The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การทำหนังสือชื่อเรื่อง.docx เม้อคนสวย5555.docx งาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัฐศาสตร์, 2022-07-07 00:40:49

การทำหนังสือชื่อเรื่อง.docx เม้อคนสวย5555.docx งาน

การทำหนังสือชื่อเรื่อง.docx เม้อคนสวย5555.docx งาน

1

การทาหนังสือช่ือเร่ือง

อิเลก็ ทรอนิกส์ เร่ือง อาหารไทย

ทม่ี าและความสาคญั

อาหารไทยมาจากการประสมประสานอาหารอาหารในชีวติ ประจาวนั ของคนอษุ าคเนย์ไมน่ ้อยกวา่ 3000 ปี

มาแล้ว กบั อาหารนานาชาตทิ งั้ ใกล้ และไกลท่ีทยอยแลกเปลยี่ นกนั สมยั หลงั ๆจนเข้าสยู่ คุ การค้าโลก เชน่ เจ็ก

แขก ฝรั่ง โดยเฉพาะการประสมประสานวธิ ีปรุงพนื ้ เมอื งเข้ากบั ของจีน เชน่ นา้ ปลา ขนมจนี ไขเ่ จียว ก๋วยเตย๋ี ว

วตั ถปุ ระสงฆ์
1. เพ่ือศกึ ษาเรื่องอาหารไทย
2. เพือ่ พฒั นาเว็บไซต์เรื่องอาหารไทย
3. เพอ่ื เผยแพร่ความรู้เร่ืองอาหารไทยให้ผ้ทู ่ีสนใจได้ศกึ ษา
4. เพอื่ นาความรู้ที่ได้จากการเรียนโปรแกรมการสร้างงานกราฟิก และโปรแกรมการสร้างเว็บไซตใ์ นวิชาคอม
มาประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในรูปแบบของโครงงาน

ประโยชน์ท่ไี ด้รับ
1. มปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกาย
2. มีไขมนั และปริมานเกลอื ตา่
3. สารอาหารหลกั ครบ5หมู่

2

จดุ เด่นของอาหารไทย

คนไทยบริโภคข้าวเป็ นอาหารหลกั โดยนิยมกนั 2 ชนดิ คอื ข้าวเหนียวและข้าวเจ้า คนไทยภาคอีสานและ
ภาคเหนือนิยมกินข้าวเหนียวเป็นหลกั สว่ นคนไทยภาคกลางและภาคใต้นิยมกินข้าวเจ้าเป็นหลกั ประเทศ
ไทยนนั้ เป็นประเทศท่ีผกู พนั กบั สายนา้ มาช้านาน ทาให้อาหารประจาครัวไทยประกอบด้วยปลาเสียเป็น
สว่ นใหญ่ ทงั้ ปลายา่ ง ปลาปิง้ จิม้ นา้ พริก กินกบั ผกั สดที่หาได้ตามหนองนา้ ชายป่ า หากกินปลาไมห่ มดก็
สามารถนามาแปรรูปให้เก็บไว้ได้นาน ๆ ไมว่ า่ จะเป็นปลาแห้ง ปลาเคม็ ปลาร้า ปลาเจา่ สว่ นอาหารรสเผ็ด
ท่ีได้จากพริกนนั้ ไทยได้รับนามาเป็นเคร่ืองปรุงจากบาทหลวงชาวโปรตเุ กสในสมยั พระนารายณ์ สว่ น
อาหารประเภทผดั ไฟแรง ได้รับมาจากชาวจีนท่ีอพยพมาอยใู่ นเมืองไทยในสมยั กรุงรัตนโกสนิ ทร์

เม่ือมีการเลีย้ งสตั ว์ขายเป็นอาชีพและมีโรงฆา่ สตั ว์ ทาให้มีการหาเนือ้ สตั ว์มารับประทานมากขนึ ้ มีการใช้
เครื่องเทศหลากชนดิ เพ่ือช่วยดบั กล่ินคาวของเนือ้ ท่ีนามาปรุงเป็นอาหาร เครื่องเทศท่ีคนไทยนยิ มนามาปรุง
อาหารประเภทนีเ้ชน่ ขงิ กระชาย ที่ใช้ดบั กลิ่นคาวปลามานาน ก็นามาประยกุ ต์กบั เนือ้ สตั ว์ประเภทววั
ควาย เป็นสตู รใหมข่ องคนไทยได้อีกด้วย

จุดกาเนิด

อาหารไทยมีจุดกาเนิดพร้อมกบั การต้งั ชนชาติไทย และมีการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่องมาต้งั แตส่ มยั
สุโขทยั จนถึงปัจจุบนั จากการศึกษาของ อาจารยก์ อบแกว้ นาจพนิ ิจ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดุสิต เร่ือง
ความเป็นมาของอาหารไทยยคุ ตา่ ง ๆ สรุปไดด้ งั น้ี

ยุคก่อนประวตั ิศาสตร์

3

จากหลกั ฐานที่พบในช่องทอ้ งของศพผหู้ ญิง อายรุ าว 3,000 ปี ที่บา้ นโคกพนมดี อาเภอพนสั
นิคม จงั หวดั ชลบุรี พบขา้ วเปลือก กระดูก เกล็ดและกา้ งปลาหมอ นอกจากน้ียงั พบซากปลาช่อนท้งั ตวั ขด
อยใู่ นหมอ้ ดินเผา ท่ีตาบลพลสงคราม อาเภอโนนสูง จงั หวดั นครราชสีมา มีอายไุ มน่ อ้ ยกวา่ 3,000 ปี ทา
ใหเ้ ห็นวา่ คนไทยเม่ือ 3,000 ปี ก่อน กินขา้ วและปลาเป็นอาหาร[4]

สมัยสุโขทยั

อาหารไทยในสมยั สโุ ขทยั ได้อาศยั หลกั ฐานจากศลิ าจารึก และวรรณคดี สาคญั คือ ไตรภมู พิ ระร่วงของพญา
ลิไท ที่ได้กลา่ วถึงอาหารไทยในสมยั นีว้ า่ มีข้าวเป็ นอาหารหลกั โดยกินร่วมกนั กบั เนือ้ สตั ว์ ท่ีสว่ นใหญ่ได้มา
จากปลา มีเนือ้ สตั ว์อ่ืนบ้าง กินผลไม้เป็นของหวาน การปรุงอาหารได้ปรากฏคาวา่

