The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน”

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by irus.pc, 2022-07-14 04:19:51

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” เล่มที่ 2

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน”

คำนำ

คู่มือการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) เทศบาลนครหาดใหญ่
จังหวดั สงขลา จัดทาขึ้นโดยมีจดุ มุง่ หมายท่ีจะใช้เป็นแนวทางในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ในการ
พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซ่ึงมุ่งหวังที่จะเสริมศักยภาพการเรียนรู้ในด้านการอ่านจับใจความ ของ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ให้ออกมาเปน็ รูปธรรม โดยการสร้างและพัฒนาแบบฝึกทักษะการอา่ นจับ
ใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีท่ี ๖

ภายในเล่มประกอบด้วย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
หลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) สาระและ
มาตรฐานการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) คุณภาพผู้เรียน
เมื่อจบช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ตารางการจัดการเรียนการสอน โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ
ชดุ “เดินตามรอยพ่อสอน” ตารางวเิ คราะห์หนว่ ยการเรียนรู้ คาช้ีแจงเบ้ืองต้นสาหรับการใช้แบบฝึก
ทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” คาแนะนาสาหรับครูผสู้ อน คาแนะนาสาหรับ
นักเรียน แผนภูมิลาดับข้ันการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน และหลังเรียน พรอ้ ม
เฉลย และแผนการจดั การเรียนรู้ จานวน ๑๗ แผน

หวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่า ค่มู ือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ครูผู้สอนและผู้เกย่ี วขอ้ ง สาหรบั เป็นแนวทาง
ในการพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ไดเ้ ป็นอย่างดยี ิ่ง

วันดี เหล่าสุวรรณ

สำรบญั

เรอื่ ง หนำ้

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑

หลักสูตรสถานศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรียนเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ่) ๘

สาระและมาตรฐานการเรยี นกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) ๑๑

คณุ ภาพผ้เู รยี นเมื่อจบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๑๖

ตารางการจดั การเรียนการสอน โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความ

ชดุ “เดินตามรอยพ่อสอน” ๑๗

ตารางวเิ คราะห์หน่วยการเรยี นรู้ ๒๐

คาช้ีแจงเบ้อื งตน้ สาหรบั การใช้แบบฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” ๒๒

คาแนะนาสาหรับครผู สู้ อน ๒๓

คาแนะนาสาหรบั นักเรยี น ๒๕

แผนภมู ิลาดับขัน้ การเรยี น ๒๖

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๑ ความรักสามัคคี ๒๗

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๒ อา่ นจับใจความจากนทิ าน ๔๘

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑๓ นทิ าน เรอื่ ง กระรอกเจาะมะพรา้ ว ๖๗

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๑๔ ความพอเพยี ง ๘๙

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๕ อ่านจับใจความจากประกาศ ๑๑๐

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๖ หมูบ่ า้ นเห็ดหอม ๑๓๑

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๗ สรปุ ผลการจัดการเรียนการสอน

(ทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังเรียน) ๑๕๔

บรรณานุกรม ๑๖๘



หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย
และกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด
ความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พร้อมกันน้ีได้ปรับ
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร ให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ท่มี ุ่งเน้นการกระจายอานาจทาง
การศึกษาให้ท้องถิ่น และสถานศึกษาได้มีบทบาท และมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพ่ือให้
สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของท้องถ่ิน (สานกั นายกรฐั มนตรี, ๒๕๔๒)

จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ ๖ ปีที่ผ่านมา (สานัก
วิชาการ และมาตรฐานการศึกษา: ๒๕๔๖ก., ๒๕๔๖ข., ๒๕๔๘ก., ๒๕๔๘ข.; สานักงานเลขาธิการ
สภาการศึกษา: ๒๕๔๗; สานกั ผูต้ รวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผล: ๒๕๔๘; สุวมิ ล วอ่ งวาณชิ และ
นงลักษณ์ วริ ชั ชยั : ๒๕๔๗; Nutravong: ๒๐๐๒; Kittisunthorn: ๒๐๐๓) พบวา่ หลกั สูตรการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริมการกระจายอานาจทาง
การศึกษาทาให้ท้องถ่ินและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้
สอดคล้องกับความต้องการของท้องถ่ิน และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียน
แบบองค์รวมอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็น
ปัญหา และความไมช่ ัดเจนของหลักสูตรหลายประการ ท้ังในสว่ นของเอกสารหลักสูตร กระบวนการ
นาหลักสูตรสู่การปฏบิ ัติ และผลผลิตท่ีเกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏิบัติ
ในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญ่กาหนดสาระและผล
การเรียนรู้ท่ีคาดหวังไว้มาก ทาให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัด และประเมินผลไม่สะท้อน
มาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษา และการเทียบโอนผลการเรียน
รวมท้ังปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
อันยังไมเ่ ป็นท่นี ่าพอใจ



นอกจากน้ันแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔)
ได้ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒ นาคุณ ภาพคน ในสังคมไทยให้มี
คุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และ
ศลี ธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพือ่ นาไปสสู่ ังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนา
คนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพ้ืนฐานจิตใจท่ีดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมท้ังมีสมรรถนะ
ทักษะและความรู้พื้นฐานที่จาเป็นในการดารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบย่ังยืน
(สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ: ๒๕๔๙) ซึ่งแนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธกิ ารในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษท่ี ๒๑ โดยมุ่งส่งเสริมผ้เู รียน
มีคุณธรรม รกั ความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวเิ คราะห์ สรา้ งสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถ
ทางานร่วมกับผู้อ่ืน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศึกษาธิการ:
๒๕๕๑)

จากข้อค้นพบในการศึกษาวิจัย และติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ ท่ีผ่านมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๐ เก่ียวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการใน
การพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๔๔ เพ่ือนาไปสู่การพฒั นาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ทีม่ คี วาม
เหมาะสมชัดเจน ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
พัฒนาประเทศพ้ืนฐานในการดารงชีวิต การพัฒนาสมรรถนะ ทักษะและกระบวนการนาหลักสูตร
ไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่ชัดเจน
เพื่อใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนั้นได้กาหนด
โครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และ
เปดิ โอกาสให้สถานศึกษาเพม่ิ เติมเวลาเรยี นได้ตามความพร้อมและจดุ เน้น อีกท้ังได้ปรบั กระบวนการ
วัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสารแสดงหลักฐานทาง
การศึกษาใหม้ คี วามสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ และมีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติ

เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ น้ี จัดทาขึ้นสาหรับ
ท้องถ่ินและสถานศึกษาได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และ
จดั การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้มีคุณภาพ
ด้านความรู้ และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหา
ความร้เู พ่อื พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิต



มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีกาหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ในทุกระดับเห็นผลคาดหวังท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะ
สามารถช่วยให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่าง
มั่นใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขน้ึ อีกท้ังยัง
ช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอน
ระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา
จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียน
ทุกกลมุ่ เป้าหมายในระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้
ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางาน
อย่างเป็นระบบ และต่อเน่ือง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจน
ปรับปรุงแกไ้ ข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ที่กาหนดไว้

วสิ ัยทศั น์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้
เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและ
เป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ังเจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษา
ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพ

หลักการ
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน มีหลกั การทีส่ าคัญ ดังน้ี
๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ
เรียนรู้ เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน
พน้ื ฐานของความเป็นไทยควบคกู่ บั ความเป็นสากล
๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง
เสมอภาค และมคี ุณภาพ



๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาให้สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของทอ้ งถ่ิน

๔. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาท่มี โี ครงสร้างยดื หยนุ่ ทัง้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรียนรู้

๕. เป็นหลักสูตรการศึกษาทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั
๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทกุ กล่มุ เป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ดังนี้
๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชวี ติ
๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทดี่ ี มีสุขนสิ ยั และรกั การออกกาลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะท่ีมุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่งท่ีดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม
อยา่ งมคี วามสขุ

สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียน
ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์ ดงั นี้



สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ม่งุ ใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดงั น้ี
๑. ความสามารถในการส่ือสาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวัฒนธรรมในการ

ใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ
ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรอื สารสนเทศเพ่ือการตดั สินใจเก่ียวกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ
ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มา
ใช้ในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีเกิดขึ้น
ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ
ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และ
การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ
ความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรจู้ กั หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่นื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี
ด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ
เรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม



คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เพื่อให้สามารถอยู่รว่ มกับผอู้ ่นื ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒. ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ
๓. มีวนิ ัย
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อยู่อย่างพอเพยี ง
๖. มุ่งมน่ั ในการทางาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ
นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้อง

ตามบริบทและจุดเน้นของตนเอง

มาตรฐานการเรยี นรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน จึงกาหนดใหผ้ ูเ้ รียนเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ดังน้ี
๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร์
๓. วิทยาศาสตร์
๔. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๕. สุขศึกษาและพลศกึ ษา
๖. ศลิ ปะ
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘. ภาษาต่างประเทศ



ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และ
คา่ นิยมท่พี ึงประสงค์เมอ่ื จบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน นอกจากนัน้ มาตรฐานการเรยี นรู้ยงั เปน็ กลไกสาคัญ
ในการขับเคลอ่ื นพัฒนาการศกึ ษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรยี นรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการ
อะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกัน
คุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายใน และการประเมินคุณภาพภายนอก
ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือ
ประกันคณุ ภาพดังกลา่ วเป็นส่ิงสาคัญท่ีช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาวา่ สามารถพัฒนาผู้เรยี นให้
มีคณุ ภาพตามทมี่ าตรฐานการเรยี นรกู้ าหนดเพียงใด

ตวั ชวี้ ัด
ตวั ช้ีวัดระบสุ ิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัตไิ ด้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแตล่ ะระดับช้ัน
ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการ
กาหนดเนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัด
ประเมนิ ผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรยี น
๑. ตัวช้ีวัดช้ันปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละช้ันปีในระดับการศึกษา ภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓)
๒. ตัวชี้วัดช่วงช้ัน เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ – ๖)



หลกั สูตรสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
โรงเรียนเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ)่

วสิ ัยทศั น์หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ่)
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ่) มุ่งพัฒนานักเรียนมีความรคู้ ู่คุณธรรม
ดาเนินชีวิตในสังคมอย่างมีความสุขภายใต้สุขภาพอนามัยที่ดี มีทักษะพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ รักความ
เป็นไทย ยึดม่ันในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม
ประเพณี และภูมปิ ญั ญาไทย

ภารกิจและเปา้ หมายโรงเรยี นเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่)
ภารกิจ
โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) มุ่งพัฒนาการจัดการศึกษาตามวิสัยทัศน์หลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานและหลักสูตรของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ จึงได้กาหนดภารกจิ การจัด
การศึกษาของสถานศกึ ษา ดงั นี้
๑. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
รเู้ ทา่ ทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงและมคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ดี
๒. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะและศักยภาพในการศึกษา
ตอ่ เจตคตทิ ดี่ ตี อ่ การประกอบอาชพี
๓. ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยคานึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล และการทางานเป็นทีม
๔. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีปลูกฝังจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย
และเป็นพลโลก ยึดมน่ั ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข



เปา้ หมาย
โรงเรยี นเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ)่ มุ่งพัฒนาการจดั การศกึ ษาตามวสิ ัยทศั นห์ ลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ จึงได้กาหนดเป้าหมายการจัด
การศกึ ษาของสถานศึกษา ดังน้ี

๑. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย
และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

๒. ผู้เรียนมีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความรู้อันเป็นสากล และมีความสามารถในการสื่อสาร
การคิด การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต สามารถนาความรู้ไปศึกษาต่อและประกอบ
อาชพี พนื้ ฐาน

๓. ผู้เรียนมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มสี ุขนิสยั และรกั การออกกาลงั กาย
๔. ผู้เรียนมีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต
และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ
๕. ผู้เรียนมีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
ส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะท่ีมุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม
อยา่ งมคี วามสุข
๖. ผู้เรียนสามารถใชภ้ าษาและเทคโนโลยีเพือ่ การสอื่ สารได้

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) ได้กาหนดสมรรถนะสาคัญของ
ผู้เรียนโดยใช้แนวทางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ
สาคญั ๕ ประการ ดงั น้ี
๑. ความสามารถในการส่ือสาร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ
ใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรคู้ วามเข้าใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเองเพ่อื แลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรอง
เพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ
ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม

๑๐

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้
หรือสารสนเทศเพ่อื การตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ
ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธแ์ ละการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรู้มา
ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจทีม่ ีประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้น
ตอ่ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้
ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่
ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ
ขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรู้จกั หลีกเลยี่ งพฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงค์ท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผูอ้ ่นื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยี
ด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการ
เรยี นรู้ การสอื่ สาร การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) ได้กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผู้เรยี นโดยใช้แนวทางของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ซึง่ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย
และพลโลก ดังนี้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒. ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ
๓. มีวินยั
๔. ใฝเ่ รียนรู้
๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
๖. มุง่ ม่นั ในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มจี ติ สาธารณะ

๑๑

สาระและมาตรฐานการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
โรงเรียนเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ่)

ตวั ช้วี ัดชัน้ ปี

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว ๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว ๑. อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้

และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง และบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง

๒. อธิบายความหมายของคา ๒. อธบิ ายความหมายของคา ๒. อธิบายความหมายของคา

ประโยค และสานวนจาก ประโยคและข้อความท่เี ปน็ ประโยคและข้อความท่เี ป็น

เรอ่ื งท่ีอา่ น การบรรยาย และการ โวหาร

๓. อ่านเรอื่ งสัน้ ๆ ตามเวลาที่ พรรณนา ๓. อา่ นเรื่องส้นั ๆ อย่าง

กาหนด และตอบคาถามจาก ๓. อธบิ ายความหมายโดยนัย หลากหลายโดยจับเวลาแล้ว

เรอ่ื งท่ีอา่ น จากเรือ่ งทอ่ี ่านอย่าง ถามเกยี่ วกับเรอื่ งท่ีอ่าน

๔. แยกข้อเท็จจรงิ และ หลากหลาย ๔. แยกข้อเทจ็ จริงและ

ข้อคิดเหน็ จากเร่ืองที่อ่าน ๔. แยกข้อเท็จจรงิ และ ขอ้ คิดเหน็ จากเรื่องท่ีอ่าน

๕. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรื่อง ขอ้ คิดเห็นจากเรื่องที่อา่ น ๕. อธิบายการนาความรแู้ ละ

ทอ่ี า่ นโดยระบุเหตผุ ล ๕. วเิ คราะหแ์ ละแสดงความ ความคดิ จากเรื่องที่อ่านไป

ประกอบ คิดเหน็ เก่ียวกบั เรื่องท่ีอ่าน ตัดสินใจแกป้ ัญหาในการ

๖. สรุปความรแู้ ละข้อคิดจาก เพื่อนาไปใช้ในการดาเนนิ ดาเนนิ ชวี ิต

เรอ่ื งท่ีอ่านเพอ่ื นาไปใชใ้ น ชีวิต ๖. อ่านงานเขยี นเชงิ อธบิ าย

ชีวติ ประจาวัน ๖. อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนา และปฏบิ ตั ิ

๗. อ่านหนงั สอื ทม่ี คี ุณคา่ ตาม คาส่งั ข้อแนะนา และปฏบิ ัติ ตาม

ความสนใจอย่างสมา่ เสมอ ตาม ๗. อธบิ ายความหมายของข้อมูล

และแสดงความคิดเหน็ ๗. อา่ นหนงั สือทม่ี ีคุณค่าตาม จากการอ่านแผนผงั แผนที่

เก่ียวกบั เร่อื งที่อ่าน ความสนใจอยา่ งสมา่ เสมอ แผนภมู ิ และกราฟ

๘. มีมารยาท ในการอ่าน และแสดงความคดิ เหน็ ๘. อ่านหนังสือตามความสนใจ

เก่ยี วกบั เรอ่ื งทีอ่ ่าน และอธิบายคุณค่าท่ีได้รบั

๘. มีมารยาทในการอา่ น ๙. มมี ารยาทในการอา่ น

๑๒

สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว

ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีประสิทธภิ าพ

ตวั ชี้วดั ชนั้ ปี

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็ม ๑. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็ม ๑. คัดลายมือ ตวั บรรจงเต็ม

บรรทดั และครงึ่ บรรทดั บรรทดั และครงึ่ บรรทัด บรรทดั และครึ่งบรรทดั

๒. เขียนสื่อสารโดยใชค้ าได้ ๒. เขยี นสอ่ื สารโดยใช้คาได้ ๒. เขียนสอ่ื สารโดยใชค้ าได้

ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม ถูกต้อง ชดั เจนและเหมาะสม ถกู ต้อง ชัดเจนและเหมาะสม

๓. เขียนแผนภาพ โครงเร่ือง ๓. เขียนแผนภาพ โครงเร่ือง ๓. เขยี นแผนภาพ โครงเร่ือง

และแผนภาพความคดิ เพ่ือใช้ และแผนภาพความคดิ เพ่ือใช้ และแผนภาพความคิดเพื่อใช้

พัฒนางานเขยี น พฒั นางานเขยี น พัฒนางานเขยี น

๔. เขียนย่อความจากเรื่องส้ันๆ ๔. เขยี นย่อความจากเร่ืองที่อ่าน ๔. เขียนเรยี งความ

๕. เขยี นจดหมายถึงเพื่อน และ ๕. เขียนจดหมายถึงผ้ปู กครอง ๕. เขียนยอ่ ความจากเรื่องท่ีอ่าน

