The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทรนด์อาหารแห่งอนาคต “แมลงกินได้” (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัฐศาสตร์, 2022-10-21 16:52:31

เทรนด์อาหารแห่งอนาคต “แมลงกินได้” (1)

เทรนด์อาหารแห่งอนาคต “แมลงกินได้” (1)

เทรนด์อาหาร
แห่งอนาคต

“แมลงกินได้”

เมื่อเร็วๆ นี้ สำนักงานความ การบริโภคแมลงไม่ใช่เรื่องใหม่
ปลอดภัยอาหารสหภาพยุโรป ของไทย เราคุ้นชินกับการ
(European Food Safety บริโภคแมลงนานาชนิดมาเป็น
Authority: EFSA) ภายใต้การ เวลานาน ไม่ว่าจะเป็นจิ้งหรีด
กำกับดูแลของคณะกรรมาธิการ หนอนรถด่วน แมงดา หรือ
ยุโรป (EC) ได้ออกแถลงการณ์ขึ้น ดักแด้ไหม ทั้งในฐานะอาหารพื้น
ทะเบียนให้ “ตั๊กแตน” เป็นอาหาร ถิ่นตามแต่ละภาค หรือในยุคที่
ชนิดใหม่ที่ปลอดภัยต่อการบริโภค ตั๊กแตนปาทังก้าทอดร้อนๆ
ของมนุษย์ เหยาะซอส โรยพริกไทยเป็น
ของกินเล่นแสนเพลิน จนกระทั่ง
นั่นทำให้ตั๊กแตนกลายเป็นอาหาร ปัจจุบันที่แมลงทอดหรือแมลง
ของชาวโลกอย่างเป็นทางการ ต่อ อบกรอบถูกบรรจุถุงวางขายอยู่
จากหนอนนกแบบแห้งที่ได้รับการ ตามร้านสะดวกซื้อและห้างสรรพ
ขึ้นทะเบียนไปก่อนหน้านี้แล้วเมื่อ สินค้าต่างๆ มากมาย
เดือนมิถุนายนที่ผ่านมา โดยมี
จิ้งหรีดทองแดงลายหรือจิ้งหรีด แต่สำหรับโลกตะวันตกการ
ขาวรอต่อคิวขึ้นทะเบียนเป็นรายต่อ บริโภคแมลงเริ่มเป็นที่นิยมช่วง
ไป ไม่กี่ปีที่ผ่านมา และมีแนวโน้มจะ
ได้รับความนิยมมากยิ่งขึ้นใน
ฐานะเป็นแหล่งโปรตีนของ
อาหารแห่งอนาคต

องค์การสหประชาชาติ หรือ UN เพราะเป็นแหล่งโปรตีนชั้นดี มี
ระบุว่า ภายในปี 2050 ประชากร คุณค่าทางโภชนาการสูง เพาะ
โลกจะมีจำนวนมากถึง 9.7 พัน เลี้ยงง่าย ใช้ทรัพยากรน้อยกว่า
ล้านคน และอาหารที่จะเลี้ยง การทำฟาร์มปศุสัตว์ทั่วไป ถึง
ประชากรโลกทั้งหมด ณ เวลานั้น ขนาดได้รับการขนานนามว่าเป็น
จะต้องเพิ่มขึ้นทวีคูณ ซึ่งนั่นหมาย “อาหารแห่งอนาคต” เลยทีเดียว
ถึงต้องมีการเพิ่มพื้นที่การเพาะ โดยในปี 2556 องค์การอาหาร
ปลูก ทำฟาร์มปศุสัตว์ หรือเพิ่ม และเกษตรแห่งสหประชาชาติ
พื้นที่การทำประมง เพื่อเป็นแหล่ง หรือ FAO ได้ประกาศให้
ผลิตอาหาร ในขณะที่จำนวน “แมลง” เป็นแหล่งโปรตีนสำรอง
ประชากรโลกที่เพิ่มมากขึ้นทำให้ สำหรับมนุษย์
พื้นที่กลับถูกนำมาใช้เป็นที่อยู่อาศัย
มากขึ้นตามไปด้วย ทำให้เกิดความ
กังวลว่าในอนาคตโลกจะไม่
สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอกับ
ความต้องการของมนุษย์ การ
แสวงหาแหล่งอาหารทดแทนเพื่อ
เตรียมรับมือกับภาวะขาดแคลน
อาหารที่อาจจะเกิดขึ้นจึงกลายเป็น
ประเด็นสำคัญที่กำลังถูกพู ดถึงใน
วงกว้าง

ซึ่งนั่นทำให้ “แมลงกินได้” หรือ
Edible Bug กลายมาเป็นอาหาร
ทางเลือกที่สำคัญ และกำลังได้รับ
ความนิยมมากขึ้นเป็นลำดับ