“แกง” ใน ไตรภมู ิพระร่วงท่ีเป็นที่มาของคาวา่ ข้าวหม้อแกงหม้อ ผกั ท่ีกลา่ วถงึ ในศลิ าจารึก คอื แฟง แตง
และนา้ เต้า สว่ นอาหารหวานก็ใช้วตั ถดุ บิ พืน้ บ้าน เชน่ ข้าวตอก และนา้ ผงึ ้ สว่ นหนงึ่ นิยมกินผลไม้แทน
อาหารหวาน

สมัยอยธุ ยา

สมยั นีถ้ ือวา่ เป็นยคุ ทองของไทย ได้มีการตดิ ตอ่ กบั ชาวตา่ งประเทศมากขนึ ้ ทงั้ ชาวตะวนั ตกและตะวนั ออก
จากบนั ทึกเอกสารของชาวตา่ งประเทศ พบวา่ คนไทยกินอาหารแบบเรียบง่าย ยงั คงมีปลาเป็นหลกั มีต้ม
แกง และคาดวา่ มีการใช้นา้ มนั ในการประกอบอาหารแตเ่ ป็นนา้ มนั จากมะพร้าวและกะทมิ ากกวา่ ไขมนั หรือ
นา้ มนั จากสตั ว์มาทาอาหารอยธุ ยามีเชน่ หนอนกะทิ วธิ ีทาคือ ตดั ต้นมะพร้าว แล้วเอาหนอนที่อย่ใู นต้นนนั้
มาให้กินกะทิแล้วก็นามาทอดก็กลายเป็นอาหารชาววงั ขนึ ้ คนไทยสมยั นีม้ ีการถนอมอาหาร เชน่ การนาไป
ตากแห้ง หรือทาเป็นปลาเค็ม มีอาหารประเภทเคร่ืองจมิ ้ เชน่ นา้ พริกกะปิ นยิ มบริโภคสตั ว์นา้ มากกว่าสตั ว์
บก โดยเฉพาะสตั ว์ใหญ่ ไมน่ ยิ มนามาฆา่ เพ่ือใช้เป็นอาหาร ได้มีการกลา่ วถึงแกงปลาตา่ งๆ ท่ีใช้เครื่องเทศ
เชน่ แกงท่ีใสห่ วั หอม กระเทียม สมนุ ไพรหวาน และเครื่องเทศแรงๆ ท่ีคาดวา่ นามาใช้ประกอบอาหารเพื่อ
ดบั กลิ่นคาวของเนือ้ ปลา หลกั ฐานจากการบนั ทกึ ของบาทหลวงชาวตา่ งชาตทิ ่ีแสดงให้เห็นวา่ อาหารของ
ชาตติ า่ ง ๆ เร่ิมเข้ามามากขนึ ้ ในสมเดจ็ พระนารายณ์ เชน่ ญ่ีป่ นุ โปรตุเกส เหล้าองนุ่ จากสเปน เปอร์เซีย

4

และฝรั่งเศส สาหรับอิทธิพลของอาหารจีนนนั้ คาดวา่ เร่ิมมีมากขนึ ้ ในชว่ งยคุ กรุงศรีอยธุ ยาตอนปลายที่ไทย
ตดั สมั พนั ธ์กบั ชาตติ ะวนั ตก ดงั นนั้ จงึ กลา่ วได้วา่ อาหารไทยในสมยั อยธุ ยา ได้รับเอาวฒั นธรรมจากอาหาร
ตา่ งชาติ โดยผา่ นทางการมีสมั พนั ธไมตรีทงั้ ทางการทตู และทางการค้ากบั ประเทศตา่ งๆ และจากหลกั ฐาน
ท่ีปรากฏทางประวตั ศิ าสตร์วา่ อาหารตา่ งชาตสิ ว่ นใหญ่แพร่หลายอยใู่ นราชสานกั ตอ่ มาจงึ กระจายสู่
ประชาชน และกลมกลืนกลายเป็นอาหารไทยไปในท่ีสดุ

สมัยธนบุรี

จากหลกั ฐานท่ีปรากฏในหนงั สือแมค่ รัวหวั ป่ าก์ ซงึ่ เป็นตาราการทากบั ข้าวเลม่ ที่ 2 ของไทย ของทา่ น
ผ้หู ญิงเปล่ียน ภาสกรวงษ์ พบความตอ่ เน่ืองของวฒั นธรรมอาหารไทยจากกรุงสโุ ขทยั มาถึงสมยั อยธุ ยา
และสมยั กรุงธนบรุ ี และยงั เช่ือวา่ เส้นทางอาหารไทยคงจะเชื่อมจากกรุงธนบรุ ีไปยงั สมยั รัตนโกสินทร์ โดย
ผา่ นทางหน้าที่ราชการและสงั คมเครือญาติ และอาหารไทยสมยั กรุงธนบรุ ีนา่ จะคล้ายคลงึ กบั สมยั อยธุ ยา
แตท่ ่ีพิเศษเพิ่มเตมิ คือมีอาหารประจาชาตจิ ีน

สมัยรัตนโกสนิ ทร์

การศกึ ษาความเป็นมาของอาหารไทยในยคุ รัตนโกสินทร์นีไ้ ด้จาแนกตามยคุ สมยั ท่ีนกั ประวตั ิศาสตร์ได้
กาหนดไว้ คือ ยคุ ที่ 1 ตงั้ แตส่ มยั รัชกาลท่ี 1 จนถึงรัชกาลท่ี 3 และยคุ ที่ 2 ตงั้ แตส่ มยั รัชกาลที่ 4 จนถึง
รัชกาลปัจจบุ นั ดงั นี ้