บดิ ามารดา และญาติ ๖. เขยี นจดหมายส่วนตัว

๖. เขียนบนั ทกึ และเขียน ๖. เขยี นแสดงความรู้สึกและ ๗. กรอกแบบรายการตา่ งๆ

รายงานจากการศึกษา ความคิดเห็นไดต้ รงตาม ๘. เขยี นเรื่องตามจินตนาการ

ค้นควา้ เจตนา และสร้างสรรค์

๗. เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ ๗. กรอกแบบรายการตา่ งๆ ๙. มีมารยาทในการเขียน

๘. มมี ารยาทในการเขียน ๘. เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการ

๙. มมี ารยาทในการเขียน

๑๓

สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพดู
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึก

ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์

ตัวชี้วัดชนั้ ปี

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. จาแนกข้อเท็จจริง และ ๑. จาแนกข้อเท็จจริง และ ๑. จาแนกข้อเทจ็ จริง และ

ข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่ฟัง ขอ้ คิดเหน็ จากเร่ืองที่ฟัง ข้อคิดเหน็ จากเรื่องที่ฟัง

และดู และดู และดู

๒. พูดสรุปความจากการฟัง ๒. ต้ังคาถามและตอบคาถาม ๒. ต้งั คาถามและตอบคาถาม

และดู เชงิ เหตผุ ลจากเร่อื งที่ฟงั เชิงเหตผุ ลจากเร่อื งที่ฟัง

๓. พดู แสดงความรู้ความคดิ เหน็ และดู และดู

และความรสู้ ึกเกย่ี วกับเรื่องท่ี ๓. วเิ คราะห์ความน่าเช่ือถือจาก ๓. วิเคราะห์ความน่าเชอื่ ถือจาก

ฟังและดู เรือ่ งท่ีฟงั และดูอย่างมีเหตผุ ล การฟงั และดสู ื่อโฆษณาอย่าง

๔. ตงั้ คาถามและตอบคาถาม ๔. พดู รายงานเรื่องหรอื ประเดน็ มเี หตผุ ล

เชิงเหตผุ ลจากเรอื่ งที่ฟงั ท่ีศึกษาค้นควา้ จากการฟงั ๔. พูดรายงานเร่ืองหรือประเดน็

และดู การดู และการสนทนา ทศี่ ึกษาค้นควา้ จากการฟงั

๕. รายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ี ๕. มมี ารยาทในการฟงั การดู การดู และการสนทนา

ศึกษาค้นคว้าจากการฟงั และการพดู ๕. พูดโนม้ นา้ วอยา่ งมีเหตุผล

การดู และการสนทนา และนา่ เชอื่ ถือ

๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู ๖. มีมารยาทในการฟงั การดู

และการพูด และการพูด

๑๔

สาระที่ ๔ หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลัง

ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ

ตัวชวี้ ดั ช้นั ปี

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. สะกดคาและบอก ๑. ระบุชนดิ และหนา้ ที่ของคา ๑. วเิ คราะห์ชนดิ และหนา้ ท่ี

ความหมายของคาในบรบิ ท ในประโยค ของคาในประโยค

ตา่ งๆ ๒. จาแนกสว่ นประกอบของ ๒. ใชค้ าไดเ้ หมาะสมกบั

๒. ระบชุ นดิ และหนา้ ทขี่ องคา ประโยค กาลเทศะและบคุ คล

ในประโยค ๓. เปรียบเทยี บภาษาไทย ๓. รวบรวมและบอกความหมาย

๓. ใช้พจนานุกรมค้นหา มาตรฐานกบั ภาษาถิ่น ของคาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้

ความหมายของคา ๔. ใช้คาราชาศัพท์ ในภาษาไทย

๔. แต่งประโยคไดถ้ ูกต้องตาม ๕. บอกคาภาษาต่างประเทศใน ๔. ระบลุ กั ษณะของประโยค

หลกั ภาษา ภาษาไทย ๕. แต่งบทร้อยกรอง

๕. แต่งบทร้อยกรอง และคา ๖. แตง่ บทร้อยกรอง ๖. วเิ คราะห์ และเปรียบเทยี บ

ขวัญ ๗. ใช้สานวนได้ถูกต้อง สานวนทเ่ี ปน็ คาพงั เพยและ

๖. บอกความหมายของสานวน สภุ าษติ

๗. เปรยี บเทียบภาษาไทย

มาตรฐานกับภาษาถ่ินได้

๑๕

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น

คุณค่าและนามาประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จรงิ

ตวั ชว้ี ดั ชั้นปี

ป.๔ ป.๕ ป.๖

๑. ระบุข้อคิดจากนทิ านพ้ืนบา้ น ๑. สรุปเรือ่ งจากวรรณคดหี รือ ๑. แสดงความคิดเห็นจาก

หรือนทิ านคติธรรม วรรณกรรมที่อา่ น วรรณคดี หรือวรรณกรรม

๒. อธิบายขอ้ คดิ จากการอ่าน ๒. ระบุความรแู้ ละข้อคดิ จาก ท่ีอ่าน

เพอ่ื นาไปใชใ้ นชวี ติ จริง การอ่านวรรณคดแี ละ ๒. เล่านทิ านพ้นื บ้านท้องถิน่

๓. ร้องเพลงพน้ื บ้าน วรรณกรรมที่สามารถ ตนเอง และนิทานพืน้ บา้ น

๔. ท่องจาบทอาขยานตามที่ นาไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ของทอ้ งถิ่นอ่นื

กาหนด และบทรอ้ ยกรองทม่ี ี ๓. อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดี ๓. อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดี

คณุ คา่ ตามความสนใจ และวรรณกรรม และวรรณกรรมทอี่ ่านและ

๔. ทอ่ งจาบทอาขยาน ตามท่ี นาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริง

กาหนด และบทร้อยกรองท่ีมี ๔. ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่

คณุ ค่าตามความสนใจ กาหนด และบทรอ้ ยกรองทมี่ ี

คณุ คา่ ตามความสนใจ

๑๖

คุณภาพผเู้ รยี นเมอ่ื จบช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖

๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะได้ถูกต้อง อธิบาย
ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัยของคา ประโยค ข้อความ สานวนโวหาร จากเร่ืองท่ีอ่าน
เข้าใจคาแนะนา คาอธิบายในคู่มอื ตา่ งๆ แยกแยะข้อคิดเห็นและข้อเท็จจรงิ รวมท้ังจับใจความสาคัญ
ของเรื่องที่อ่าน และนาความรู้ความคิดจากเร่ืองที่อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิตได้
มมี ารยาทและมีนิสัยรักการอา่ น และเหน็ คุณค่าสง่ิ ท่ีอ่าน

๒. มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนสะกดคา แต่งประโยค
และเขียนข้อความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาชัดเจนเหมาะสม ใช้แผนภาพ โครงเร่ืองและ
แผนภาพความคิด เพื่อพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายการ
ต่างๆ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น เขียนเร่ืองตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ และมี
มารยาทในการเขยี น

๓. พูดแสดงความรู้ ความคิดเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและดู เล่าเรื่องย่อหรือสรุปจากเร่ืองท่ีฟัง
และดู ตั้งคาถาม ตอบคาถามจากเร่ืองท่ีฟังและดู รวมท้ังประเมินความน่าเชื่อถือจากการฟังและดู
โฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดตามลาดับขั้นตอนเรื่องต่างๆ อย่างชัดเจน พูดรายงานหรอื ประเด็นค้นคว้า
จากการฟัง การดู การสนทนา และพูดโนม้ นา้ วได้อย่างมีเหตุผล รวมทง้ั มีมารยาทในการดแู ละพดู

๔. สะกดคาและเข้าใจความหมายของคา สานวน คาพังเพย และสุภาษิต รู้และเข้าใจ
ชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ชนิดของประโยค และคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้คา
ราชาศัพท์และคาสุภาพได้อย่างเหมาะสม แต่งประโยค แต่งบทร้อยกรองประเภทกลอนส่ี กลอนสุภาพ
และกาพย์ยานี ๑๑

๕. เข้าใจและเห็นคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน เล่านิทานพื้นบ้าน ร้องเพลงพื้นบ้าน
ของท้องถิ่น นาข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และท่องจาบทอาขยานตามที่
กาหนดได้

๑๗

ตารางการจัดการเรยี นการสอน

โดยใช้แบบฝึกทักษะการอา่ นจบั ใจความ ชดุ “เดินตามรอยพ่อสอน”
กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย สาหรบั นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖

จานวน ๑๗ ชวั่ โมง

เรื่อง ตวั ชว้ี ัด จานวน
ความเพยี ร (ชวั่ โมง)

การทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (กอ่ นเรยี น) ๑

- อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง ๓

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑)

- อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่ีเปน็ โวหาร

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒)

- แยกข้อเทจ็ จริงและข้อคดิ เห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔)

- อธบิ ายการนาความรแู้ ละความคิดจากเรื่องท่อี า่ นไปตัดสินใจ

แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕)

- อา่ นหนังสือตามความสนใจ และอธิบายคุณค่าทไ่ี ด้รับ

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘)

