The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัฐศาสตร์, 2022-06-08 04:26:34

การเลี้ยงปลาหมอ

จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา

หลกั สูตรการประกอบอาชพี

วชิ า การเล้ยี งปลาดกุ จานวน 40 ชัว่ โมง

กลมุ่ อาชีพเฉพาะทาง

โดย
นางสภุ าพ แสงประโคน

ครู กศน.ตาบล

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอกระสัง
สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

จังหวัดบุรรี ัมย์

คานา

หลักสตู ร การเล้ียงปลาดุก ฉบับน้ี เปน็ ผลการวิเคราะห์จากความต้องการของผู้เรียน ที่สอดคล้องกับ
วิถชี ีวติ บรบิ ทของชมุ ชน นโยบายของรฐั บาล ความจาเปน็ ในการแก้ปัญหา และทิศทางการพัฒนาประเทศตาม
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (2560 – 2564) ข้อ (2) คนเป็นศนู ย์กลางการพัฒนาอย่างมี
ส่วนร่วม และ ขอ้ (4) การพฒั นาสู่ความมน่ั คง ม่ังคั่ง ย่งั ยืน สงั คมอย่รู ่วมกันอย่างมีความสุข สานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั มีบทบาทและภารกิจในการจดั การศึกษาให้เป็นไปตามทิศทาง
ในการขับเคล่อื นการปฏริ ูปด้านการศกึ ษา ท่ตี ้องการให้ผู้เรียนมีความสนใจ กระตือรือร้นท่ีจะเรียนและสิ่งที่มา
เรียนสามารถตอบโจทย์ในชีวิตจริงได้ การจัดแผนการเรียนรู้รายบุคคล เป็นการจัดการศึกษาที่สามารถ
สนองตอบความแตกต่างของบุคคลได้เป็นอย่างดี สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย จึงมีนโยบายให้สถานศึกษาในสังกัดจัดแผนการเรียนรายวิชาเลือกเสรี ให้กับผู้เรียนตามหลักสูตร
การศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ 2559)

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอกระสัง ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการ
ทจ่ี ะร่วมขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาตามนโยบายของรัฐบาลและนโยบายของสานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงได้มอบหมายให้ศูนย์การศึกษานอกนอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั อาเภอกระสงั พฒั นาและจัดทาหลักสตู รสถานศกึ ษา รายวิชาเลือกเสรี ตามแผนการเรียนรู้รายบุคคล
โดยการออกแบบหลกั สูตร เน้ือหา กิจกรรมการเรยี น การวดั และประเมนิ ผล ทีส่ ัมพันธ์กบั วถิ ชี วี ติ ความเป็นอยู่
การประกอบอาชพี ของผู้เรียน และบรบิ ทของชุมชน

ศนู ย์การศึกษานอกนอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอกระสัง ขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้ความ
รว่ มมอื ในการจดั ทาหลักสูตร การเล้ยี งปลาดุก ฉบบั นี้ จนสาเร็จลลุ ว่ งไปด้วยดี

กศน.อาเภอกระสงั
พฤษภาคม 2564

สารบญั

คานา หนา้
สารบญั
ความเปน็ มา 1
หลักการของหลักสตู ร 1
จดุ มงุ่ หมาย 2
กลุม่ เป้าหมาย 2
ระยะเวลา 2
โครงสร้างหลกั สตู ร 2
การจดั กระบวนการเรียนรู้ 3
การวัดและประเมนิ ผล 4
การจบหลักสูตร 4
เอกสารหลักฐานการศึกษา 5
การเทียบโอน 5
คณะผู้จัดทา

1

หลกั สูตรการประกอบอาชีพการเล้ยี งปลาดกุ
จานวน 40 ช่วั โมง
กลมุ่ อาชพี เฉพาะทาง

ความเปน็ มา
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 10 (2550-2554) กาหนดกรอบการพัฒนาประเทศ ท่ี