5

พ.ศ. 2325–2394

อาหารไทยในยคุ นีเ้ป็ นลกั ษณะเดยี วกนั กบั สมยั ธนบรุ ี แตม่ ีอาหารไทยเพม่ิ ขนึ ้ อีก 1 ประเภท คือ นอกจากมี
อาหารคาว อาหารหวานแล้วยงั มีอาหารวา่ งเพ่ิมขนึ ้ ในชว่ งนีอ้ าหารไทยได้รับอทิ ธิพลจากวฒั นธรรมอาหาร
ของประเทศจีนมากขนึ ้ และมีการปรับเปลี่ยนเป็นอาหารไทย ในท่ีสดุ จากจดหมายความทรงจาของกรม
หลวงนรินทรเทวี ที่กล่าวถงึ เคร่ืองตงั้ สารับคาวหวานของพระสงฆ์ ในงานสมโภชน์ พระพทุ ธมณีรัตนมหา
ปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ได้แสดงให้เหน็ ว่ารายการอาหารนอกจากจะมีอาหารไทย เช่น ผกั นา้ พริก ปลา
แห้ง หนอ่ ไม้ผดั แล้วยงั มีอาหารท่ีปรุงด้วยเครื่องเทศแบบอสิ ลาม และมีอาหารจีนโดยสงั เกตจากการใช้หมู
เป็นสว่ นประกอบ เน่ืองจากหมเู ป็นอาหารท่ีคนไทยไมน่ ยิ ม แตค่ นจีนนยิ มบทพระราชนพิ นธ์กาพย์เหเ่ รือชม
เครื่องคาวหวาน ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั ได้ทรงกลา่ วถึงอาหารคาวและอาหารหวาน
หลายชนิด ซง่ึ ได้สะท้อนภาพของอาหารไทยในราชสานกั ท่ีชดั เจนท่ีสดุ ซงึ่ แสดงให้เห็นลกั ษณะของอาหาร
ไทยในราชสานกั ท่ีมีการปรุงกลิ่น และรสอยา่ งประณีต และให้ความสาคญั ของรสชาตอิ าหารมากเป็นพเิ ศษ
และถือวา่ เป็นยคุ สมยั ที่มีศลิ ปะการประกอบอาหารท่ีคอ่ นข้างสมบรู ณ์ท่ีสดุ ทงั้ รส กล่ิน สี และการตกแตง่
ให้สวยงามรวมทงั้ มีการพฒั นาอาหารนานาชาตใิ ห้เป็นอาหารไทยจากบทพระราชนิพนธ์ทาให้ได้
รายละเอียดท่ีเก่ียวกบั การแบง่ ประเภทของอาหารคาวหรือกบั ข้าวและอาหารวา่ ง สว่ นทีเป็นอาหารคาว
ได้แก่ แกงชนิดตา่ งๆ เคร่ืองจิม้ ยาตา่ งๆ สาหรับอาหารวา่ งสว่ นใหญ่เป็นอาหารวา่ งคาว ได้แก่ หมแู นม
ลา่ เตียง หรุ่ม รังนก สว่ นอาหารหวานส่วนใหญ่เป็นอาหารท่ีทาด้วยแป้ งและไขเ่ ป็ นสว่ นใหญ่ มีขนมท่ีมี

6

ลกั ษณะอบกรอบ เชน่ ขนมผิง ขนมลาเจียก และมีขนมที่มีนา้ หวานและกะทิเจืออย่ดู ้วย ได้แก่ ซา่ หริ่ม บวั
ลอย เป็นต้นนอกจากนี ้วรรณคดีไทย เรื่องขนุ ช้างขนุ แผน ซงึ่ ถือวา่ เป็นวรรณคดที ี่สะท้อนวิถีชีวติ ของคนใน
ยคุ นนั้ อยา่ งมากรวมทงั้ เร่ืองอาหารการกินของชาวบ้าน พบวา่ มีความนิยมขนมจีนนา้ ยา และมีการกินข้าว
เป็นอาหารหลกั ร่วมกบั กบั ข้าวประเภทตา่ งๆ ได้แก่ แกง ต้ม ยา และควั่ อาหารมีความหลากหลายมากขนึ ้
ทงั้ ชนิดของอาหารคาว และอาหารหวาน

พ.ศ. 2395–ปัจจบุ นั

ตงั้ แตส่ มยั รัชกาลท่ี 4 ประเทศไทยมีการพฒั นาอยา่ งมาก และมีการตงั้ โรงพมิ พ์แหง่ แรกในประเทศไทย
ดงั นนั้ ตารับอาหารการกินของไทยเริ่มมีการบนั ทกึ มากขนึ ้ โดยเฉพาะในสมยั รัชกาลท่ี 5 เชน่ ในบทพระราช
นิพนธ์เรื่องไกลบ้าน จดหมายเหตุ เสดจ็ ประพาสต้น เป็นต้น และยงั มีบนั ทกึ ตา่ งๆ โดยผา่ นการบอกเลา่ สืบ
ทอดทางเครือญาติ และบนั ทึกที่เป็นทางการอ่ืน ๆ ซงึ่ ข้อมลู เหลา่ นีไ้ ด้สะท้อนให้เห็นลกั ษณะของอาหารไทย
ท่ีมีความหลากหลายทงั้ ท่ีเป็ น กบั ข้าวอาหารจานเดียว อาหารวา่ ง อาหารหวาน และอาหารนานาชาติ ทงั้ ท่ี
เป็นวธิ ีปรุงของราชสานกั และวธิ ีปรุงแบบชาวบ้านท่ีสืบทอดมาจนถึงปัจจุบนั แตเ่ ป็นท่ีนา่ สงั เกตวา่ อาหาร
ไทยบางชนดิ ในปัจจบุ นั ได้มีวิธีการปรุงหรือสว่ นประกอบของอาหารผิดเพีย้ นไปจากของดงั้ เดมิ จงึ ทาให้
รสชาตขิ องอาหารไมใ่ ชต่ ารับดงั้ เดมิ และขาดความประณีตที่นา่ จะถือวา่ เป็นเอกลกั ษณ์ท่ีสาคญั ของอาหาร
ไทย