- มมี ารยาทในการอา่ น (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙)

- เขียนสือ่ สารโดยใช้ถอ้ ยคาถูกต้อง ชดั เจน เหมาะสม และ

สละสลวย (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒)

- เขียนแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับสาระจากสอ่ื ที่ไดร้ บั

(มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖)

- มมี ารยาทในการเขียน (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙)

๑๘

เรือ่ ง ตวั ชี้วดั จานวน
ความซอ่ี สตั ย์ (ชว่ั โมง)

ความกตัญญู - อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๓

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑)

- อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความทเี่ ป็นโวหาร

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒)

- แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเห็นจากเรอื่ งทอ่ี ่าน (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔)

- อธิบายการนาความรู้และความคดิ จากเร่ืองทอี่ ่านไปตดั สินใจ

แก้ปัญหาในการดาเนนิ ชีวิต (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕)

- อา่ นหนงั สือตามความสนใจ และอธิบายคุณค่าท่ีไดร้ ับ

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘)

- มมี ารยาทในการอา่ น (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙)

- เขยี นสื่อสารโดยใชถ้ อ้ ยคาถูกตอ้ ง ชัดเจน เหมาะสม และ

สละสลวย (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒)

- เขยี นแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับสาระจากสอื่ ท่ีไดร้ บั

(มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖)

- มีมารยาทในการเขียน (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙)

- อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๓

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑)

- อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและขอ้ ความที่เปน็ โวหาร

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒)

- แยกข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็นจากเรอ่ื งที่อ่าน (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔)

- อธบิ ายการนาความรู้และความคิดจากเรื่องทอ่ี า่ นไปตดั สินใจ

แกป้ ัญหาในการดาเนนิ ชวี ติ (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕)

- อ่านหนังสอื ตามความสนใจ และอธิบายคุณค่าทีไ่ ด้รบั

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘)

- มีมารยาทในการอา่ น (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙)

- เขียนส่อื สารโดยใชถ้ อ้ ยคาถูกต้อง ชดั เจน เหมาะสม และ

สละสลวย (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒)

- เขยี นแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับสาระจากส่อื ที่ได้รับ

(มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖)

- มีมารยาทในการเขียน (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙)

๑๙

เรอ่ื ง ตวั ช้วี ัด จานวน
(ชัว่ โมง)

ความรกั สามัคคี - อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๓

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑)

- อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่ีเป็นโวหาร

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒)

- แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เห็นจากเร่ืองทีอ่ า่ น (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔)

- อธิบายการนาความร้แู ละความคิดจากเร่ืองทอ่ี า่ นไปตดั สนิ ใจ

แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕)

- อ่านหนังสือตามความสนใจ และอธิบายคุณคา่ ทไ่ี ดร้ บั

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘)

- มมี ารยาทในการอา่ น (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙)

- เขียนส่อื สารโดยใชถ้ ้อยคาถูกต้อง ชดั เจน เหมาะสม และ

สละสลวย (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒)

- เขียนแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับสาระจากส่ือท่ีไดร้ ับ

(มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖)

- มีมารยาทในการเขียน (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙)

ความพอเพียง - อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๓

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑)

- อธบิ ายความหมายของคา ประโยคและข้อความท่ีเปน็ โวหาร

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒)

- แยกข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ จากเรอ่ื งที่อา่ น (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔)

- อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเรื่องที่อา่ นไปตดั สินใจ

แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชวี ิต (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕)

- อ่านหนังสือตามความสนใจ และอธบิ ายคุณค่าทไี่ ดร้ ับ

(มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘)

- มีมารยาทในการอ่าน (มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙)

- เขยี นสื่อสารโดยใชถ้ ้อยคาถูกตอ้ ง ชดั เจน เหมาะสม และ

สละสลวย (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒)

- เขยี นแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับสาระจากส่ือที่ไดร้ ับ

(มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖)

- มมี ารยาทในการเขียน (มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙)

การทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น (หลังเรียน) ๑

รวม ๑๗

๒๐

ตารางวิเคราะห์หนว่ ยการเรียนรู้

แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน”
กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย สาหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๖

จานวน ๑๗ ชว่ั โมง

การอ่าน

จบั ใจความ

เรือ่ ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การ ่อาน จานวน
การคิดวิเคราะ ์ห (ชว่ั โมง)
การเ ีขยน

ความเพียร ๑. อ่านจับใจความสาคญั ในเร่ือง ความเพียร ได้    ๓
ความซอี่ สตั ย์ ๒. แสดงความคิดเหน็ ระบุประเด็นสาคัญ และ ๓

อธิบายความแตกต่าง ความสัมพนั ธเ์ ชิง
เหตุผลจากเร่อื งท่ีอ่านได้
๓. ให้ความรว่ มมือ สนใจ มุง่ มนั่ มีความ
รับผดิ ชอบ มีมารยาทในการอ่าน และการ
เขยี น ในระหวา่ งทากจิ กรรม
๑. อา่ นจบั ใจความสาคญั ในเร่ือง ความซอี่ สัตย์   
ได้
๒. แสดงความคดิ เห็น ระบปุ ระเดน็ สาคัญ และ
อธิบายความแตกตา่ ง ความสัมพนั ธเ์ ชิง
เหตผุ ลจากเร่อื งท่ีอ่านได้
๓. ใหค้ วามรว่ มมือ สนใจ มุ่งมนั่ มคี วาม
รบั ผดิ ชอบ มมี ารยาทในการอ่าน และการ
เขยี น ในระหว่างทากิจกรรม

๒๑

การอา่ น

จบั ใจความ

เร่ือง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ การ ่อาน จานวน
การคิดวิเคราะ ์ห (ชว่ั โมง)
การเ ีขยน

ความกตญั ญู ๑. อา่ นจบั ใจความสาคัญ ในเร่ือง ความกตัญญู  ๓
ความรกั สามัคคี ได้  ๓
ความพอเพียง  ๓
๒. แสดงความคดิ เห็น ระบุประเด็นสาคญั และ
อธบิ ายความแตกตา่ ง ความสัมพนั ธ์เชิง
เหตผุ ลจากเรื่องที่อ่านได้

๓. ใหค้ วามรว่ มมือ สนใจ มงุ่ มัน่ มคี วาม
รับผดิ ชอบ มมี ารยาทในการอ่าน และการ
เขยี น ในระหว่างทากิจกรรม

๑. อา่ นจับใจความสาคัญ ในเรื่อง ความรกั
สามัคคี ได้

๒. แสดงความคิดเห็น ระบุประเดน็ สาคัญ และ
อธิบายความแตกต่าง ความสัมพันธ์เชิง
เหตุผลจากเรือ่ งที่อ่านได้

๓. ใหค้ วามรว่ มมือ สนใจ มุง่ มน่ั มีความ
รบั ผิดชอบ มีมารยาทในการอ่าน และการ
เขียน ในระหวา่ งทากจิ กรรม

๑. อา่ นจับใจความสาคญั ในเร่ือง ความพอเพยี ง
ได้

๒. แสดงความคิดเหน็ ระบปุ ระเด็นสาคญั และ
อธิบายความแตกตา่ ง ความสัมพันธเ์ ชิง
เหตผุ ลจากเร่ืองท่ีอ่านได้

๓. ให้ความรว่ มมือ สนใจ มุ่งมัน่ มีความ
รับผิดชอบ มีมารยาทในการอ่าน และการ
เขยี น ในระหวา่ งทากิจกรรม

๒๒

คาช้ีแจงเบ้อื งต้น
สาหรับการใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านจับใจความ

ชดุ “เดนิ ตามรอยพ่อสอน”

แบบฝกึ ทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” เป็นแบบฝึกทักษะที่เน้นให้
ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในการทากิจกรรมการเรียนรู้ มีการฝึกทักษะร่วมกัน เป็นกลุ่ม ซ่ึงจะส่งผล
ให้นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งสามารถนาความรู้ และ
ทักษะกระบวนการดงั กลา่ ว ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ไดต้ อ่ ไปในอนาคต

ภายในเน้ือหาของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” จะ
ประกอบด้วย

๑. คาชแ้ี จงเบอื้ งตน้
๒. ข้อแนะนาสาหรบั ครูผ้สู อน
๓. ข้อแนะนาสาหรับผเู้ รียน
๔. มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้ีวัด
๕. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๖. สาระการเรียนรู/้ สาระสาคญั
๗. ใบความรู้
๘. แบบฝึกทกั ษะ
๙. แบบทดสอบหลังเรยี น
๑๐. บรรณานุกรม
๑๑. ภาคผนวก (เฉลยแบบฝกึ ทกั ษะ/เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน)