มีอยู่ 3 เหตุผล หลักที่ทำให้ • ด้านความอยู่ดีกินดี : การ
แมลงกลายเป็นแหล่งอาหารหลัก เลี้ยงแมลงใช้ต้นทุนต่ำ ไม่ต้อง
สำหรับคนในอนาคต พึ่งเทคโนโลยีขั้นสูง ดังนั้น ไม่
• ด้านสุขภาพ : แมลงมีคุณค่า ว่าจะเป็นใคร อยู่ในเมืองหรือ
ทางโภชนาการ ไม่ต่างจากแหล่ง ชนบท ก็สามารถเลี้ยงแมลง
โปรตีนหลัก เช่น ไก่ หมู วัว และ และหลุดพ้นจากความยากจนได้
ปลา สารอาหารหลักในแมลงนั้นก็
คือ ไฟเบอร์ โปรตีน อีกทั้งมี ปัจจุบัน มีแมลงกว่า 1,900
แคลเซียม เหล็ก และสังกะสี สูง ชนิด ที่สามารถรับประทานได้
นอกจากนี้ ยังอุดมไปด้วยกรดไข และแมลงที่คนทั่วโลกนิยม
มันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวและไม่อิ่มตัว บริโภคมากที่สุดก็คือ
เชิงซ้อน ซึ่งเป็นแหล่งไขมันโอเมก้า • ด้วง 31%
3 และโอเมก้า 6 ชั้นดี • หนอนผีเสื้อ 18%
• ด้านสิ่งแวดล้อม : แมลงเป็น • ผึ้ง ตัวต่อ และมด 14%
อาหารที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกและ • จิ้งหรีดและตั๊กแตน 13%
แอมโมเนียน้อยกว่าปศุสัตว์ส่วน • จั๊กจั่นและเพลี้ย 10%
ใหญ่ ใช้ที่ดินน้อยกว่า และต้องการ • อื่นๆ เช่น ปลวก แมลงปอ
อาหารน้อยกว่า ยกตัวอย่างเช่น และแมลงวัน 3%
ตั๊กแตน ที่กินอาหารน้อยกว่าวัว 12
เท่า น้อยกว่าแกะ 4 เท่า และยัง
น้อยกว่าหมูกับไก่ถึงครึ่งหนึ่ง
เทียบกับการผลิตโปรตีนใน
ปริมาณเท่ากัน อีกทั้งแมลงยัง
สามารถเจริญเติบโตได้ในแหล่ง
ขยะอินทรีย์

แมลง แหล่งสารอาหาร
ชั้นดีที่ไม่ควรมองข้าม


สาเหตุที่แมลงได้ขึ้นชื่อว่าเป็น สารอาหารอื่นๆ แมลงบางชนิด
อาหารแห่งอนาคต ก็เพราะว่าเมื่อ มีสูงกว่าเนื้อสัตว์ เช่น โปรตีนใน
นำไปเทียบกับเนื้อสัตว์ที่เราใช้ปรุง เนื้อหมูติดมัน 100 กรัม มีเพียง
เป็นอาหารแล้ว แมลงมีคุณค่า 11.9 กรัม ขณะที่ตั๊กแตนใหญ่มี
ทางสารอาหารสูงมาก แมลงบาง โปรตีนมากถึง 14.3 กรัม เนื้อไก่
ชนิดให้พลังงานต่ำ ขณะที่บาง 100 กรัม มีโปรตีนสูงถึง 20.8
ชนิดให้พลังงานสูง กรัม ทว่า แมลงตับเต่า 100
ยกตัวอย่างเช่น เนื้อหมูติดมัน กรัม ให้โปรตีนสูงถึง 21.0 กรัม
100 กรัม ให้พลังงาน 457 กิโล เป็นต้น ข้อดีอีกอย่างของแมลง
แคลอรี เนื้อไก่ 100 กรัม ให้ คือ มีไขมันต่ำ ยกตัวอย่างเปรียบ
พลังงาน 110 กิโลแคลอรี เนื้อวัว เทียบให้เห็นชัดเจนคือ เนื้อหมูไม่
100 กรัม ให้พลังงาน 150 กิโล ติดมัน 100 กรัม มีไขมันสูงถึง
แคลอรี ขณะที่ตั๊กแตนใหญ่ 100 35.0 กรัม ขณะที่ตั๊กแตนใหญ่มี
กรัมให้พลังงาน 97 กิโลแคลอรี ไขมันเพียง 3.3 กรัมเท่านั้น สาร
ดักแด้ไหม 100 กรัม ให้พลังงาน อาหารบางชนิดในเนื้อสัตว์ไม่มี
98 กิโลแคลอรี ไข่มดแดง 100 เช่น คาร์โบไฮเดรต แต่พบสาร
กรัม ให้พลังงาน 82.8 กิโล อาหารดังกล่าวในแมลง และ
แคลอรี แมงดานา 100 กรัม ให้ แมลงยังมีวิตามิน B และไนอาซิน
พลังงาน 162.3 กิโลแคลอรี สูง










Click to View FlipBook Version