7

อาหารไทยภาคต่าง ๆ
อาหารพืน้ บ้านภาคเหนือ

อาหารไทยภาคเหนือจากร้ านอาหารในเชียงใหม่
ภาคเหนือรวม 17 จงั หวดั ประกอบด้วยภมู นิ ิเวศน์ท่ีหลากหลายพร้อมด้วยชาตพิ นั ธ์ุตา่ ง ๆ ท่ีตงั้ ถิ่นฐานใน
พืน้ ที่ราบลมุ่ ที่ดอน และที่ภเู ขาสงู ในการดารงชีพ การตงั้ ถ่ินฐานของชาวไทยพืน้ ราบซ่งึ เป็นชาตพิ นั ธ์ุสว่ น
ใหญ่จะกระจกุ ตวั อยทู่ ี่พืน้ ท่ีล่มุ บริเวณแมน่ า้ สายใหญ่ เช่น ปิง วงั ยม นา่ น และของลมุ่ นา้ เจ้าพระยา
ตอนบน และ องิ ลาว ของลมุ่ นา้ โขง มีวิถีชีวิตผกู พนั กบั วฒั นธรรมการปลกู ข้าวโดยชาวไทยพืน้ ราบ
ภาคเหนือตอนบน 9 จงั หวดั (เชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ลาพนู แมฮ่ อ่ งสอน พะเยา อตุ รดิตถ์ แพร่ นา่ น) มี
วฒั นธรรมการผลิตและการบริโภคข้าวเหนียวเป็นหลกั ตามด้วยข้าวเจ้า
อาหารของคนเหนือจะมีความงดงาม ปราณีต เพราะด้วยนสิ ยั คนเหนือจะมีกริยาท่ีแช่มช้อย จงึ สง่ ผลตอ่
อาหาร โดยมากมกั จะเป็นผกั มีการใช้เครื่องเทศท่ีหลากหลาย

8

อาหารสว่ นใหญ่รสชาตไิ มจ่ ดั ไมน่ ิยมใสน่ า้ ตาลในอาหาร ความหวานจะได้จากสว่ นผสมของอาหารนนั้ ๆ
เชน่ ผกั ปลา และนิยมใช้ถวั่ เนา่ ในการปรุงอาหาร คนเหนือมีนา้ พริกรับประทานหลายชนิด เชน่ นา้ พริก
หนมุ่ นา้ พริกออ่ ง ผกั ท่ีใช้จิม้ สว่ นมากเป็ นผกั นงึ่ สว่ นอาหารที่รู้จกั กนั ดไี ด้แก่ ขนมจีนนา้ เงีย้ ว ที่มีเคร่ืองปรุง
สาคญั คอื ดอกงิว้ ซงึ่ เป็นดอกนมุ่ ที่ตากแห้ง ถือเป็นเคร่ืองเทศพืน้ บ้านท่ีมีกลน่ิ หอม; ตาขนนุ และแกงขนนุ ที่
มีสว่ นผสมเป็นผกั ชนิดอื่น เช่น ใบชะพลู ชะอม มะเขือเทศ นอกจากนีย้ งั มีอาหารที่ได้รับอทิ ธิพลจากชนชาติ
อื่นด้วย เชน่ แกงฮงั เล ได้รับอทิ ธิพลมาจากชาวพมา่ ข้าวซอย ได้รับอทิ ธิพลมาจากชาวจีน

อาหารภาคกลาง

ลกั ษณะอาหารพืน้ บ้านภาคกลางมีที่มาตา่ งกนั ดงั นี ้

ได้รับอิทธิพลจากตา่ งประเทศ เชน่ เครื่องแกง แกงกะทิ จะมาจากชาวฮินดู การผดั โดยใช้กระทะและนา้ มนั
มาจากประเทศจีนหรือขนมเบอื ้ งไทย ดดั แปลงมาจาก ขนมเบอื ้ งญวน ขนมหวานประเภททองหยบิ
ทองหยอดรับอิทธิพลจากประเทศทางตะวนั ตก เป็ นต้น
เป็นอาหารท่ีมกั มีการประดษิ ฐ์ โดยเฉพาะอาหารจากในวงั ที่มีการคิดสร้างสรรคอ์ าหารให้เลศิ รส วจิ ติ ร
บรรจง เชน่ ขนมช่อมว่ ง จา่ มงกฎุ หรุ่ม ลกู ชบุ กระเช้าสีดา ทองหยิบ หรืออาหารประเภทข้าวแช่ ผกั ผลไม้
แกะสลกั
เป็นอาหารท่ีมกั จะมีเคร่ืองเคียง ของแนม เชน่ นา้ พริกลงเรือ ต้องแนมด้วยหมหู วานแกงกะทิ แนมด้วยปลา
เคม็ สะเดานา้ ปลาหวานก็ต้องคู่ กบั ก้งุ นง่ึ หรือปลาดกุ ยา่ ง ปลาสลดิ ทอดรับประทานกบั นา้ พริกมะมว่ ง หรือ

9

ไขเ่ คม็ ท่ีมกั จะรับประทานกบั นา้ พริกลงเรือ นา้ พริกมะขามสดหรือนา้ พริกมะมว่ ง นอกจากนีย้ งั มีของแหนม
อีกหลายชนดิ เชน่ ผกั ดอง ขิงดอง หอมแดงดอง เป็นต้น
เป็นภาคท่ีมีอาหารวา่ ง และขนมหวานมากมาย เชน่ ข้าวเกรียบปากหม้อ กระทงทอง ค้างคาวเผือก ปัน้
ขลิบนงึ่ ไส้กรอกปลาแนม ข้าวตงั หน้าตงั้

อาหารภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ประชากรในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีหลากหลายชาตพิ นั ธ์ุ เน่ืองจากภาคอีสานมีพืน้ ที่ใหญ่สดุ ของ
ประเทศ ผ้คู นมีวิถีชีวิตผกู ตดิ กบั ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่แตกตา่ งหลากหลาย ทงั้ ในเขตที่ราบ ในแอง่ โคราช
และแอง่ สกลนคร อาศยั ลานา้ สาคญั ยงั ชีพ เชน่ ชี มลู สงคราม โขง คาน เลย หมนั พอง พรม ก่า เหือง พระ
เพลงิ ลาตะคอง ลาเชียงไกร เซิน ปาว ยงั คนั ฉู อนู เชงิ ไกร ปลายมาศ โดมใหญ่ โดมน้อย นา้ เสียว
เซบาย มลู น้อย เป็นต้น และชมุ ชนท่ีอาศยั ในเขตภเู ขา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเทือกเขาภพู านและเทือกเขา
เพชรบรู ณ์ ซงึ่ ความแตกตา่ งของทรัพยากรธรรมชาตมิ าก ทาให้ระบบอาหารและรูปแบบการจดั การอาหาร
ของชมุ ชนแตกตา่ งกนั และมีจานวนหลากหลายกวา่ ภมู ภิ าคอื่น แตเ่ ดมิ ในช่วงที่ทรัพยากรธรรมชาตยิ งั อดุ ม
สมบรู ณ์ อาหารจากธรรมชาตมิ ีความหลากหลายและอดุ มสมบรู ณ์มาก ชาวบ้านนิยมหาอาหารจากแหลง่
อาหารธรรมชาตเิ ทา่ ท่ีจาเป็ นท่ีจะบริโภคในแตล่ ะวัน เชน่ การหาปลาจากแมน่ า้ ไมจ่ าเป็นต้องจบั ปลามาขงั
ทรมานไว้ หากวนั ใดจบั ได้มากก็นามาแปรรูปเป็นปาแดกหรือปลาร้า ปลาแห้ง ปลาเคม็ นา้ ปลา (นา้ ท่ีเกิด
จากหน้าของปาแดก) ไว้บริโภค เนื่องจากภาคอีสานมีแหลง่ เกลือธรรมชาตเิ ป็นของตนเอง สง่ ผลให้

10

ชาวบ้านพง่ึ พาอาหารจากตลาดน้อย ชาวบ้านจะปลกู ทกุ อยา่ งท่ีกิน กินทกุ อยา่ งท่ีปลกู สวนหลงั บ้านมี
บทบาทสาคญั ในฐานะเป็ นแหลง่ อาหารประจาครัวเรือน ชาวบ้านมีฐานคิดสาคญั เกี่ยวกบั การผลติ อาหาร
คอื ผลิตให้เพียงพอตอ่ การบริโภค มีเหลือแบง่ ปันให้ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านและทาบญุ ในศาสนาอาหาร
อีสานเป็ นอนั หนง่ึ อนั เดียวกนั กบั อาหารของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และบริเวณ
อีสานใต้มีลกั ษณะอาหารร่วมกนั กบั ราชอาณาจกั รกมั พชู า เนื่องจากภาคอีสานทงั้ ๒ สว่ นเป็นกลมุ่
เครือข่ายชาตพิ นั ธ์ุเดียวกนั กบั ทงั้ ๒ ประเทศ ชาวอีสานรับประทานทงั้ ข้าวเหนียวและข้าวจ้าว ข้าวเหนียว
เป็นอาหารหลกั ของประชากรสว่ นใหญ่ สว่ นชาวอีสานใต้นนั้ รับประทานข้าวเจ้าเป็ นอาหารหลกั อาหาร
อีสานมีหลากหลายรสชาตทิ งั้ เผ็ดจดั เชน่ แจว่ หมากเผ็ด ตาหมากหงุ่ เผ็ดน้อย เชน่ แกงหอย เคม็ มาก เชน่
ปาแดก แจว่ บอง เคม็ น้อย เช่น แกงเห็ด หวานมาก เชน่ หลนหมากนดั หวานน้อย เชน่ ออ่ มเนือ้ เปรีย้ วมาก
เชน่ ต้มส้ม เปรีย้ วน้อย เชน่ ลาบเนือ้ จืด และขม เชน่ แกงขีเ้หลก็ แจว่ เพีย้ บางชนิดมีการผสมรสชาตทิ งั้ เผ็ด
เคม็ เปรีย้ วหวานเข้าด้วยกนั เชน่ หลนปาแดก ตาหมากหงุ่ ตาซว่ั อาหารอีสานมีกรรมวิธีการปรุงและการทา
หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ ก้อย แกง กวน เข้าป้ นุ เข้าแผะ คว่ั แจว่ จุ จา้ จ่ี จา่ ม ซอย แซ่ ซา่ ซุบ ซาว ซกเล็ก
ดอง ดาง ดาด ต้ม ตา ตาก ทอด เหนี่ยน นง่ึ นา้ ตก ป่ิน ปิง้ ผดั เฝอ เพีย้ พนั หมก เมี่ยง หม่ี หม่า หมกั มนู
หม้อน้อย ยา ยา่ ง หอ่ ลาบ หลาม ลวน ลวก เลือดแปง ส้ม ไส้กอก อุ เอาะ ออ่ ม อบ ฮม และมีทงั้ ประเภทท่ี
ชาวอีสานคดิ ค้นขนึ ้ เองกบั ประเภทท่ีรับอิทธิพลจากภายนอกทงั้ ตะวนั ตกและเอเชีย เชน่ ลาว เวียดนาม
กมั พชู า จีน ฝร่ังเศส องั กฤษ ภาคเหนือของไทยและภาคกลางของไทย สว่ นเคร่ืองแก้ม (แนม) อาหาร
จาพวกผกั นนั้ ชาวอีสานนยิ มทงั้ ผกั สด ผกั ต้ม ผกั ลวก ผกั แห้ง ผกั ดอง รวมถึงผลไม้บางประเภทก็สามารถ
นามาแกล้มได้ อยา่ งไรก็ตาม อาหารอีสานได้ขยายอทิ ธิพลตอ่ ภมู ิภาคอ่ืนๆ ของประเทศจนได้รับความนิยม
อยา่ งมาก อาทิ ตาหมากหงุ่ หรือส้มหมากหงุ่ (ส้มตา) นา้ ตก ลาบ ก้อย อ่อม (แกงออ่ ม) คอหมยู า่ ง ปิง้ ไก่
(ไกย่ า่ ง) แกงหน่อไม้ ซุบหนอ่ ไม้ เสือร้องไห้ ซนิ ้ แห้ง (เนือ้ แดดเดียว) ต้มแซบ ไส้กรอกอีสาน ตบั หวาน ลวก
จิม้ แจว่ ปาแดกบอง (นา้ พริกปลาร้า) ตบั หวาน เขียบหมู (แคบหม)ู เข้าป้ นุ (ขนมจีน) แจว่ ฮ้อน (จมิ ้ จมุ่ ) เป็น
ต้น