๒๓

คาแนะนาสาหรับครูผูส้ อน

แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” น้ี ใช้เป็นส่ือที่ใช้ประกอบ
การจัดกิจกรรมการเรียนร้เู พื่อพัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ และบูรณาการรว่ มกบั พระบรมราโชวาท
ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ท่ีทรง
พระราชทานแก่ชาวไทย โดยท้ัง ๕ คาสอนน้ีถือเป็นประโยชน์ สามารถใช้ยึดถือเป็นแนวทางในการ
ดารงชีวิตได้ ในวิถีแห่งความพอเพียง พออยู่ พอกิน และคงไว้ซ่ึงความดี ความซ่ือสัตย์สุจริต เพื่อให้
สังคมท่ีเราอย่เู ปน็ สังคมท่ดี ี โดยมขี ้ันตอนในกระบวนการจัดการเรยี นการสอนดงั นี้

กอ่ นสอน

๑. ครูต้องเตรียมเอกสารสาหรับใช้ในการสอนเรียงตามลาดับก่อน – หลังตามที่ระบุไว้ใน
แบบฝึกทักษะ

๒. ศึกษารายละเอียดของแบบฝกึ ทกั ษะในแต่ละแบบฝกึ

ขณะสอน

๑. ช้ีแจงกระบวนกระบวนการใช้แบบฝึกทักษะท่ีนักเรียนต้องปฏิบัติตามขณะเรียนรู้ด้วย
แบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความ ชดุ “เดนิ ตามรอยพอ่ สอน” กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย

๒. ดาเนินกิจกรรมตามกระบวนการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้โดย
ครูผู้สอนกระตุ้น และเสริมองค์ความรู้ให้กับผู้เรียน พร้อมให้นักเรยี นเรียนรู้ และศึกษาจากใบความรู้
จากน้ันให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะเพ่ือประเมินผลความรู้ของนักเรียน หลังเรียนโดยใช้แบบฝึก
ทักษะ

๓. ให้นักเรยี นปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามแบบฝกึ ทักษะการคิดวิเคราะห์
๔. ครูเป็นผู้แนะนา และเป็นที่ปรึกษาระหว่างที่นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม รวมถึงการสงั เกต
พฤติกรรมและตรวจสอบการทางานของนักเรียนระหว่างทากิจกรรมพร้อมท้ังบันทึกผลการสังเกต
พฤตกิ รรมลงในแบบประเมนิ

๒๔

หลังสอน
๑. สรุปผลการเรยี นรู้/ทบทวน รว่ มกบั นักเรียน
๒. เสริมแรงกระตุ้นให้กับนักเรียนท่ียังมีผลการเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ เช่น การให้กาลังใจ

การให้นักเรยี นกลบั ไปศึกษาเน้ือหาใบความร้ใู หม่อกี ครั้ง

๒๕

คาแนะนาสาหรับนักเรียน

แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” ทีน่ ักเรียนกาลังใชศ้ ึกษาอยู่
ขณะน้ี มีขัน้ ตอนในการใช้สาหรบั นกั เรยี นดังตอ่ ไปนี้

๑. แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” มีจานวนทั้งหมด ๕ เร่ือง
โดยแต่ละเรื่องจะใชเ้ วลาเรยี นเร่อื งละ ๓ ช่วั โมง

๒. นักเรยี นจะต้องทาการแบ่งกลุม่ เพื่อร่วมกนั ศกึ ษาและร่วมกนั ทากจิ กรรมต่างๆ ใน เช่น
การแสดงความคิดเหน็ การอภปิ ราย การใหข้ อ้ เสนอแนะ

๓. ก่อนทาการศึกษาและเรียนรู้ นักเรียนจะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์การ
เรียนรู้ ตลอดจน สาระการเรยี นร้แู ละสาระสาคญั ของแตล่ ะเนอื้ หาทน่ี ักเรียนกาลงั เรียนให้เข้าใจ

๔. นักเรียนทาการศกึ ษาใบความรู้ก่อนทากิจกรรมจากแบบฝึกทกั ษะทกุ ครั้ง
๕. ในการทากิจกรรมจากแบบฝึกทักษะ นักเรียนจะต้องมีความซื่อสัตย์ ไม่ดูเฉลยใน
ขณะที่ทากิจกรรม
๖. หลังจากทากจิ กรรมจากแบบฝึกทกั ษะเสร็จแล้ว นกั เรยี นจะต้องตรวจคาตอบจากเฉลย
ทา้ ยแบบฝึกทักษะ ถา้ นักเรียนยังทากิจกรรมจากแบบฝึกทักษะไม่ผา่ นเกณฑ์ นกั เรยี นจะต้องกลับไป
ศึกษาและทาความเขา้ ใจจากใบความรูใ้ หม่อีกคร้งั
๗. เม่ือนักเรียนเรยี นจบในแต่ละแบบฝึกทักษะแล้ว นักเรยี นจะต้องทาการประเมินความรู้
ของนกั เรยี น จากการทาแบบทดสอบหลังเรียน (จานวน ๑๐ ข้อ)
๘. แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” น้ี นักเรียนสามารถใช้
ศกึ ษานอกเวลาเรยี นได้

๒๖

ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้
และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

อา่ นคาชีแ้ จง คาแนะนาต่างๆ

ศกึ ษาใบความรู้
ทากจิ กรรมจากแบบฝกึ ทักษะ พรอ้ มตรวจจากเฉลยท้ายแบบฝกึ

ทาแบบทดสอบหลังเรยี น (๑๐ ข้อ)

ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์
ศกึ ษาแบบฝกึ ทักษะชดุ ตอ่ ไป ศึกษาใบความรู้(ทบทวน)
ทากิจกรรมจากแบบฝกึ ทักษะ
พร้อมตรวจจากเฉลยท้าย

แบบฝึกทกั ษะ

๒๗

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๑ ๑๗ ชัว่ โมง

กลมุ่ สาระฯ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖
จานวน ๓ ชั่วโมง
เร่อื ง ความรักสามัคคี เวลา ๑ ชั่วโมง
วนั ทส่ี อน .๓.....ม...ิถ..นุ...า.ย...น.....๒...๕...๖...๒........................

มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ัด

มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ตัดสินใจ
แก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต และมนี ิสัยรักการอ่าน

มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๑ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๒ อธิบายความหมายของคา ประโยคและขอ้ ความที่เป็นโวหาร
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๔ แยกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คิดเห็นจากเรื่องท่ีอ่าน
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๕ อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเร่ืองท่ีอ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหา

ในการดาเนินชีวติ
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๘ อ่านหนังสอื ตามความสนใจ และอธิบายคุณค่าทไ่ี ดร้ ับ
มฐ. ท ๑.๑ ป.๖/๙ มมี ารยาทในการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความและเขียนเรื่องราว

ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษา
คน้ ควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๒ เขยี นส่ือสารโดยใชถ้ ้อยคาถูกตอ้ ง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๖ เขยี นแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับสาระจากสอื่ ทไี่ ด้รับ
มฐ. ท ๒.๑ ป.๖/๙ มีมารยาทในการเขยี น

๒๘

สาระสาคัญ
สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกัน

ปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามที่ต้องการ เกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัด
เอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความ
หลากหลายในเรอื่ งเชื้อชาติ ความกลมเกลยี วกันในลกั ษณะเช่นนี้ เรียกอกี อย่างวา่ ความสมานฉนั ท์

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

เมอ่ื นักเรยี นเรยี นจบในเน้ือหานแ้ี ล้ว นกั เรยี นสามารถ
๑. อา่ นจบั ใจความสาคัญ ในเรอ่ื ง ความรกั สามคั คี ได้ (K)
๒. แสดงความคิดเห็น ระบุประเด็นสาคัญ และอธิบายความแตกต่าง ความสัมพันธ์เชิง
เหตุผลจากเรอื่ งทีอ่ ่านได้ (P)
๓. มีความร่วมมือ สนใจ มุ่งม่ัน มีความรับผิดชอบ มีมารยาทในการอ่าน และการเขียน
ในระหว่างทากิจกรรม (A)

สาระการเรยี นรู้

ความรักสามัคคี

กิจกรรมการเรียนรู้

ขั้นนา
๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเนื้อหาในเร่ือง “ความกตัญญู” ที่ได้เรียนมาในชั่วโมงท่ี
ผ่านมา พร้อมให้นักเรียนยกตัวอย่างการใช้ชีวิตประจาวันของนักเรียนเมื่อได้เรียนในเรื่อง “ความ
กตญั ญ”ู ผา่ นไป นกั เรียนได้นาเอาไปใช้ประโยชน์ในเร่ืองอะไรบ้าง
๒. ครูนาภาพความสามัคคใี หน้ ักเรยี นดู โดยให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพทีน่ กั เรียนเหน็

๒๙

๓. ครูสมุ่ นักเรียน เพ่อื ตอบคาถามเกี่ยวกับภาพท่ีนักเรยี นเห็น เชน่
- ภาพที่นักเรียนเห็น มีสาระสาคัญคือเร่ืองอะไร (ความสามัคคี การเสียสละเวลา และ

แรงงานเพอ่ื ส่วนรวม)
- จากภาพมุ่งเน้นให้ประชาชนดาเนินชีวิตอย่างไร (ให้มีความสามัคคี การเสียสละเวลา

