรืกิ้งก่าท่อนแขน เป็นซอ โรพอดขนาดใหญ่ลำ ตัวยาว 30เมตรสูงสู 13-14 เมตรน้ำ หนัก 78 ตันหรือรื เท่ากับช้าช้งแอฟริกริา 15 เชือชืกอาศัยอยู่ใยู่นยุคจูแรสซิกซิ 200-130 ล้านปีก่อน ที่ขุดค้นพบอเมริกริาเหนือ และแอฟริกริา เคยเป็นซอโรพอดที่ตัวใหญ่ที่สุดสุ ก่อน


ขอบคุณ คุ


Click to View FlipBook Version