The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างและหน้าที่ของสมองและไขสันหลัง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัฐศาสตร์, 2021-11-02 03:27:37

สมองและไขสันหลัง

โครงสร้างและหน้าที่ของสมองและไขสันหลัง

โครงสรา้ งของระบบประสาท

โครงสรา้ งของระบบประสาท

ระบบประสาทแบง่ ตามตาแหนง่ และโครงสรา้ ง
1. ระบบประสาทสว่ นกลาง
2. ระบบประสาทรอบนอก

ระบบประสาทสว่ นกลาง

ระบบประสาทสว่ นกลาง (central nervous system) :CNS
ประกอบดว้ ย

- สมอง (brain)
- ไขสันหลงั (spinal cord)

สมองและไขสันหลงั เจรญิ มาจากท่อประสาทดา้ นหลงั ของลาตวั ที่เปล่ียนแปลง
มาจากเน้ือเยื่อชั้นนอก (ectoderm)

ทง้ั สมองและไขสนั หลงั ถกู หุ้มด้วย”เยื่อหมุ้ สมองและไขสนั หลัง”
ซึ่งมี 3 ชนั้ คอื

1. dura mater (เยอ่ื หุ้มชัน้ นอกสดุ )
2. arachnoid mater (เย่อื หมุ้ ช้นั กลาง)
3. pia mater (เยือ่ หุ้มชั้นใน)

เยื่อหุ้มสมองและไขสนั หลงั

เยื่อห้มุ ชัน้ นอก
Dura matter

เยอ่ื หุ้มชัน้ กลาง
Arachnoid matter

เยื่อหมุ้ ชนั้ ใน
Pia matter

1. Dura mater (เย่อื หุ้มชัน้ นอกสุด)

มีลักษณะเป็นเยือ่ หนา เหนียว แขง็ แรงมาก
ชว่ ยปอ้ งกนั การกระทบกระเทือน ไม่ใหเ้ กดิ อันตรายกบั เน้อื สมองและไขสันหลงั

2. arachnoid mater (เย่อื หุม้ กลาง
มลี กั ษณะเปน็ เยือ่ บางๆ อยู่ตดิ กับเน้ือเยื่อชน้ั นอกสดุ

3. pia mater (เย่อื ห้มุ ช้ันใน)

เป็นเย่อื บางๆ อยตู่ ดิ กบั สมองและไขสนั หลงั เป็นบรเิ วณที่มหี ลอดเลือด
จานวนมาก เพ่อื นาสารอาหารและ O2 มาหลอ่ เล้ยี งเซลล์ชนั้ ในของสมองและ
ไขสันหลงั

ระหวา่ งเย่อื ห้มุ ชั้นกลางกบั เยอื่ หุ้มช้ันในมลี ักษณะเปน็ ชอ่ ง เรียกวา่
“โพรงสมอง” (ventricle) ซง่ึ ภายในบรรจุของเหลว เรยี กวา่ นา้ เล้ียงสมอง
และไขสันหลัง

ทาหนา้ ที่..นาสารอาหาร , O2 , ฮอรโ์ มน และเซลลเ์ มด็ เลือดขาวจากเลอื ด
ส่งไปยังสมองและไขสนั หลงั

** นอกจากนีย้ งั ทาหนา้ ทป่ี อ้ งกันการกระทบกระเทือนให้กับสมองดว้ ย

สมอง (brain)

สมองของคนมีน้าหนักประมาณ 1.4 กิโลกรัม บรรจุอยูภ่ ายในกะโหลก
ศรี ษะที่แขง็ แรง มเี ยอ่ื ห้มุ สมองทีเ่ หนยี วและแขง็ แรงหุ้มไว้ ช่วยป้องกันมใิ ห้
สมองไดร้ ับอนั ตราย

เซลลป์ ระสาทท่สี มองมีจานวนมากกว่าร้อยละ 90 ของเซลล์
ประสาทท้ังหมดในร่างกาย สว่ นใหญเ่ ป็นเซลลป์ ระสาทประสานงาน

สมองชน้ั นอก
(เน้ือสเี ทา)

1. สมองช้นั นอก เป็นเนอื้ สเี ทา (gray matter) เปน็ ที่รวมของตัวเซลล์

ประสาทและแอกซอนชนดิ ไมม่ เี ยอื่ ไมอีลินห้มุ ทาใหเ้ ห็นสว่ นของโพรโทพลาสซมึ
จงึ เหน็ เปน็ สเี ทา

สมองช้ันใน
(เน้ือสขี าว)