และแรงงานเพื่อสว่ นรวม)
๔. ครูสนทนากับนักเรียนในเรื่องของ “ความสามัคคี” โดยครูให้ความรู้เบื้องต้นกับนักเรียน

ว่า การทเี่ ราจะอยู่ในสงั คมทกุ วันนไ้ี ดน้ ้นั จาเป็นอย่างยิ่งทจ่ี ะตอ้ งช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ช่วยเหลือใน
ท่ีน้ีหมายถึง การรู้จักการเสียสละ เสียสละแรงกาย เสียสละเวลาของตนเองเพื่อประโยชน์ของส่วนร่วม
ถ้าเรารจู้ กั การเสียสละ ก็จะทาใหเ้ ราสามารถอยูร่ ่วมกันได้อย่างมีความสุขในสังคม

ขัน้ สอน
๕. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ ๔ – ๕ คน โดยแต่ละกลุ่มทาการเลือกประธานกลุ่ม
และ รองประธานกลุ่ม เพ่อื รับผิดชอบดแู ลสมาชิกในกลมุ่
๖. ประธานกลุ่ม/รองประธานกลุ่ม ออกมารับแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความ ชดุ “เดิน
ตามรอยพ่อสอน” ชดุ ท่ี ๔ เรือ่ ง ความรกั สามัคคี เพอื่ นาไปแจกใหก้ บั สมาชกิ ในกล่มุ
๗. เมื่อแต่ละกลุ่มได้รับแบบฝึกทักษะฯ แล้ว ให้เริ่มศึกษาเนื้อหาจากแบบฝึกทักษะ โดย
เร่ิมตั้งแต่การศึกษามาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ รวมถึง
บทบาทของตนเอง เพอื่ ทาความเข้าใจ
๘. แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ที่ ๑ เร่ือง ความรักสามัคคี โดยสมาชิกใน
กลุ่มร่วมกันศึกษา เรยี นรู้ ใหค้ าแนะนา รวมถงึ การสรปุ และอภิปรายเน้ือหาท่ีศึกษาร่วมกนั
๙. เมอื่ ทาการศึกษาเน้ือหาจากใบความรู้ที่ ๑ จนเข้าใจแล้ว ใหส้ มาชิกแต่ละคนทาแบบฝึก
ทักษะที่ ๑ และ ๒ (ทาเปน็ รายบคุ คล)
๑๐. เม่ือนักเรียนแต่ละคนทาแบบฝึกทักษะท่ี ๑ และ ๒ เสร็จแล้ว ให้จับคู่กับเพื่อนในกลุ่ม
เพื่อส่งแบบฝึกทักษะที่ทาเสร็จแล้วให้เพ่ือนตรวจ ในกรณีท่ีคะแนนยังไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ ๘๐)
ให้นักเรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาเพื่อทาความเข้าใจอีกคร้ัง จากนั้นกลับมาทาแบบฝึกใหม่ จนกว่า
คะแนนจะผา่ นเกณฑ์

๓๐

ข้นั สรปุ (Summarizing)
๑๑.ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ในเร่อื ง การอา่ นจบั ใจความ จนได้ขอ้ สรปุ ว่า
“สามัคคี คอื ความพรอ้ มเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกัน

ปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามที่ต้องการ เกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัด
เอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความ
หลากหลายในเรื่องเช้ือชาติ ความกลมเกลยี วกนั ในลักษณะเชน่ นี้ เรียกอีกอยา่ งวา่ ความสมานฉนั ท์”

๑๒. ครูแจง้ ใหน้ ักเรียนมาศึกษาเน้ือหาในเรือ่ งการอ่านจับใจความ โดยใช้แบบฝึกทักษะการ
อา่ นจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพอ่ สอน” ชดุ ท่ี ๔ เรอ่ื ง ความรักสามคั คี ในชวั่ โมงตอ่ ไป

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
๑. ตัวอย่างบทความ
๒. แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ชุด “เดินตามรอยพ่อสอน” ชุดที่ ๔ เร่ือง ความรัก

สามคั คี
๓. ใบความรู้ท่ี ๑ เรื่อง ความรักสามัคคี
๔. แบบฝึกทกั ษะท่ี ๑ และ ๒

การวดั ผลประเมนิ ผล

สงิ่ ที่ต้องการวัด วิธวี ดั ผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมินผล
อา่ นจับใจความสาคัญ ในเรื่อง ตรวจแบบฝึก แบบฝกึ ทักษะที่ ทาแบบฝกึ ทักษะ
ความรักสามัคคี ได้ ทักษะ ๑ และ ๒ ถกู ต้องผ่านเกณฑ์
ร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป
แสดงความคดิ เหน็ ระบปุ ระเด็น ตรวจแบบฝึก แบบฝึกทกั ษะท่ี ทาแบบฝึกทักษะ
สาคัญ และอธิบายความแตกต่าง ทกั ษะ ๑ และ ๒ ถูกต้องผ่านเกณฑ์
ความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผลจากเรอ่ื งที่ ร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป
อ่านได้ - แบบประเมนิ
ให้ความร่วมมือ สนใจ มุง่ มั่น มคี วาม ประเมนิ พฤติกรรมการ มพี ฤติกรรมการ
รบั ผิดชอบ มมี ารยาทในการอ่าน พฤติกรรมการ ทางานกล่มุ ทางานกลุม่ ผา่ น
และการเขียน ในระหว่างทากิจกรรม ทางานกล่มุ เกณฑ์อย่ใู นระดับดี

๓๑

บันทกึ ผลการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้

ผลการจัดการเรียนการสอนตามตวั ช้วี ัด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ปญั หา / อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ลงชือ่ ………………………………………………………… ลงชื่อ ………………………………………………………
(นางวันดี เหล่าสวุ รรณ) (นางสาวพชั ราภรณ์ เรืองศรี)

ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ตาแหน่ง หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

ลงชอื่ ………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………………………………
(นางปรดี า ชว่ ยสุข) (นายธานนิ ทร์ แก้วจรุ ตั น์)

ตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ฝา่ ยวชิ าการ ตาแหนง่ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
โรงเรยี นเทศบาล ๒ (บา้ นหาดใหญ)่ โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่)

๓๒

`

ความรกั สามคั คี

ความสามคั คี คืออะไร
สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกัน

ปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามที่ต้องการ เกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากการทะเลาะวิวาท ไม่เอารัด
เอาเปรียบกัน เป็นการยอมรับความมีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความ
หลากหลายในเรอ่ื งเชอื้ ชาติ ความกลมเกลียวกนั ในลักษณะเชน่ นี้ เรยี กอีกอย่างวา่ ความสมานฉนั ท์

๓๓

ผู้ที่มีความสามัคคี คือ ผู้ท่ีเปิดใจกว้างรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน รู้บทบาทของตน ทั้งใน
ฐานะผู้นาและผู้ตามที่ดี มีความมุ่งมั่นต่อการรวมพลงั ช่วยเหลือเกื้อกลู กันเพ่ือให้การงานสาเร็จลุล่วง
แก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม
ความคดิ ความเชอื่ พรอ้ มทจี่ ะปรบั ตัวเพ่ืออยู่รว่ มกนั อยา่ งสนั ติ

สามัคคี คือ พลังคือแรงขับเคลอื่ นให้เราก้าวเดินต่อไปขา้ งหน้า แม้วา่ จะมอี ุปสรรคมากนอ้ ย
เพียงใดถ้าเรามีความเป็นหนึ่งเดียวกันแล้ว แม้อุปสรรคจะมากมายสักเพียงใด เราก็จะมีแรง
ขบั เคล่ือนให้ผา่ นพน้ อุปสรรคน้ันๆไปได้เชน่ เดียวกัน

ในชีวิตดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์ทุกคน ย่อมต้องมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้อ่ืน ไม่ว่าจะ
เป็นคนในครอบครัว เพื่อนร่วมห้อง เพ่ือนร่วมงาน หรือแม้กระทั่งผู้นาระดับประเทศ ต่างก็ต้องมี
ปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผู้อื่นด้วยกันท้ังส้ิน จะบอกว่าเราอยู่คนเดียวได้โดยไม่จาเป็นต้องมีเพ่ือนน้ันเป็น
อะไรท่ีไม่สามารถทาได้ เพราะในชีวิตประจาวันของเราจะต้องมีผู้คนเข้ามาเกี่ยวข้องสัมพันธ์ด้วย
ตลอดเวลาตั้งแต่ตืน่ นอนจนกระทั้งเขา้ นอน

