โรงเรียนศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33
คำนำ
อาหารมีความเกี่ยวข้องกับวิถีการดารงชีวิตเราต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะอาหารไทยเป็น
อาหารที่มเี สนห่ ์ น่ารบั ประทาน และมีชื่อเสียงโดง่ ดังไปทัว่ โลก และเปน็ ที่ยอมรับของชาวต่างชาติ
อาหารและโภชนาการเป็นพ้นื ฐานสาคัญของชีวิตมนุษย์ นบั ตงั้ แตป่ ฏสิ นธิในครรภ์ของมารดาจนกระท่ัง
ถึงส้ินอายุขัย คนเรากินอย่างไรสุขภาพก็เป็นอย่างน้ัน ดังคากล่าวท่ีว่า “When you are what you
eat” อย่างไรก็ตามพฤติกรรมการกินหรือการบริโภคอาหารในปัจจุบันเปล่ียนไปจากอดีต เนื่องจากการ
พฒั นาประเทศจากเกษตรกรรมไปสอู่ ตุ สาหกรรม ทาใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี
เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมอย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคน
ไทย ซึ่งมีอิทธิพลทาให้บุคคลและครอบครัวมีรูปแบบการดาเนินชีวิตเปล่ียนไป ส่งผลให้พฤติกรรมการ
บรโิ ภคอาหารเปลี่ยนตามจนกระทั่งก่อให้เกิดปัญหาโภชนาการท่ีหลากหลาย ซ่ึงมีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกับ
โรคภัยไข้เจ็บท่ีคร่าชีวิตบุคคลในครอบครัวไปเป็นจานวนมาก เช่น โรคมะเร็ง โรคไขมันในเลือดสูง โรค
อ้วน และโรคหัวใจขาดเลือด เป็นต้น สร้างความสูญเสียให้แก่ครอบครัว และทาให้ประเทศชาติต้อง
สูญเสียบุคลากรที่มีคุณภาพไปท้ังที่ยังไม่ถึงเวลาอันสมควร ถึงเวลาที่ควรทบทวนดูพฤติกรรมการบริโภค
อาหารของคนไทยในยุคปัจจุบันว่า ควรมีการปรับเปลี่ยนเพ่ือหลีกเล่ียงภัยท่ีจะมากับพฤติกรรมการบริโภค
อาหารในยุคนอี้ ย่างไร
คณะผูจ้ ดั ทา
โรงเรียนศรีสุขวทิ ยา สพม. 33 ก
อาหารไทย สำรบญั
ความหมายของอาหารไทย
จุดกาเนิดของอาหารไทย 1
อาหารไทยภาคต่าง ๆ 1
2
ขนมไทย 8
ประวัตขิ องขนมไทย
การแบ่งประเภทขนมไทย 13
วัตถดุ บิ ในการปรุงขนมไทย 14
ขนมไทยแต่ละภาค 15
ขนมไทยท่ีได้รบั อทิ ธิพลจากขนมของชาติอ่นื 17
22
อาหารคาวเพ่ือสุขภาพ 27
ข้าวผัดปลาทูสมนุ ไพร
28
อาหารหวาน 29
ขนมฟักทองมะพร้าวอ่อน
32
เคล็ดลับความอรอ่ ย 32
นานาสาระ
36
38
โรงเรยี นศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33
อาหารไทย
ความหมายของอาหารไทย
อาหารไทย เป็นอาหารประจาของประเทศไทย ที่มีการสั่งสมและถ่ายทอดมา
อย่างต่อเน่ืองต้ังแต่อดีต จนเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ ถือได้ว่าอาหารไทยเป็น
วัฒนธรรมประจาชาติที่สาคัญของไทย อาหารที่ข้ึนชื่อที่สุดของคนไทย คือ น้าพริก
ปลาทู พรอ้ มกับเครอื่ งเคียงท่ีจดั มาเป็นชดุ [1]
จากผลการสารวจ 50 อาหารท่ีอร่อยที่สุดในโลกปี 2554 โดยซีเอ็นเอ็น
(CNN) ผลปรากฏว่า อาหารไทยติดหลายอันดับ ได้แก่ ส้มตาอันดับท่ี 46, น้าตกหมู
อนั ดับที่ 19, ตม้ ยากงุ้ อนั ดับท่ี 8 และ แกงมัสมั่น ติดอนั ดบั ที่ 1