มุ่งเนน้ ให้เกดิ “การพัฒนาท่ียั่งยืนและการอยู่ดีมีสุขของคนไทย” และสร้างค่านิยมร่วมกันให้คนไทยตระหนัก
ถึงความจาเปน็ และการปรับเปลี่ยนกระบวนการคิด เจตคติ กระบวนการทางานโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ตามพระราชดารัสพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว นาทางในการบริหารประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ
เหน็ ความสาคญั ของแนวคิดดงั กลา่ วจึงมนี โยบายเพ่มิ ศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันให้ประชาชน
ไดม้ อี าชพี ทีส่ ามารถสรา้ งรายได้ที่มั่นค่งั และมั่นคงโดย ได้กาหนดยุทธศาสตร์ “2555” เพื่อพัฒนา 5 ศักยภาพ
ของพืน้ ท่ใี น 5 กล่มุ อาชีพใหม่ใหส้ ามารถแข่งขันได้ ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก เพื่อเป็นการสนองนโยบายและ
ขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน กศน. ได้นานโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวง
ศึกษา เก่ียวกับการจัดการการศึกษาอาชีพมาสู่การปฏิบัติ เพ่ือจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพให้กับ
กลุ่มเป้าหมาย และประชากรให้มีรายได้และมีงานทาอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับ
ภูมิภาคเอเชียและ ระดับสากล และเพ่ือให้กลุ่มเป้าหมาย ประชากรมีรายได้และมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยยึด
ศกั ยภาพ 5 ศกั ยภาพ มาใชใ้ นการดาเนนิ การดังกล่าวกอปรกับปัจจุบันเกษตรกรนิยมปลูกพืชเชิงเดี่ยว ทาให้มี
ผลผลิตจานวนมาก ออกสู่ตลาดส่งผลให้ราคาผลผลผลิตตกต่าหรือบางส่วนไม่ได้ขนาดตามความต้องการของ
ตลาด มปี ริมาณมาก จนลน้ ตลาดทาให้เกษตรกรมรี ายไดไ้ มเ่ พียงพอกบั ค่าใช้จ่าย เพอ่ื เป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว
สานักงาน กศน. จึง จัดทาหลักสูตร “การเลี้ยงปลาดุก” เพ่ือเป็นการให้ความรู้ให้กับกลุ่มผู้ไม่มีอาชีพและผู้
ตอ้ งการ พัฒนาอาชีพในการเพิ่มเพม่ิ มูลคา่ ของผลผลติ จนสามารถนาไปประกอบเป็นอาชพี เพือ่ กอ่ ใหเ้ กิดรายได้
ให้กับ ตนเองและครอบครัวเป็นการสรา้ งอาชพี ให้เกดิ ความมงั่ ค่ังและมน่ั คงตอ่ ไป

หลกั การของหลกั สตู ร
หลักสูตรการศกึ ษาอาชีพการเลย้ี งปลาดกุ เพื่อการมีงานทา มหี ลกั การจัดการเรียนรูด้ ังนี้

1. เปน็ การจดั ทาหลักสูตรเกษตรกรรมท่ีมคี วามยืดหยุ่นดา้ นหลกั สูตร การจดั กระบวนการเรียนรู้
การวดั และการประเมินผล

2. เพอื่ พัฒนาอาชพี และการมีงานทาอย่างมคี ณุ ภาพ สามารถสรา้ งรายได้ทมี่ น่ั คง
3. สง่ เสริมใหม้ ีการเทียบโอนความรูเ้ ข้าสหู่ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551
4. ส่งเสรมิ ให้กล่มุ เป้าหมายนาศกั ยภาพ 5 ดา้ นของพ้ืนทป่ี ระกอบด้วย ทรพั ยากรธรรมชาติ สภาพภูมิ
ประเทศ สภาพภมู ิอากาศ ศลิ ปวัฒนธรรมประเพณี และทรัพยากรมนษุ ย์ มาใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจ ประกอบ
อาชพี 5 มงุ่ เนน้ การฝกึ ปฏบิ ตั ิเพอ่ื ใหเ้ กิดทักษะ สามารถนาไปประกอบอาชพี ได้

จุดหมายของหลักสตู ร
มงุ่ พัฒนาให้ผู้เรยี นมคี ุณภาพชวี ติ ที่ดี มศี กั ยภาพในการประกอบอาชพี และการเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ ง จึง

กาหนดจุดหมายดงั นี้
1. ให้มีความสามารถในการประกอบสมั มาอาชพี ให้สอดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนดั และ ตามทัน

ความเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจ สงั คม และการเมือง

2

2. ให้มคี วามรู้ทักษะในการเล้ียงปลาดกุ อาชีพที่สร้างรายไดใ้ ห้เกดิ ความมนั่ คง
3. ใหม้ คี ุณธรรมในการประกอบอาชีพ

กลุ่มเปา้ หมาย มี 2 กลุม่ เป้าหมาย คือ
1. ผูท้ ไ่ี มม่ อี าชพี
2. ผทู้ มี่ ีอาชพี และตอ้ งการพฒั นาอาชพี

ระยะเวลา
จานวน 40 ชว่ั โมง

โครงสร้างหลักสตู ร

1. ช่องทางการประกอบอาชพี จานวน 3 ช่วั โมง

1.1 ความสาคญั ของการประกอบอาชพี

1.2 ความเป็นไปไดข้ องการประกอบอาชีพ

1.3 แหลง่ เรยี นรู้ / ภมู ปิ ัญญา

1.4 ทิศทางการประกอบอาชพี

2. ทกั ษะอาชพี จานวน 30 ชว่ั โมง

2.1 ข้นั ตอนการเตรียมการประกอบอาชพี

2.1.1 เตรยี มคน ความรู้ในเรือ่ งของประโยชนข์ องการเล้ยี งปลาดุก วิธกี ารคัดเลอื กพนั ธป์ ลา

ดกุ สาหรับทาการเล้ียง วสั ดุ, ตาขา่ ย, อาหาร

2.1.2 เตรียมสถานท่ี

1) ขนาดของพน้ื ที่ ความสะอาดของพน้ื ทีส่ าหรบั เตรียมการเลี้ยงปลาดุก

2) เตรยี มพ้ืนทส่ี าหรบั จดั การเลย้ี งปลาดกุ

2.1.3 เตรียมวสั ดุอปุ กรณ์

1) วสั ดุสาหรบั การเลยี้ งปลาดุก

2.1.4 เตรียมวตั ถดุ ิบ

1) พันธป์ ลาดุก, ตาข่าย, น้า, อาหาร, อปุ กรณ์แต่ละประเภทในการเลีย้ งปลาดุก

2.2 ข้ันตอนการฝกึ ทกั ษะการเล้ยี งปลาดุก

2.2.1 คดั เลอื กพันธป์ ลาสาหรบั การเลยี้ งปลาดกุ แบบตา่ ง ๆ

2.3 การเลอื กอาหาร

1) การเกบ็ รกั ษาคุณภาพ

3. การบรหิ ารจัดการอาชีพ จานวน 3 ชว่ั โมง

3.1 ทุน

3.1.1 การหาแหลง่ ทนุ

3.1.2 การระดมทุน 100

3.2 การบรหิ ารจดั การ

3.2.1 อุตสาหกรรมในครอบครวั

3

- ความหมายและความสาคญั
3.2.2 วสิ าหกจิ ชมุ ชน

1) ความหมายและความสาคญั
2) ความแตกตา่ งของอตุ สาหกรรมในครอบครัวกับวิสาหกจิ ชุมชน

3.2.3 การวางแผนการผลติ
1) การเตรียมวัตถุดิบ
2) การสารวจความตอ้ งการของตลาด

3) ฤดูของผลผลิต
3.2.4 การจัดทาบัญชี

1) บญั ชีรายรับรายจ่าย
2) บัญชีต้นทนุ
3) บัญชกี าไรขาดทุน

3.3 การตลาด
1) ลกู ค้า

2) การขนสง่ , การกระจายสินค้า
3) การคิดตน้ ทนุ การต้ังราคา
4) การออกแบบการขาย

3.4 การประชาสัมพันธ์

4. โครงการอาชพี จานวน 4 ชว่ั โมง
4.1 ความสาคญั ของโครงการอาชพี
4.2 ประโยชนข์ องโครงการอาชีพ

4.3 องค์ประกอบของโครงงานอาชพี
4.4 การเขียนโครงการอาชพี

4.5 การประเมนิ ความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการอาชีพ

การจดั กระบวนการเรียนรู้

1. วิทยากรให้ความรู้โดยวิธีการบรรยาย
2. การเรียนรู้ดว้ ยตนเองจากการศึกษาเอกสาร

3. การฝึกปฏิบัติ
4. การศกึ ษาดูงานการบรหิ ารจัดการ 5. การถอดบทเรียนจากการศกึ ษาดงู าน ส่ือการเรียนรู้