อาหารภาคใต้

ภาคใต้มีภมู ปิ ระเทศเป็นทะเล ชาวใต้นยิ มใช้กะปิในการประกอบอาหาร อาหารที่ปรุงในครัวเรือนก็
เหมือนๆกบั อาหารไทยทว่ั ไป แตร่ สชาตจิ ะจดั จ้านกว่า อาหารใต้ไมไ่ ด้มีเพียงแคค่ วามเผด็ จากพริกแตย่ งั ใช้

11

พริกไทยเพ่ิมความเผ็ดร้อนอีกด้วย และเน่ืองจากภาคใต้มีชาวมสุ ลมิ เป็นจานวนมาก ตามจงั หวดั ชายแดน
ใต้ก็ได้มีอาหารท่ีแตกตา่ งกนั ไป ตวั อยา่ งอาหารใต้ท่ีขนึ ้ ชื่อได้แก่

แกงไตปลา (ไตปลา ทาจากเครื่องในปลาผา่ นกรมวิธีการหมกั ดอง) การทาแกงไตปลานนั้ จะใสไ่ ตปลาและ
เครื่องแกงพริก ใสส่ มนุ ไพรลงไป เนือ้ ปลาแห้ง หน่อไม้สด บางสตู รใส่ ฟักทอง ถว่ั พลู หวั มนั ฯลฯ

คว่ั กลงิ ้ เป็นผดั เผ็ดที่ใช้เคร่ืองแกงพริกและสมนุ ไพรปรุง รสชาตเิ ผด็ ร้อน มกั จะใสเ่ นือ้ หมสู ับ หรือ ไกส่ บั

แกงพริก แกงเผด็ ท่ีใช้เครื่องแกงพริกเป็นสว่ นผสม เนือ้ สตั ว์ท่ีใช้ปรุงคือ เนือ้ หมู กระดกู หมู หรือไก่

แกงป่ า แกงเผด็ ท่ีมีลกั ษณะที่คล้ายแกงพริกแตน่ า้ จะใสกวา่ เนือ้ สตั ว์ที่ใช้ปรุงคอื เนือ้ ปลา หรือ เนือ้ ไก่

แกงส้ม หรือแกงเหลืองในภาษากลาง แกงส้มของภาคใต้จะไมใ่ สห่ วั กระชาย รสชาตจิ ะจดั จ้านกว่าแกงส้ม
ของภาคกลาง และที่สาคญั จะต้องใสก่ ะปิ

หมผู ดั เคยเคม็ สะตอ เคยเคม็ คือการเอาก้งุ เคยมาหมกั ไม่ใชก่ ะปิ

ปลาต้มส้ม ไมใ่ ชแ่ กงเผ็ดแตเ่ ป็นแกงสีเหลืองจากขมนิ ้ นา้ แกงมีรสชาตเิ ปรีย้ วจากส้มควายและมะขามเปี ยก

อาหารขนึ ้ ชื่อของชาวมสุ ลิม

ข้าวยานา้ บดู ู เป็ นอาหารพืน้ เมืองของชาวมสุ ลมิ ประกอบด้วยข้าวสวยใสผ่ กั นานาชนิดอยา่ งเชน่ ถว่ั ฝักยาว
ซอย ดอกดาหลาซอย ถว่ั งอก แตงกวาซอย ใบพลซู อย ใบมะกรูดออ่ นซอย ก้งุ แห้งป่ น ราดด้วยนา้ บดู ู
อาจจะโรยพริกป่ นตามความต้องการกือโป๊ ะ เป็นข้าวเกรียบปลาท่ีมีถ่ินกาเนดิ มาจาก 3 จงั หวดั ชายแดนใต้
(ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศมาเลเซีย) มีแบบกรอบซงึ่ จะหนั่ เป็นแผน่ บางๆแบบข้าวเกรียบทว่ั ไป แบบนิ่ม
จะมีลกั ษณะเป็นแทง่ เวลารับประทานจะเหนียวๆ รับประทานกบั นา้ จิม้ ไกย่ า่ ง ไก่ยา่ งของชาวมสุ ลมิ ใน
ภาคใต้นนั้ จะมีลกั ษณะพเิ ศษคือราดนา้ สีแดงลงไป นา้ สีแดงจะมีรสชาตเิ ผ็ดนิดๆ หวาน เคม็ และกลม
กลอ่ ม สามารถหาได้ตามแผงอาหารทว่ั ไป ตามตลาดนดั หรือตลาดเปิดท้ายทวั่ ไปไก่ทอดหาดใหญ่ จริง ๆ
แล้วไก่ทอดหาดใหญ่เป็นไก่ทอดทวั่ ไป แตไ่ กท่ อดหาดใหญ่เป็นไกท่ อดท่ีขนึ ้ ชื่อในภาคใต้อีกอย่างคืออาหาร
ของชาวเปอรานากนั หรือชาวบาบา๋ ยา่ หยา ที่นิยมในจงั หวดั ภเู ก็ต ตรัง พงั งา และระนอง เป็นอาหารท่ีผสม
ระหวา่ งสองวฒั นธรรมอยา่ งจีนและมลายู และยงั มีอิทธิพลอาหารอ่ืนอีกด้วย เชน่ แกงตมู ี ้หมฮู ้อง เป็นต้น

12

อาหารชาววัง

อาหารชาววงั หรือ กบั ข้าวเจ้านาย คอื อาหารท่ีประดษิ ฐ์คิดค้นโดยผู้คนในรัว้ วงั มีอตั ลกั ษณ์ที่สาคญั คือ
ความอดุ มสมบรู ณ์และความสดใหมข่ องวตั ถดุ บิ ในการประกอบอาหาร มีกรรมวธิ ีในการทาซบั ซ้อน
ประณีต ต้องใช้เวลาและกาลงั ผ้คู นในการทาจานวนมาก มีลกั ษณะความแปลกแตกตา่ ง ความวิจติ รบรรจง
รวมถงึ มีรสชาตทิ ี่นมุ่ นวลไมเ่ ผด็ มาก มีความกลมกลอ่ มเป็ นหลกั องค์ประกอบของอาหารชาววงั ในแตล่ ะ
มือ้ จะประกอบด้วยอาหารที่มีความหลากหลาย ในสมยั รัชกาลท่ี 5 มีประเภทอาหารอยา่ งน้อยท่ีสดุ 7
ประเภท คือ ข้าวเสวย เคร่ืองคาว เคร่ืองเคียงแกง เครื่องเคยี งแขก เคร่ืองเคียงจิม้ เคร่ืองเคียงเกาเหลา
เคร่ืองหวาน อาหารมีครบรส คือ เปรีย้ ว หวาน มนั เคม็ เผ็ด อาหารชาววงั แตกตา่ งจากอาหารชาวบ้านคือ
การจดั อาหารเป็นชดุ หรือ สารับอาหาร