2.สมองชน้ั ใน เปน็ เน้อื สขี าว (white matter) เนอื่ งจากมสี ารพวก
ไขมนั มากและเปน็ ท่ีอยขู่ อง
ใยประสาทที่มีเยอื่ ไมอีลินหุม้ จึงมองเห็นเปน็ สีขาว

สมองของคนจะมีพฒั นาการสูงทส่ี ุด เพราะ..
มรี อยหยกั ในสมองมาก และสมองมีขนาดใหญเ่ ม่อื เทยี บกับนา้ หนักตวั

ความสามารถในการเรียนร้แู ละความฉลาดข้นึ อยูก่ บั

1. รอยหยักบนสมอง

ถ้ามรี อยหยกั มาก พื้นทผ่ี วิ ของสมองกจ็ ะมากด้วย คอื มีเซลล์ประสาทมาก
นน่ั เอง

2. อัตราสว่ นระหว่างสมองตอ่ นา้ หนักตัว

สัตว์ทม่ี ขี นาดสมองใหญ่ เมอื่ เทียบกบั นา้ หนกั ตวั จะมเี ซลลป์ ระสาทใน
สมองมากกว่า ความฉลาดและความสามารถในการเรียนรู้จงึ มีสงู กว่าสตั ว์
อื่นๆ

โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของสมอง

สมอง แบ่งออกเปน็ 3 สว่ น คือ
1. สมองสว่ นหน้า
2. สมองสว่ นกลาง
3. สมองสว่ นทา้ ย

สมองสว่ นหนา้ สมองส่วนกลาง สมองสว่ นทา้ ย

สมองส่วนหนา้ (forebrain)

สมองสว่ นหน้า ประกอบดว้ ย
1. เซรบี รมั
2. ออลแฟกทอรีบัลบ์
3. ทาลามสั
4. ไฮโพทาลามัส

สมองส่วนหนา้ (forebrain)

cerebrum Thalamus
Alfactory bulb Hypothalamus

1.เซรบี รัม (cerebrum)

เซรบี รัม

เซรีบรัม (cerebrum) เปน็ สมองสว่ นท่มี ีขนาดใหญท่ ี่สดุ เปน็ สว่ นท่เี จรญิ
มากทีส่ ุดในสัตว์เลย้ี งลกู ดว้ ยน้านม

เซรบี รมั

ดา้ นในเปน็ เนื้อสีขาวของใยประสาทท่มี ีเยอ่ื ไมอลี ินหุ้ม
สมองส่วนนีท้ าหนา้ ทเี่ กบ็ ขอ้ มลู สิง่ ต่าง ๆ มคี วามจา ความคิด
เชาวน์ปัญญา เปน็ ศูนย์รบั ความรูส้ ึก การมองเห็น การได้ยิน การ
รับกลนิ่ การรับสมั ผัสและความเจบ็ ปวด รวมทง้ั ควบคุมการทางาน
ของกลา้ มเนอื้

ฟรอนทลั โลบ พาเรียทลั โลบ
เทมโพรลั โลบ
ออกซพิ ิทลั โลบ

สมองส่วนเซรบี รมั แบง่ ออกเป็นสว่ นตา่ ง ๆ 4 สว่ น

ฟรอนทลั โลบ

Frontal lobe เปน็ บริเวณท่อี ยู่ด้านหน้าสุด ทาหน้าทีค่ วบคมุ การทางานของ

กล้ามเน้ือลาย การเคลื่อนไหวของรา่ งกาย การออกเสยี ง การเรยี นรู้ เชาวนป์ ัญญา
รวมท้งั ควบคุมอารมณแ์ ละลกั ษณะบุคลกิ ภาพ โดยทส่ี มองซีกซา้ ยควบคมุ การทางาน
ของอวยั วะซีกขวา สมองซกี ขวาควบคุมการทางานของอวัยวะซกี ซา้ ย

เทมโพรลั โลบ

Temporal lobe เป็นส่วนของเซรีบรมั ทีอ่ ยู่ด้านข้างของศรี ษะ บริเวณ
ใต้ขมับ ทาหนา้ ทค่ี วบคมุ การเคล่ือนไหวของลูกนยั นต์ า เปน็ ศูนย์กลางการ
ไดย้ ินเสียงและศูนย์กลางการดมกล่นิ

ออกซิพิทัล โลบ

Occipital lobe เปน็ เซรีบรัมที่อยสู่ ว่ นทา้ ยของศรี ษะบรเิ วณทต่ี รงกบั ทา้ ยทอยของ
กะโหลกศีรษะ ทาหนา้ ท่ีเป็นศูนยก์ ลางการมองเหน็