จุดเดน่ ของอาหารไทย
คนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก โดยนิยมกัน 2 ชนิดคือ ข้าวเหนียวและ
ข้าวเจ้า คนไทยภาคอีสานและภาคเหนือนิยมกินข้าวเหนียวเป็นหลัก ส่วนคนไทย
ภาคกลางและภาคใต้นิยมกินข้าวเจ้าเป็นหลัก ประเทศไทยท่ีผูกพันกับสายน้าเป็น
หลัก ทาให้อาหารประจาครัวไทยประกอบด้วยปลาเป็นหลัก ทั้ง ปลาย่าง ปลาป้ิง
จ้ิมน้าพริก กินกับผักสดท่ีหาได้ตามหนองน้า ชายป่า หากกินปลาไม่หมดก็สามารถ
นามาแปรรูปให้เก็บไว้ได้นาน ๆ ไม่ว่าจะเป็นปลาแห้ง ปลาเค็ม ปลาร้า ปลาเจ่า
อาหารรสเผ็ดท่ีได้จากพริกนั้น ไทยได้รับนามาเป็นเครื่องปรุงมาจากบาทหลวงชาว
โปรตเุ กส ในสมยั พระนารายณ์ ส่วนอาหารประเภทผัดไฟแรง ได้รับมาจากชาวจีนท่ี
อพยพมาอยูใ่ นเมืองไทยในสมยั กรงุ รตั นโกสินทร์
เม่ือมีการเลี้ยงสัตว์ขายเป็นอาชีพและมีโรงฆ่าสัตว์ ทาให้มีการหาเนื้อสัตว์มา
รับประทานมากขึ้น มีการใช้เครื่องเทศหลากชนิดเพื่อช่วยดับกล่ินคาวของเน้ือที่
นามาปรุงเป็นอาหาร เคร่ืองเทศที่คนไทยนิยมนามาปรุงอาหารประเภทน้ีเช่น ขิง
กระชาย ท่ีดับกลิ่นคาวปลามานาน ก็นามาประยุกต์กับเน้ือสัตว์ประเภทวัว ควาย
เปน็ สูตรใหม่ของคนไทย
โรงเรยี นศรีสุขวิทยา สพม. 33 1
สมยั อยธุ ยำ
จดุ กำเนิดของอำหำรไทย
อาหารไทยมีจุดกาเนิดพร้อมกับการตั้งชนชาติไทย และมีการพัฒนาอย่าง
ต่อเน่ืองมาต้ังแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน จากการศึกษาของ อาจารย์กอบแก้ว
นาจพินิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เรื่องความเป็นมาของอาหารไทยยุคต่าง ๆ
สรุปได้ดังนี้
สมยั สโุ ขทยั
อาหารไทยในสมัยสุโขทัยได้
อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึก และ
วรรณคดี สาคัญคือ ไตรภูมิพระ
ร่วงของพญาลิไท ท่ีได้กล่าวถึง
อาหารไทยในสมัยนี้ว่า มีข้าวเป็น
อาหารหลัก โดยกนิ รว่ มกนั กับ
เน้ือสัตว์ ที่ส่วนใหญ่ได้มาจากปลา มีเน้ือสัตว์อ่ืนบ้าง กินผลไม้เป็นของหวาน
การปรงุ อาหารไดป้ รากฏคาวา่
“แกง” ใน ไตรภูมพิ ระรว่ งที่เปน็ ทมี่ าของคาวา่ ข้าวหม้อแกงหมอ้ ผักที่
กล่าวถึงในศลิ าจารกึ คอื แฟง แตง และน้าเตา้ สว่ นอาหารหวานกใ็ ชว้ ตั ถุดบิ
พ้นื บา้ น เชน่ ขา้ วตอก และน้าผ้งึ สว่ นหนง่ึ นยิ มกนิ ผลไมแ้ ทนอาหารหวาน
โรงเรยี นศรสี ขุ วิทยา สพม. 33 2
สมยั อยธุ ยำ
สมยั น้ีถอื วา่ เป็นยคุ ทองของไทย ได้มีการตดิ ต่อกับชาวตา่ งประเทศมากขนึ้ ท้ัง
ชาวตะวันตกและตะวันออก จากบันทึกเอกสารของชาวต่างประเทศ พบว่าคนไทยกนิ
อาหารแบบเรยี บงา่ ย ยงั คงมีปลาเปน็ หลกั มตี ้ม แกง และคาดวา่ มกี ารใชน้ า้ มนั ในการ
ประกอบอาหารแต่เปน็ น้ามนั จากมะพร้าวและกะทมิ ากกว่าไขมนั หรือน้ามันจากสตั ว์มา
ทาอาหารอยุธยามเี ชน่ หนอนกะทิ วิธที าคอื ตดั ต้นมะพรา้ ว แลว้ เอาหนอนท่อี ยใู่ นตน้