1. เอกสารเร่ืองการเลี้ยงปลาดกุ

2. ซีดกี ารแปรรปู ผลิตภัณฑ์การเลยี้ งปลาดกุ
3. วทิ ยากรเพม่ิ ความร้เู ร่ืองการเลย้ี งปลาดุก

4. วิทยากรเพิ่มความรู้เรอ่ื งการออกแบบการขาย
5. วทิ ยากรเพม่ิ ความร้เู รอ่ื งการขาย
6. วทิ ยากรเพ่มิ ความรูเ้ รื่องการทาบญั ชี

7. แหล่งเรียนรู้
8. ตวั อยา่ งการขาย

4

การวดั และประเมินผล
1. การประเมนิ ความร้ภู าคทฤษฏรี ะหว่างเรยี นและจบหลกั สตู ร
2. การประเมนิ ผลงานระหว่างเรียนจากการปฏิบตั ิ ได้ผลงานทม่ี ีคุณภาพสามารถสรา้ งรายได้ และจบ

หลักสูตร

การจบหลกั สูตร
1. มเี วลาเรยี นและฝกึ ปฏิบัติตามหลกั สูตร ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินผา่ นตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60
3. มผี ลงานการเล้ียงปลาดกุ ที่ไดม้ าตรฐานเป็นที่พึงพอใจของลูกค้า อย่างน้อย 15 คน และผา่ น การทา

แผนธรุ กิจจึงจะไดร้ บั วฒุ บิ ัตร

เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
1. หลักฐานการประเมนิ ผล
2. ทะเบยี นคมุ วฒุ ิบัตร
3. วฒุ ิบัตร ออกโดยสถานศกึ ษา

การเทยี บโอน
ผเู้ รียนท่จี บหลกั สูตรนสี้ ามารถนาไปเทยี บโอนผลการเรยี นรกู้ ับหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับ

การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชพี วิชาเลือกท่ีสถานศึกษาไดจ้ ัดทาข้นึ

รายละเอียดโครงสร้าง

เรอ่ื ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา

1. ชอ่ งทางการประกอบ 1.1 อธบิ ายความสาคญั 1.1 ความสาคญั ของการ
อาชพี การเล้ียงปลาดุก ของการเลยี้ งปลาดกุ ประกอบ อาชพี
1.2 อธิบายวธิ ีการเพ่ิม 1.2 ความเปน็ ไปได้ของ

มลู คา่ ผลผลติ ได้ การประกอบ อาชพี
1.3 ยกตวั อยา่ งแหล่ง 1.3 แหล่งเรียนรู้ / ภมู ิ

เรียนรู้/ ภมู ปิ ญั ญา ท่ใี ช้ ปญั ญา
ศึกษาได้ 1.4 ทศิ ทางการประกอบ
1.4 คัดเลอื กวตั ถุดิบท่ี อาชพี

เหมาะสมสา หรบั การ
แปรรูปแตล่ ะประเภทได้

1.5 ทศิ ทางการประกอบ
อาชีพ

5

งหลักสูตรการเลี้ยงปลาดุก

การจดั กระบวนการเรียนรู้ ช่วั โมง

ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

1.1 ศึกษาข้อมลู จากเอกสาร สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3 ชว่ั โมง

สถานประกอบการ สอ่ื ของ จริง ส่ือบคุ คลในชมุ ชน

เพือ่ นาขอ้ มลู มา วเิ คราะหแ์ ละใช้ในการประกอบ

อาชีพท่มี ี ความเป็นไปไดใ้ นชุมชน

1.2 วิเคราะหอ์ าชีพท่ีจะสามารถเลอื ก ประกอบ

อาชพี ได้ในชมุ ชนจากข้อมูลต่างๆ

1.3 ศกึ ษาดงู านในสถานท่ีการเล้ียงปลาดกุ แหลง่

เรียนรู้ในชุมชน

1.4 ครู ผเู้ รยี น และผ้รู ู้ ร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกบั ทิศ

การประกอบอาชีพการการเลย้ี งปลาดุก ในรปู แบบ

ทเ่ี หมาะสม กบั ตนเอง เชน่ ลูกจา้ ง เจ้าของกิจการ

ร่วม ทุน ฯลฯ โดยคานึงศกั ยภาพ 5 ดา้ น ได้แก่

ศักยภาพทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นท่ี

ศักยภาพของพ้นื ทีต่ ามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพ

ของภมู ปิ ระเทศ และทาเลที่ต้งั ของแตล่ ะประเทศ

ศักยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรมประเพณแี ละวถิ ีชวี ติ