พาเรยี ทัล โลบ

Parietal lobe อย่ทู างด้านหลังตอนบนของศรี ษะ โดยเชอื่ มตดิ กบั
สมองสว่ นเซรบี รมั ท้ัง 3 ส่วน สมองสว่ นนท้ี าหนา้ ทเ่ี ป็นศนู ยก์ ลางควบคมุ
การรับรขู้ องประสาทสัมผัส
โดยเฉพาะการรบั สัมผสั ของ หู ตา และลน้ิ รวมทงั้ การรับรู้เก่ยี วกับความ
เจบ็ ปวด

2.ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulb)

เซรีบรัม ทาลามสั
ออลแฟกทอรีบัลบ์ ไฮโพทาลามสั

ออลแฟกทอรีบัลบ์

เปน็ สมองอยู่สว่ นหนา้ สดุ ทาหน้าทเี่ กยี่ วกบั การดมกลิ่น
สาหรบั สตั ว์เลยี้ งลูกด้วยน้านมอ่ืน ๆสมองสว่ นนีจ้ ะเจรญิ ดี
ยกเว้นในคน ส่วนน้จี ะอยู่ด้านล่างของเซรบี รมั อนั เป็นส่วนใหญข่ องสมอง ในสตั วม์ ี
กระดกู สนั หลังช้นั ตา่ เชน่ ปลา กบ ส่วนนเ้ี จริญดมี าก มขี นาดใหญ่จึงใช้ดมกลิน่ ได้
ดี

3.ทาลามัส (thalamus)

ทาลามัส

ทาลามัส ทาหนา้ ทเี่ หมอื นศูนยถ์ า่ ยทอดสัญญาณของรา่ งกายระหว่างไขสันหลงั และเซ
รีบรัม โดยทาหนา้ ท่เี ปน็ ศูนย์รวมกระแสประสาททีผ่ ่านเขา้ มาแล้วถา่ ยทอดกระแส
ประสาทไปยังสว่ นต่าง ๆ ของสมองทเี่ กี่ยวขอ้ งกับกระแสประสาทนั้น ๆ

โดยแปลสญั ญาณทรี่ ับเขา้ มาก่อนสง่ ไปยังเซรบี รัม เช่น รับกระแสประสาท
จากหูแลว้ เขา้ เซรีบรมั บรเิ วณ
ศนู ย์การรับเสยี ง

4.ไฮโพทาลามสั (hypothalamus)

ไฮโพทาลามสั

ไฮโพทาลามัส ทาหนา้ ที่เกีย่ วกบั ความต้องการขน้ั พน้ื ฐานของรา่ งกาย เช่น ควบคุม
การเตน้ ของหวั ใจ ควบคุมอุณหภมู ขิ องรา่ งกาย ควบคุมความหวิ ความกระหาย เม่อื
รา่ งกายต้องการอาหารหรอื นา้
ควบคุมความตอ้ งการทางเพศ และความตอ้ งการการพักผ่อน

เซรบี รมั

ทาลามัส
ไฮโพทาลามสั



คาถาม
1. สมองส่วนใดท่ีมขี นาดใหญท่ ส่ี ดุ และเจริญมากท่สี ุดในคน
2. การทน่ี กั เรยี นร้สู ึกดีใจเมอ่ื ไดร้ บั ของขวัญ เปน็ หน้าท่ขี องสมองสว่ นใด
3. นกั เรียนคิดเลขเรว็ แมน่ ยา แสดงวา่ สมองสว่ นใดเจรญิ ดี เพราะเหตใุ ด

สมองส่วนกลาง

สมองสว่ นกลาง สมองสว่ นน้ีพัฒนาลดรูปเหลอื เฉพาะออพติก โลบ
(obtic lobe) เปน็ ส่วนทีพ่ องออกไปเป็นกระเปาะ ในคนสว่ นนจ้ี ะถกู เซ
รบี รัมบงั เอาไว้ ทาหนา้ ทีเ่ กีย่ วกับการควบคมุ การเคลื่อนไหวของนยั น์ตา ทา
ให้ลูกตากลอกไปมาได้และควบคมุ การปิดเปิดของรมู ่านตาในเวลาท่มี แี สงสวา่ ง
เข้ามามากหรือนอ้ ย

พอนส์

เซรีเบลลมั
เมดัลลาออบลองกาตา

สมองสว่ นหลงั สมองสว่ นนีป้ ระกอบด้วย 3 ส่วน คือ เซรีเบลลมั
เมดลั ลา ออบลองกาตาและพอนส์