จากหลกั ฐานอ้างอิงเดอ ลาลแู บร์ จดบนั ทกึ ไว้วา่ อาหารชาววงั คือ อาหารชาวบ้าน แตม่ ีการนาเสนอท่ี
สวยงาม ไมม่ ีก้าง ไมม่ ีกระดกู ต้องเปื่ อยนมุ่ ไมม่ ีของแขง็ ผกั ก็ต้องพอคา หากมีเมลด็ ก็ต้องนาออก [5] ถ้า
เป็นเนือ้ สนั ก็เป็นสนั ใน ก้งุ ก็ต้องก้งุ แมน่ า้ ไมม่ ีหวั ไมใ่ ช้ของหมกั ๆ ดอง ๆ หรือของแกงป่ า หรือของอะไรที่
คาว

ดเู พ่มิ

flag สถานีย่อยประเทศไทย
ขนมไทย
แกงไทย
สลดั ไทย
การทอ่ งเที่ยวในประเทศไทย
วฒั นธรรมไทย

13

อาหารฟิ ลิปปิ นส์
อาหารอินโดนีเซีย

อ้างอิง

คณะกรรมการเฉพาะกิจจดั ทาหนงั สือเมืองไทยของเรา เลม่ 2. (2535) เมืองไทยของเรา ฉบบั ที่สอง.
สานกั งานเสริมสร้างเอกลกั ษณ์ของชาติ สานกั เลขาธิการนายกรัฐมนตรี. ISBN 974-7771-27-6.
หน้า 45.

Sukphisit, Suthon (22 September 2019). "Curry extraordinaire". Bangkok Post
(B Magazine). สบื ค้นเม่อื 22 September 2019.
Tim Cheung (2017-07-12). "Your pick: World's 50 best foods". CNN. สบื ค้นเมื่อ
2018-05-05.

อาหารไทยเก่าสดุ 3,000 ปี [ลงิ ก์เสีย]
ม.ร.ว. ถนดั ศรี สวสั ดวิ ฒั น์. ไทยรัฐ 2 กนั ยายน 2552

บรรณานุกรม
ส่ืออาหารไทย

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2

ส่ือภาพอาหารไทยจาก

https://cooking.kapook.com/international/thai

14

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book)

E-Book ยอ่ มาจากคาวา่ Electronic Book หมายถึง หนงั สือท่ีสร้างขนึ ้ ด้วยโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์มีลกั ษณะเป็นเอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ โดยปกตมิ กั จะเป็ นแฟ้ มข้อมลู ท่ีสามารถอา่ นเอกสารผา่ น
ทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทงั้ ในระบบออฟไลน์ และออนไลน์

คณุ ลกั ษณะของหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์สามารถเชื่อมโยงจดุ ไปยงั สว่ นตา่ งๆของหนงั สือ เว็บไซตต์ า่ ง ๆ
ตลอดจนมีปฏิสมั พนั ธ์และโต้ตอบกบั ผ้เู รียนได้ นอกจากนนั้ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแทรกภาพ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบและสามารถสงั่ พิมพ์เอกสารที่ต้องการออกทางเครื่องพมิ พ์ได้ อีกประการหนง่ึ

15

ที่สาคญั ก็คือ หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์สามารถปรับปรุงให้ทนั สมยั ได้ตลอดเวลาซง่ึ คณุ สมบตั เิ หลา่ นีจ้ ะไมม่ ีใน
หนงั สือธรรมดาทว่ั ไป

ประเภทของหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์

หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์มีการจดั เก็บข้อมลู อยหู่ ลายประเภท ไมว่ า่ จะเป็นข้อความ รูปภาพ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว ซงึ่ แบง่ ออกได้หลายประเภทตามคณุ สมบตั ดิ งั นี ้

1.Text books บรรจขุ ้อมลู ในรูปตวั หนงั สือ ในลกั ษณะเชงิ เส้นตรง ซงึ่ ใช้ในการค้นหาโดย
เครื่องมือช่วยสืบค้น (search engine) หรือใช้ browser

2.Picture books บรรจภุ าพนิง่ ชนดิ ตา่ งๆ ซงึ่ ไมม่ ีเสียง
3.Talking books เป็นหนงั สือที่มีเสียงพดู เสียงบรรยาย ดนตรีและเสียงประกอบ เพื่อ
ประกอบการนาเสนอข้อมลู ซงึ่ นยิ มใช้ในกลมุ่ ผ้สู ญู เสียการมองเหน็
4.Moving picture books บรรจภุ าพเคลื่อนไหวตา่ งๆ ซงึ่ อย่บู นฐานของเทคนิค
ภาพเคลื่อนไหวหรือวีดโี อ
5.Multimedia books เป็นหนงั สือท่ีประกอบไปด้วยสื่อ 3 สว่ นคือ ข้อความ เสียง และรูปภาพ
ซง่ึ เป็นลกั ษณะของหนงั สือสื่อประสม
6.Polymedia books จะใช้ส่ือทงั้ แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ และไมใ่ ชอ่ ิเลก็ ทรอนิกส์ร่วม

กระดาษซีดี–รอม
7.Hypermedia books ลกั ษณะคล้ายกบั Multimedia books ข้อมลู มีลกั ษณะไม่

เป็นเส้นตรง มีการเช่ือมโยงข้อมลู โยงใยเป็นเครือขา่ ยท่ีซบั ซ้อน
8.Intelligent electronic books เป็นหนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ที่มีการวเิ คราะห์พฤตกิ รรม