ของแตล่ ะ พืน้ ที่ และศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ย์

ใน แต่ละพ้นื ท่ี

เรอ่ื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนื้อหา

2. ทกั ษะการประกอบ 2.1 ผเู้ รียนสามารถ
อาชีพ การเลีย้ งปลาดุก อธิบายขัน้ ตอน การ

เตรียมการประกอบอาชพี
ได้
2.2 ผ้เู รยี นสามารถเลย้ี ง

ได้ผลผลติ ได้
2.3 ผู้เรียนสามารถเลอื ก

วธิ ีเล้ยี งที่เหมาะสมกบั
พ้ืนที่ได้

6

การจัดกระบวนการเรียนรู้ ช่วั โมง
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
2.1 ขั้นตอนการเตรียมการประกอบอาชีพ
2.1.1 เตรียมคน ความรใู้ นเรอื่ งของประโยชนข์ อง 30 ชว่ั โมง
การเลีย้ งปลาดุก วธิ ีการคัดเลอื กพันธ์ปลาสาหรบั ทา
การเลยี้ ง วัสดุ, ตาขา่ ย, อาหาร, วสั ดุสาหรับทาการ
เลี้ยงปลาดกุ
2.1.2 เตรียมสถานท่ี

1) ขนาดของพนื้ ที่ ความสะอาดของพน้ื ที่
สาหรบั เตรียมการเลย้ี งปลาดกุ

2) เตรียมพน้ื ที่สาหรบั จัดการเล้ียงปลาดุก
2.1.3 เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์

1) วัสดุสาหรับการเล้ียงปลาดกุ
2.1.4 เตรียมวัตถดุ บิ

1) พนั ธป์ ลาดกุ , ตาขา่ ย, น้า, อาหาร,
อุปกรณ์แต่ละประเภทในการเลยี้ งปลาดุก
2.2 ขนั้ ตอนการฝกึ ทกั ษะการเล้ยี งปลาดกุ
2.2.1 คดั เลอื กพันธ์ปลา สาหรับการเลยี้ งปลาดุก
แบบตา่ ง ๆ
วธิ ีการทา
วสั ดอุ ุปกรณ์
- เตรยี มบอ่ หรือกระชังในการเล้ียงปลา
- เตรียมนา้
- เตรยี มพันธ์ปลา
- เตรียมอาหารปลา



7

•วธิ ีทา
- เตรยี มพันธป์ ลาที่ได้

- นามาปลอ่ ยลงในบอ่ ปลาท่เี ตรยี มไว้
- ดวู า่ ปลาลอยนา้ ไหมหรือวา่ ยเป็นปกติ

- ค่อยๆ ให้อาหารทลี ะนอ้ ย ๆ
- สงั เกต ดอู าการปลาในทุก ๆ เช้า เยน็ ว่ามีลอยนา้
หรอื ไม่

- เร่ิมอาหารเพ่ิมข้ึน
- ใหอ้ าหารเต็มที่ ตามความเหมาะสม

- ดูแลให้อาหารจนถึง เวลาเหมาะสมในการนา
ผลติ ภัณฑ์ ออกมาขาย ไดต้ ามความเหมาะสม

เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา

3. การบริหารจัดการ 3.1 ผูเ้ รยี นสามารถบอก 3.1 ทุน
อาชีพ แหล่งทุน / ระดมทุนได้ 3.1.1 การหาแหล่งทุน

3.2 ผู้เรียนสามารถ 3.1.2 การระดมทุน
อธิบายการบรหิ าร จัดการ 3.2 การบริหารจัดการ
ดา เนินงานอาชพี ใน 3.2.1 อตุ สาหกรรมใน

รปู แบบ ครอบครวั / ครอบครัว
วสิ าหกิจชุมชนได้ - ความหมายและความ

3.3 ผ้เู รยี นสามารถทา สาคัญ
บญั ชี คิดตน้ ทนุ การตัง้ 3.2.2 วสิ าหกิจชมุ ชน
ราคาขายได้ 1) ความหมายและความ