เซรีเบลลัม

1. เซรีเบลลัม (cerebellum) เปน็ สมองท่ีอยู่สว่ นทา้ ยทอย ทาหน้าที่
ควบคุมการเคลอื่ นไหวของรา่ งกายใหเ้ ป็นไปอยา่ งราบรืน่ สละสลวย ประณตี
และเทีย่ งตรง ทาใหส้ ามารถทางานท่ีตอ้ งการความละเอยี ดออ่ นได้ และทาให้
ร่างกายสามารถทรงตัวได้ โดยรบั ความรูส้ ึกจากหูที่เก่ยี วกับการทรงตัว แล้ว
เซรีเบลลมั แปลเป็นคาสงั่ สง่ ไปยงั กลา้ มเนอื้

การควบคมุ การทรงตวั ของรา่ งกาย เช่น ขณะเดนิ ไปบนทอ่ นไม้เลก็ ๆ
ที่วางพาดบนลาธารเลก็ ๆ ไมใ่ หล้ ้มลงไป ดงั น้นั คนที่ดม่ื สุราจนเมาแล้วเดนิ
ไม่เทย่ี งตรงก็เนื่องจากแอลกอฮอลไ์ ปมีผลตอ่ การทางานของเซรเี บลลัมน่ันเอง



เมดลั ลาออบลองกาตา

2. เมดลั ลา ออบลองกาตา (medulla oblongata) เปน็ สว่ นทเ่ี ชอื่ มตอ่
ระหวา่ งสมองกับไขสันหลงั ตอนปลายสดุ ของสมองสว่ นนี้อยตู่ ดิ กบั ไขสันหลัง
จึงเป็นทางผา่ นของกระแสประสาทระหว่างสมองกบั ไขสนั หลงั

เมดลั ลาออบลองกาตานเี้ ป็นศนู ย์ควบคมุ การทางานของระบบ
ประสาทอตั โนวตั ิตา่ ง ๆ เชน่ การหมนุ เวียนเลอื ด ความดันเลอื ด การเต้น
ของหวั ใจ ศนู ยค์ วบคุมการหายใจ การกลนื การไอ การจาม และการ
อาเจยี น

พอนส์

3. พอนส์ (pons) อยดู่ ้านหนา้ ของเซรเี บลลัม เป็นทางผ่านของกระแส
ประสาทระหว่างเซรบี รมั กบั เซรเี บลลัม และระหวา่ งเซรเี บลลมั กบั ไขสนั หลงั
มหี นา้ ทีค่ วบคุมการเคลอื่ นไหวเก่ยี วกบั การเค้ยี วอาหาร การหลั่งนา้ ลาย การ
หายใจ การฟังและการเคลอ่ื นไหวบรเิ วณใบหนา้

ไขสันหลงั

ไขสนั หลัง

สมองสว่ นกลาง

พอนส์

เมดัลลาออบลองกาตา

** สมองส่วนกลาง พอนส์และเมดลั ลา ออบลองกาตา สามสว่ นนี้
รวมกันเรยี กวา่ กา้ นสมอง (brain stem)



โครงสร้างภายในไขสันหลงั เมือ่ ตดั กระดูกสนั หลังตามขวางจะเหน็ กระดูก
สันหลังลอ้ มรอบอยู่ และเห็นเสน้ ประสาทไขสนั หลังยื่นออกมาจากชอ่ ง
ระหวา่ งกระดกู สนั หลงั

ไขสนั หลงั ประกอบดว้ ย สว่ นต่างๆ ดงั นี้
1.สว่ นท่เี ป็นเนื้อสขี าว (white matter)
2.สว่ นทเี่ ป็นเนือ้ สีเทา (grey matter)

1. ส่วนเน้อื สขี าว (white matter)

เป็นสว่ นท่ีอยู่ดา้ นนอก เปน็ พวกใยประสาทที่มีเยือ่ ไมอีลินหุ้มอยหู่ นา
จงึ มีสขี าว ทาหนา้ ที่เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างไขสนั หลงั กบั
สมอง

2. ส่วนเนอื้ สเี ทา (gray matter)

เป็นส่วนทอ่ี ยูด่ า้ นใน มรี ปู ร่างคล้ายอกั ษรรปู ตวั H หรือรูปผีเสอื้
เปน็ ทีอ่ ยูข่ องเซลล์ประสาทและใยประสาททไี่ มม่ ีเยอ่ื ไมอีลินห้มุ ตรงกลางของ
ไขสนั หลังบรเิ วณเนื้อสเี ทานจี้ ะมชี อ่ งกลวง ภายในมีนา้ เลย้ี งสมองและไขสนั
หลังบรรจุอยู่


Click to View FlipBook Version