ปจั จัยเก้ือหนุนให้เกิดความสามัคคี คือ ความสามัคคกี ลมเกลียวกัน หรือความร่วมมือและ
ร่วมใจกัน เป็นสิ่งท่ีสาคัญที่คนไทยทุกคนๆ คนพึงมีอยู่ในจิตสานึก และช่วยกันสร้างสรรค์ให้เกิดข้ึน
พ้ืนฐานที่สุดของการจรรโลงความสามัคคีกลมเกลียวกันให้บังเกิดขึ้น และดารงอยู่ต่อไปอย่างแน่นแฟ้น
คือ การรู้จักหน้าท่ีของตนเอง ในหมู่สมาชิกของสังคม และประเทศนั้นๆ กล่าวคือ ผู้ใดมีภาระหน้าที่
อนั ใดอยู่ กเ็ ร่งกระทาให้สาเร็จลุล่วงไปให้ทันการณ์ทันเวลา โดยเต็มกาลัง ความรู้ ความสามารถ และโดย
บริสุทธิ์จริงใจ ผลงานของแต่ละคนจักได้ประกอบส่งเสริมกันข้ึนเป็นความสาเร็จและความม่ันคงของ
ชาติ

๓๔

การที่จะเกิดความสามัคคีได้ในการกระทาต้องเริ่มจากใจภายในเสียก่อน ถ้าทุกคนมีความ
สามคั คีเป็นนา้ หนึ่งใจเดียวกนั แล้ว ประเทศชาติย่อมคลาดแคล้วจากภยั ของศตั รู และตงั้ มน่ั มีความสุข
สมบูรณ์อยู่ได้ หากขาดความสามัคคี ไม่รักใคร่ไว้วางกัน ปราศจากความปรองดองเป็นน้าหน่ึงใจ
เดียวกนั การดาเนินงานย่อมจะไมส่ าเร็จ

ธรรมทีเ่ สริมสร้างความสามัคคีของหมู่คณะคือ สังคหวัตถุ ๔ ประการซ่ึงไดแ้ ก่
ทาน คือ การใหป้ นั ของแกผ่ อู้ ่ืนท่ีควรให้ปัน ตลอดจนให้ความรู้ ความเขา้ ใจ และศลิ ปวิทยา
ปิยวาจา คือ พูดจาปรารัยด้วยถ้อยคาอ่อนหวานไพเราะเป็นที่เจริญใจ มีวาจาที่นิ่มนวล
ไพเราะ ออ่ นหวาน เป็นคณุ ทาให้เกิดความพอใจแกผ่ ไู้ ดย้ นิ ได้ฟัง
อัตถจริยา คือ การประพฤติส่ิงท่ีเป็นประโยชน์แก่กันและกัน ช่วยเหลือกันด้วยกาลังกาย
กาลงั ความคดิ และกาลังทรัพย์ เปน็ ตน้
สมานัตตตา คือ ความเป็นผู้วางตนเหมาะสม ประพฤติปฏิบัติตามท่ีควรจะเป็น วางกิริยา
อัธยาศยั ใหเ้ หมาะกับฐานะ หรือตาแหนง่ หนา้ ที่
การเสริมสร้างความสามัคคี มีแต่ได้ไม่มีเสียหาย ขอให้ปรารถนาดีต่อกันอย่างจริงจัง และ
ปฏิบัติตามธรรม ๔ ประการ ข้างต้น เมื่อได้ประพฤติปฏิบัติ ความสามัคคีย่อมจะเกิดข้ึน เมื่อเกิด
ความสามัคคีข้ึนแล้ว การงานทุกอย่างแม้จะยากสักเพียงใด ก็กลายเป็นง่าย ชีวิตมีแต่ความราบรื่น
แม้จะเกิดอุปสรรคก็สามารถขจัดให้หมดส้ินได้ ดังคากล่าวท่ีว่า "สามัคคีคือพลัง” เพียงแต่ทุกคน
ดารงชีวิตบนพ้ืนฐานแห่งคุณธรรม ให้ทุกคนมีความรัก และช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มีความสามัคคี
และเสยี สละเพื่อสว่ นรวม ดังพุทธภาษติ ว่า

“สขุ า สงฆสส สามคี แปลว่า ความสามัคคีของหมู่ทาใหเ้ กิดสุข”

๓๕

คณุ ธรรมความสามคั คตี ามแนวพระราชดารสั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว

“...ในปัจจุบันน้ีเป็นท่ีทราบว่า ประเทศชาติอยู่ในภาวะที่ต้องอาศัยความเข็มแข็ง เพ่ือที่จะให้
อยู่รอด ประเทศไทยจะอยู่ได้ก็ด้วยทุกคน ทุกฝ่ายสามัคคีกัน ความสามัคคีน้ันได้พูดอยู่เสมอว่าต้องมี
แต่อาจจะเข้าใจยากว่าทาไมสามัคคจี ะทาให้บา้ นเมืองอยู่ได้ สามัคคกี ็คอื การเห็นแก่บา้ นเมืองและชว่ ยกัน
ทุกวิถีทาง เพื่อที่จะสร้างบ้านเมืองอยู่ได้ สามัคคีน้ีก็คือ การเห็นแก่บ้านเมือง และช่วยกันทุกวิถีทาง
เพื่อที่จะสรา้ งบ้านเมืองให้เขม้ แข็ง ด้วยการเห็นอกเห็นใจซ่ึงกันและกัน และไม่ทาลายงานของกันและกัน
และทางานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ต้องส่งเสริมงานของกันและกัน และไม่ทาลายงานของกันและกัน
มีเร่ืองอะไรให้ได้พูดปรองดองกัน อย่าเรื่องใครเรื่องมัน และงานก็ทางานอย่างตรงไปตรงมา นึกถึง
ประโยชนส์ ว่ นรวม...”

พระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั
พระราชทานในพิธปี ระดบั ยศนายตารวจช้นั นายพล ณ พระตาหนักจติ รลดารโหฐาน

วนั พฤหัสบดที ่ี ๑๕ มกราคม ๒๕๑๙

จากพระราชดารัสดังกลา่ ว พอจะสรุปได้วา่
ความสามัคคี คือ ความสามารถจะทางานเพื่อส่วนรวม หรือความพร้อมที่จะให้ความ
ร่วมมือกันและกัน เพื่อเอื้อประโยชน์ส่วนรวม ซ่ึงความสามัคคีแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ความ
สามัคคีของวิชาการ และความสามัคคีในจิตใจ ความสามัคคีวิชาการคือ การประสานความรู้ และ
ทักษะของผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ มากมาย เพื่อส่งผลสาเร็จในด้านต่างๆ มาสู่
ประเทศ สว่ นความสามัคคีในจติ ใจเป็นลักษณะของการปรองดองกัน โดยเกิดจากความเมตตากรณุ า
กันและกัน มีจติ ใจผูกพันทีจ่ ะชว่ ยเหลอื กนั และกนั เพอ่ื ให้งานนั้นๆ บรรลเุ ปา้ หมาย

๓๖



คาสงั่ ให้นกั เรียนอา่ นพระบรมราโชวาททก่ี าหนดให้ โดยจบั ใจความสาคญั คดิ วเิ คราะห์
แล้วเขียนตอบลงในช่องวา่ ง (๑๐ คะแนน)

๓๗

๑. พระบรมราโชวาทกลา่ วถึงเรือ่ งใดเป็นสาคญั
๒. พระบรมราโชวาทนี้ พระราชทานให้กบั ผูใ้ ด
๓. พระบรมราโชวาทในงานอะไร
๔. เหตใุ ดพระองค์ท่านจึงพระราชทานบรมราโชวาทนี้
๕. ใจความสาคญั ของพระบรมราโชวาทนีค้ อื อะไร
๖. เพราะเหตุใดในหลวงจึงพระราชทานพระบรมราโชวาทนี้
๗. ในหลวงทรงนาเร่อื งใดมากล่าวอ้างเพื่อนามาสู่ความสามัคคี
๘. ในหลวงทรงให้ทหารทุกนายตระหนักในเรื่องใดมากที่สดุ
๙. นกั เรียนรู้สกึ อยา่ งเมื่อได้อา่ นพระบรมราโชวาทนี้
๑๐. สาระสาคญั ที่พระองคท์ รงพระราชทาน คืออะไร

๓๘



คาส่ัง ใหน้ ักเรยี นอ่านพระบรมราโชวาทท่กี าหนดให้ โดยตง้ั คาถาม พร้อมตอบคาถามท่ีต้ังไว้
ให้ถกู ต้อง (๑๐ คะแนน)

๓๙

ข้อที่ ๑

คาถาม
คาตอบ

ข้อท่ี ๒

คาถาม
คาตอบ

ขอ้ ที่ ๓

คาถาม
คาตอบ

ขอ้ ท่ี ๔

คาถาม
คาตอบ

ข้อที่ ๕

คาถาม
คาตอบ

๔๐



๑. พระบรมราโชวาทกลา่ วถึงเรอ่ื งใดเป็นสาคญั
ความสามัคคี

๒. พระบรมราโชวาทน้ี พระราชทานใหก้ บั ผู้ใด
ทหารรักษาพระองค์

๓. พระบรมราโชวาทในงานอะไร
พธิ ตี รวจพลสวนสนามเนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา

๔. เหตุใดพระองคท์ า่ นจึงพระราชทานบรมราโชวาทน้ี
ต้องการใหท้ หารได้ตระหนักถึงความสามคั คี