3.4 ผเู้ รียนสามารถบอก สาคญั
วธิ ีการขนสง่ ผลติ ภณั ฑไ์ ด้ 2) ความแตกตา่ งของ

3.5 ผเู้ รียนสามารถบอก อุตสาหกรรมใน
แหลง่ จา หน่าย การ ครอบครวั กบั วสิ าหกิจ
กระจายสนิ คา้ ชมุ ชน

3.6 ใหส้ ามารถบอก 3.2.3 การวางแผนการ
วธิ กี าร/ ชอ่ ง ทางการ ผลติ

ประชาสัมพันธ์สินคา้ ได้ 1) การเตรียมวัตถดุ ิบ
3.7 ผเู้ รยี นสามารถรู้ 2) การสารวจความ
กระบวนการ ต้องการของตลาด

8

การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ช่วั โมง

ทฤษฎี ปฏิบัติ

3.1 การบริหารจัดการทุน 3 ชัว่ โมง

3.1.1 แลกเปลย่ี นเรียนร้ใู นเร่ือง แหล่งที่มาของ

ทุนและวธิ ีการได้มาซง่ึ ทนุ

3.1.2 วิทยากรสรุปและให้ความรู้ เพ่มิ เติม

3.2 การบริหารจดั การ

3.2.1 วิทยากรใหศ้ กึ ษาเอกสาร อุตสาหกรรมใน

ครอบครวั วสิ าหกิจชมุ ชน การวางแผนการผลติ

การจัดบญั ชี

3.2.2 วิทยากรใหค้ วามรูเ้ พิม่ เติม

3.2.3 ฝึกปฏิบตั ิ

3.2.4 วิทยากรใหค้ าแนะนา เพิม่ เติม จากการฝึก

ปฏิบตั ิ

3.3 การบริหารจัดการการตลาด จดั ให้ ผู้เรยี นศกึ ษา

3.3.1 ข้อมูลการตลาด และวิเคราะห์ ความ

ตอ้ งการของตลาด

3.3.2 กาหนดทศิ ทาง เปา้ หมาย และแผนการ

จดั การตลาดที่เก่ียวขอ้ งกบั ผลิตภัณฑ์

เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หา

3.7 ผ้เู รยี นสามารถรู้ 3) ฤดขู องผลผลติ
กระบวนการของการขาย 3.2.4 การจดั ทา บญั ชี

1) บญั ชรี ายรบั รายจา่ ย
2) บญั ชีต้นทนุ
3) บญั ชีกา ไรขาดทนุ

3.3 การตลาด
1) ลกู ค้า

2) การขนสง่ ,
การกระจายสนิ คา้
3) การคิดต้นทนุ การ

ตั้งราคา
4) การออกแบบการ

ขาย
3.4 การประชาสมั พันธ์
3.5 การขาย- ข้ันตอน

การขาย

การจดั กระบวนการเรยี นรู้ 9

3.3.3 ฝกึ ปฏบิ ตั ิ เรอื่ ง การคิดต้นทนุ การตงั้ ราคา ชว่ั โมง
การขาย ฯลฯ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
3.3.4 วทิ ยากรให้คาแนะนา เพิ่มเติม
3.4 วทิ ยากรให้ความรเู้ รอ่ื งการ ประชาสมั พันธ์
3.5 วทิ ยากรให้ความรเู้ รื่องการขาย
3.6 วดั ผลและประเมนิ ผล

เร่อื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา

10

การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ชั่วโมง
ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
วิธกี ารทา
วัสดุอปุ กรณ์
- เตรียมบอ่ หรือกระชังในการเล้ยี งปลา
- เตรยี มนา้
- เตรยี มพันธป์ ลา
- เตรยี มอาหารปลา
•วิธที า
- เตรียมพนั ธป์ ลาทีไ่ ด้
- นามาปลอ่ ยลงในบ่อปลาที่เตรียมไว้
- ดูว่าปลาลอยน้าไหมหรือว่ายเป็นปกติ
- ค่อยๆ ใหอ้ าหารทีละนอ้ ย ๆ
- สังเกต ดูอาการปลาในทุก ๆ เช้า เย็น ว่ามลี อยนา้
หรอื ไม่
- เริ่มอาหารเพิม่ ข้ึน
- ให้อาหารเตม็ ท่ี ตามความเหมาะสม