และความต้องการของผ้ใู ช้ เพ่ือปรับให้เหมาะที่จะปฏิสมั พนั ธ์กบั ผ้ใู ช้แตล่ ะคน

16

9.Telemedia books เป็นหนงั สือที่สร้างเพ่ือความสะดวกในการตดิ ตอ่ เกี่ยวกบั การสง่ ข้อความ
หรือปรับปรุงข้อมลู ให้ทนั สมยั

10.Cyber books บรรจขุ ้อมลู ในลกั ษณะเสมือนจริงไว้ เพื่อทดลองปฏิบตั กิ าร เชน่ ห้องฝึกงาน
ของชา่ งเครื่อง เป็นต้น ซง่ึ จะเป็นการเตรียมประสบการณ์ให้ผ้อู า่ นในส่งิ ท่ีสนใจ

ประโยชน์ของหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์

1.หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์สามารถแสดงทงั้ ข้อความ ภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหวและเสียงได้พร้อมกนั หรือจะ
เลือกให้แสดงเพียงอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ก็ได้

2.หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ชว่ ยให้ผ้เู รียนสามารถย้อนกลบั เพื่อบททวนบทเรียนหากไมเ่ ข้าใจและสามารถ
เลือกเรียนได้ตามเวลาและสถานท่ีที่ตนเองสะดวก

3.ผ้เู รียนสามารถเลือกเรียนหวั ข้อท่ีสนใจข้อใดก่อนก็ได้และสามารถย้อนกลบั ไปกลบั มาในเอกสาร
หรือกลบั มาเริ่มต้นที่จดุ เร่ิมต้นใหมไ่ ด้อยา่ งสะดวกรวดเร็ว

4.หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ชว่ ยให้การเรียนมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลมีประสิทธิภาพในแงท่ ่ีลดเวลา
ลดคา่ ใช้จา่ ยสนองความต้องการและความสามารถของบคุ คล มีประสิทธิผลในแง่ท่ีทาให้ผ้เู รียนบรรลุ
จดุ มงุ่ หมาย

5.หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์สามารถปรับเปล่ียนแก้ไขเพิ่มเตมิ ข้อมลู ได้ง่ายสะดวกและรวดเร็วทาให้
สามารถปรับปรุงบทเรียนให้ทนั สมยั กบั เหตกุ ารณ์ได้เป็นอยา่ งดีและมีการจดั เก็บข้อมลู จะสามารถจดั เก็บ
เป็นไฟล์แยกระหวา่ งตวั อกั ษร ภาพนง่ิ ภาพเคล่ือนไหวและเสียง

6.หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์สามารถให้ผ้เู รียนบรู ณาการการเรียนการสอนในวชิ าตา่ งๆเข้าด้วยกนั ได้อยา่ ง
เกี่ยวเน่ืองและมีความหมาย

17

ความแตกต่างของหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์กบั หนังสือท่วั ไป

1. หนงั สือทว่ั ไปใช้กระดาษ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ไมใ่ ช้กระดาษ (อนรุ ักษ์ทรัพยากรป่ าไม้)
2. หนงั สือทว่ั ไปมีข้อความและภาพประกอบธรรมดา หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์สามารถสร้างให้มี
ภาพเคล่ือนไหวได้
3. หนงั สือทว่ั ไปไมม่ ีเสียงประกอบ หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์สามารถใสเ่ สียงประกอบได้
4. หนงั ส่ือทวั่ ไปแก้ไขปรับปรุงได้ยาก หนงั สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์สามารถแก้ไขและปรับปรุงข้อมลู ได้งา่ ย
5. หนงั สือทวั่ ไปสมบรู ณ์ในตวั เอง หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์สามารถสร้างจดุ เชื่อมโยงออกไปเช่ือมตอ่ กบั
ข้อมลู ภายนอกได้
6. หนงั สือทวั่ ไปต้นทนุ การผลิตสงู หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ต้นทนุ ในการผลติ หนงั สือตา่ ประหยดั
7. หนงั สือทว่ั ไปมีขีดจากดั ในการจดั พิมพ์หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ไมม่ ีขีดจากดั ในการจดั พิมพ์สามารถ
ทาสาเนาได้ง่ายไมจ่ ากดั

8. หนงั สือทว่ั ไปเปิ ดอ่านจากเลม่ หนงั สืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ต้องอา่ นด้วยโปรแกรม ผา่ นทางหน้า
จอคอมพวิ เตอร์

9. หนงั สือทว่ั ไปอ่านได้อยา่ งเดียว หนงั สืออิเล็กทรอนกิ ส์นอกจากอา่ นได้แล้วยงั สามารถสง่ั พิมพ์ได้
10. หนงั สือทว่ั ไปอา่ นได้ 1 คนตอ่ หนงึ่ เลม่ หนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ 1 เลม่ สามารถอา่ นพร้อมกนั ได้
จานวนมาก (ออนไลน์ผา่ นอินเทอร์เน็ต)

18

บทท่3ี
อุปกรณ์และวธิ ีการดาเนินการ
การจดั ทาโครงงานคอมพวิ เตอร์ การพฒั นาหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง อาหารไทย
มีวิธีการดาเนินงานโครงงานตามขัน้ ตอนต่อไปนี้
1.วัสดอุ ุปกรณ์เคร่ืองมือหรือโปรแกรมหรือท่ีใช้ในการพฒั นา
1.1 เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ พร้อมเชื่อมตอ่ อนิ เทอร์เน็ต ได้แก่
1.โปรแกรม Microsoft Word
2.ไดรฟ์
3. Google site
2.ขัน้ ตอนการดาเนินงาน
2.1 คดิ หวั ข้อโครงงานเพ่ือนาเสนอครูท่ีปรึกษาโครงงาน
2.2ศกึ ษาและค้นคว้าข้อมลู ที่เก่ียวข้องกบั ที่สนใจ คอื เร่ืองทฤษฎิสิ
2.3ศกึ ษาการสร้างหนงั สืออิเลก็ หรอเน๊ตโดยใช้โปรแกรม Google และจากเวบ็ ไซต์ ตา่ งๆที่เ

19


Click to View FlipBook Version