๕. ใจความสาคัญของพระบรมราโชวาทนค้ี ืออะไร
ความสามัคคจี ะนามาส่ผู ลประโยชน์ของส่วนรวมเปน็ หลัก

๖. เพราะเหตุใดในหลวงจงึ พระราชทานพระบรมราโชวาทน้ี
ตอ้ งการใหท้ หารทุกนายมีความรัก มีความสามัคคีในการปฏิบตั ิงาน

๗. ในหลวงทรงนาเรื่องใดมากล่าวอ้างเพื่อนามาสู่ความสามัคคี
ความเป็นอธิปไตยของประไทย

๘. ในหลวงทรงใหท้ หารทุกนายตระหนกั ในเรื่องใดมากท่ีสุด
ความสามคั คี

๔๑

๙. นักเรยี นร้สู ึกอยา่ งเม่ือได้อา่ นพระบรมราโชวาทนี้
ปลม้ื ปิติ และสามารถนาไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั ได้

๑๐. สาระสาคญั ที่พระองค์ทรงพระราชทาน คืออะไร
ความสามัคคี และความเสียสละ จะนามาสผู่ ลประโยชนข์ องสว่ นรวม

๔๒



ข้อที่ ๑

คาถาม ในหลวงทรงพระราชทานพระบรมราโชวาทเน่อื งในโอกาสใด
คาตอบ วนั ขนึ้ ปีใหม่

ข้อท่ี ๒

คาถาม ในหลวงทรงพระราชทานพระบรมราโชวาทแก่ใคร
คาตอบ ประชาชนชาวไทย

ขอ้ ที่ ๓

คาถาม ในหลวงทรงพระราชทานพระบรมราโชวาทเกยี่ วกับเร่ืองอะไร
คาตอบ ความสามัคคี

ขอ้ ที่ ๔

คาถาม ในหลวงทรงตอ้ งการใหป้ ระชาชนชาวไทยประพฤตติ วั อย่างไร
คาตอบ มคี วามสามัคคี ปรองดอง ความรกั ใคร่ เผอ่ื แผ่ ชว่ ยเหลอื กัน

ขอ้ ท่ี ๕

คาถาม ประชาชนชาวไทยร้สู กึ อย่างไรตอ่ พระบรมราโชวาทของในหลวงในครง้ั นี้
คาตอบ ปลม้ื ปิตใิ นพระมหากรุณาธคิ ุณ และนามาเปน็ แนวปฏิบัตใิ นการดารงชวี ิต

๔๓

แบบบันทกึ การทากิจกรรม

แบบฝึกทักษะการอา่ นจับใจความ ชดุ “เดนิ ตามรอยพอ่ สอน”
ชดุ ท่ี ๔ เรื่อง ความรักสามัคคี

นกั เรยี น ๑ กิจกรรมฝึกทกั ษะที/่ (คะแนน) ๖ รวม
(คนท่)ี (๑๐) ๒๓๔๕ (๑๕) (๖๕)
(๑๐) (๑๕) (๑๐) (๑๐)

๒ ๘๘–––– –

๔ ๗๙–––– –

๖ ๘๘–––– –

๘ ๘๘–––– –

๑๐ ๗๙–––– –
๑๑
๑๒ ๗๙–––– –
๑๓
๑๔ ๗๘–––– –
๑๕
๑๖ ๗๙–––– –
๑๗
๑๘ ๗๙–––– –
๑๙
๒๐ ๗๙–––– –

๗๙–––– –

๘๙–––– –

๗๙–––– –

๗๙–––– –

๗๗–––– –

๙๙–––– –

๘๙–––– –

๘๗–––– –

๘๙–––– –

๘๘–––– –

๔๔

นักเรียน ๑ กจิ กรรมฝกึ ทกั ษะท/ี่ (คะแนน) ๖ รวม
(คนที่) (๑๐) ๒๓๔๕ (๑๕) (๖๕)
(๑๐) (๑๕) (๑๐) (๑๐)
๒๑
๒๒ ๙๘–––– –
๒๓
๒๔ ๙๘–––– –
๒๕
๒๖ ๙๙–––– –
๒๗
๒๘ ๙๗–––– –
๒๙
๓๐ ๘๗–––– –
๓๑
๓๒ ๘๗–––– –
๓๓
๓๔ ๘๘–––– –
๓๕
๓๖ ๗๙–––– –
๓๗
๓๘ ๗๙–––– –

๑๐ ๘ – – – – –

๑๐ ๙ – – – – –

๑๐ ๙ – – – – –

๑๐ ๘ – – – – –

๑๐ ๙ – – – – –

๑๐ ๙ – – – – –

๑๐ ๙ – – – – –

๙๘–––– –

๑๐ ๘ – – – – –

๔๕

แบบประเมนิ พฤติกรรมการทางานกลุม่

การอา่ นจับใจความ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เรอื่ ง ความรักสามัคคี ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖

คาช้ีแจง ครูทาการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ของนักเรยี น โดยทาเคร่ืองหมาย  ลงในระดบั

คะแนนทต่ี รงกับความเป็นจริง

รายการประเมนิ /ระดบั คะแนน

คนที่ ความร่วมมือ มคี วามสนใจ มีความมุง่ มนั่ มคี วาม รวม ผลการ
ในการทางาน ในการทา ในการทา
กิจกรรม กิจกรรม รบั ผิดชอบ ประเมนิ

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒

๑  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๔  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๕  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๖  – –  – – –  –  – – ๑๑ ดี

๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๘  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๙ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๐  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๑  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๒  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๓  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๔  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๕  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๑๖  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๑๗  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๑๘  – – –  – – –   – – ๙ ปานกลาง

๔๖

รายการประเมนิ /ระดบั คะแนน

คนที่ ความร่วมมือ มีความสนใจ มีความมงุ่ มั่น ความรับผิดชอบ รวม ผลการ
ในการทา ในการทา ในการทา ในการทา ประเมิน
กจิ กรรม กิจกรรม กจิ กรรม กิจกรรม

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๑๒

๑๙  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๐  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๒๑ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๔  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๕  – – – –   – – –  – ๙ ปานกลาง

๒๖  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๒๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๒๘ –  –  – –  – –  – – ๑๑ ดี

๒๙  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๐  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๓๑  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๒  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๓  – – –  –  – –  – – ๑๑ ดี

๓๔  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๕  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

๓๖  – –  – – –  –  – – ๑๑ ดี

๓๗  – –  – –  – – –  – ๑๑ ดี

๓๘  – –  – –  – –  – – ๑๒ ดี

เกณฑร์ ะดับคุณภาพ มีพฤติกรรมการทางานกลุม่ อยใู่ นระดบั ดี
ระดบั คะแนน ๙ – ๑๒ หมายถงึ มีพฤติกรรมการทางานกลุม่ อยใู่ นระดับปานกลาง
ระดับคะแนน ๕ – ๘ หมายถงึ มีพฤติกรรมการทางานกลุ่มอย่ใู นระดับควรปรบั ปรุง
ระดับคะแนน ๑ – ๔ หมายถงึ

๔๗

รายละเอียดเกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมินการทางานกล่มุ

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การใหค้ ะแนน
๓๒๑

ความรว่ มมอื ในการทา ให้ความร่วมมือในการ ใหค้ วามร่วมมือในการ ไมใ่ ห้ให้ความร่วมมือ

กิจกรรม ทากจิ กรรมด้วยความ ทากิจกรรมในบางครั้ง ในการทากิจกรรม

เตม็ ใจ สมาชกิ ในกล่มุ ต้อง

คอยกระตุ้นอยเู่ สมอ

ความสนใจในการทากจิ กรรม ใหค้ วามสนใจในการ ให้ความสนใจในการ สนใจในการทา

ทากจิ กรรมทกุ ครัง้ ทากิจกรรมในบางครัง้ กิจกรรมในบางคร้งั

หรอื ไม่ให้ความสนใจ

ในการทากจิ กรรมเลย

ความมงุ่ มัน่ ในการทากิจกรรม มคี วามมงุ่ มั่นในการทา มีความมงุ่ มนั่ ในการทา ไม่มีความมุ่งม่นั ในการ

กจิ กรรม และตง้ั ใจทา กจิ กรรม และตง้ั ใจทา ทากิจกรรมและต้ังใจ

กจิ กรรมอยา่ งเต็มที่ กจิ กรรมในบางครงั้ ทากิจกรรมเลย

ความรับผดิ ชอบในการทา มคี วามรับผดิ ชอบใน มคี วามรับผิดชอบ ไม่มีความรบั ผดิ ชอบ

กิจกรรม การทากิจกรรม ในการทากจิ กรรม ในการทากจิ กรรม

ทางานท่ีไดร้ บั ทางานท่ีไดร้ บั ทางานที่ได้รบั

มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายเสรจ็ มอบหมายไม่เคย

กาหนด แต่ล่าช้าไมต่ รงเวลา สาเร็จตรงตามเวลา


Click to View FlipBook Version