เรอื่ ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้อื หา

4. โครงการประกอบ 4.1 บอกความสาคญั ของ 4.1 ความสาคญั ของ
อาชพี การเลี้ยงปลาดกุ
โครงการ อาชพี ได้ โครงการอาชีพ

4.2 บอกประโยชน์ของ 4.2 ประโยชนข์ อง

โครงการอาชีพได้ โครงการอาชพี

4.3 บอกองค์ประกอบของ 4.3 องค์ประกอบของ

โครงการ อาชพี ได้ โครงงานอาชีพ

4.4 อธบิ ายความหมาย 4.4 การเขยี นโครงการ

ขององค์ ประกอบของ อาชพี

โครงการอาชพี ได้ 4.5 การประเมินความ

4.5 อธบิ ายลักษณะการ เหมาะสมและ สอดคล้อง

เขยี นทีด่ ีของ องค์ประกอบ ของโครงการอาชพี

ของโครงการอาชพี ได้

11

การจัดกระบวนการเรียนรู้ ช่วั โมง
ทฤษฎี ปฏิบัติ
4.1 จดั ให้ผู้เรยี นศกึ ษาเนื้อหาจากใบความ รู้ เรอื่ ง 4 ช่ัวโมง
ความสาคัญของโครงการอาชพี ประโยชน์ของ
โครงการอาชพี องคป์ ระกอบ ของโครงการอาชพี
แล้วจดั กจิ กรรมการ สนทนาแลกเปลีย่ นข้อมูลความ
คิดเห็น เพื่อ สร้างแนวคดิ ในการดา เนินกจิ กรรม
การ เรียนรู้
4.2 จดั ให้ผเู้ รียนศึกษาสาระข้อมูลจากใบ ความรู้
เรือ่ ง ตัวอยา่ งการเขียนโครงการ
อาชพี ทด่ี ี เหมาะสม และถกู ตอ้ ง พรอ้ ม จดั การ
อภิปราย เพอ่ื สรุปแนวคดิ เปน็ แนวทางในการเขยี น
โครงการอาชีพทดี่ ี เหมาะสม และถูกตอ้ ง
4.3 จดั ใหผ้ ู้เรียนฝกึ ปฏิบัติ การเขียน โครงการ
อาชพี

เร่อื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา

12

การจดั กระบวนการเรียนรู้ ช่วั โมง
ทฤษฎี ปฏิบัติ
4.4 กาหนดใหผ้ ู้เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั ิการ ประเมนิ ความ
เหมาะสมและสอดคล้องของ โครงการอาชีพ
วทิ ยากรตรวจความถกู ตอ้ งและใหค้ าแนะนา
เพ่ิมเตมิ ในการเขยี น โครงการประกอบอาชพี
4.5 จัดให้ผ้เู รยี นปรับปรงุ โครงการอาชพี ใหม้ ีความ
เหมาะสมและถกู ตอ้ ง
4.6 กาหนดให้ผ้เู รยี นเขยี นโครงการอาชพี ของ
ตนเอง เพอ่ื เสนอขอรบั การสนบั สนุน งบประมาณดา
เนนิ งานอาชีพ และใช้ใน การดาเนินการประกอบ
อาชีพต่อไป

ทปี่ รกึ ษา คณะผู้จดั ทา

1. นางนุจรยี ์ ส่องสพ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอกระสงั
2. นางลปิ ิกร ใยรัมย์ ครผู ้ชู ่วย
3. นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ วันแกว้ ครูผูช้ ่วย
4. นางศภุ กานต์ อปุ สาร ครูอาสาสมัครฯ
5. นางสายแก้ว งามแฉล้ม ครูอาสาสมัครฯ
6. นายวุฒชิ ยั สภุ าพ ครูอาสาสมคั รฯ

ผู้ใหข้ ้อมลู /เรียบเรียง วทิ ยากร
1. นายวิระ เกรัมย์ ครู กศน.ตาบล
2. นางสภุ าพ แสงประโคน ครู กศน.ตาบล
3. นายพนิ จิ แสงประโคน ครู กศน.ตาบล
4. นายภานวุ ฒั น์ รามมะมะ
ครู กศน.ตาบล
ผพู้ ิมพ์
1. นางสุภาพ แสงประโคน


Click to View FlipBook Version