นัน้ มาให้กินกะทิแล้วกน็ ามาทอดกก็ ลายเป็นอาหารชาววังข้ึน คนไทยสมยั นมี้ กี ารถนอม
อาหาร เช่นการนาไปตากแหง้ หรอื ทาเป็นปลาเค็ม มีอาหารประเภทเครือ่ งจิ้ม เชน่
น้าพรกิ กะปิ นิยมบรโิ ภคสัตวน์ ้ามากกวา่ สตั วบ์ ก โดยเฉพาะสัตวใ์ หญ่ ไมน่ ิยมนามาฆา่
เพอ่ื ใช้เป็นอาหาร ได้มีการกล่าวถึงแกงปลาตา่ งๆ ที่ใช้เครอื่ งเทศ เชน่ แกงที่ใส่หวั
หอม กระเทียม สมุนไพรหวาน และเครือ่ งเทศแรงๆ ท่ีคาดวา่ นามาใชป้ ระกอบอาหาร
เพือ่ ดับกลน่ิ คาวของเน้ือปลา หลักฐานจากการบันทกึ ของบาทหลวงชาวต่างชาติทีแ่ สดง
ใหเ้ ห็นวา่ อาหารของชาติต่าง ๆ เร่มิ เขา้ มามากขึ้นในสมเดจ็ พระนารายณ์ เชน่ ญ่ีปุ่น
โปรตุเกส เหล้าองุน่ จากสเปน เปอรเ์ ซีย และฝรงั่ เศส สาหรบั อทิ ธพิ ลของอาหารจีนนน้ั
คาดวา่ เริ่มมีมากขึ้นในชว่ งยคุ กรงุ ศรีอยุธยาตอนปลายท่ีไทยตัดสัมพนั ธก์ ับชาตติ ะวนั ตก
ดงั นน้ั จงึ กล่าวได้วา่ อาหารไทยในสมยั อยธุ ยา ได้รับเอาวฒั นธรรมจากอาหารต่างชาติ
โดยผ่านทางการมสี มั พันธไมตรีทั้งทางการทูตและทางการค้ากับประเทศต่างๆ และจาก
หลกั ฐานทปี่ รากฏทางประวตั ศิ าสตร์วา่ อาหารตา่ งชาติสว่ นใหญแ่ พรห่ ลายอยใู่ นราช
สานกั ต่อมาจงึ กระจายสปู่ ระชาชน และกลมกลนื กลายเป็นอาหารไทยไปในทส่ี ดุ
โรงเรยี นศรีสขุ วทิ ยา สพม. 33 3
สมยั ธนบุรี 4
จากหลกั ฐานที่
ปรากฏในหนงั สือแม่
ครวั หวั ปา่ ก์ ซ่งึ เปน็
ตาราการทากบั ข้าวเล่ม
ที่ 2 ของไทย ของทา่ น
ผหู้ ญิงเปลยี่ น ภาสกร
วงษ์ พบความต่อเนอ่ื ง
ของวัฒนธรรมอาหาร
ไทยจากกรงุ สุโขทยั
มาถงึ สมยั อยธุ ยา และ
สมัยกรุงธนบุรี และยัง
เชือ่ ว่าเสน้ ทางอาหาร
ไทยคงจะเชอื่ มจากกรงุ
ธนบุรไี ปยงั สมัย
รัตนโกสนิ ทร์ โดยผา่ น
ทางหนา้ ท่รี าชการและ
สงั คมเครือญาติ และ
อาหารไทยสมยั กรงุ
ธนบรุ ีนา่ จะคลา้ ยคลงึ
กบั สมัยอยธุ ยา แตท่ ี่
พิเศษเพิ่มเตมิ คือมี
อาหารประจาชาตจิ นี
โรงเรียนศรสี ขุ วทิ ยา สพม. 33
สมยั รตั นโกสนิ ทรย์ คุ ที่ 1
(พ.ศ. 2325 – พ.ศ. 2394)
อาหารไทยในยคุ นเ้ี ป็น
ลกั ษณะเดยี วกนั กบั สมยั ธนบรุ ี แต่
มีอาหารไทยเพิ่มข้นึ อีก 1 ประเภท
คือ นอกจากมีอาหารคาว อาหาร
หวานแลว้ ยังมีอาหารวา่ งเพมิ่ ขนึ้
ในชว่ งนี้อาหารไทยได้รบั อิทธิพล
จากวัฒนธรรมอาหารของประเทศ
จีนมากขน้ึ และมกี ารปรบั เปลี่ยน
เปน็ อาหารไทย ในที่สุด จาก
จดหมายความทรงจาของกรม
หลวงนรนิ ทรเทวี ทีก่ ลา่ วถึงเคร่อื ง
ต้งั สารบั คาวหวานของพระสงฆ์ ใน
งานสมโภชน์ พระพทุ ธมณีรัตนม
หาปฏิมากร (พระแก้วมรกต)
บทพระราชนพิ นธ์กาพย์เห่เรอื ชมเครื่องคาวหวาน ของ
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้านภาลัยได้ ทรงกล่าวถงึ อาหารคาวและอาหาร
หวานหลายชนิด ซึ่งได้สะท้อนภาพของอาหารไทยในราชสานกั ทช่ี ดั เจนท่สี ุด
ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ลักษณะของอาหารไทยในราชสานักที่มกี ารปรงุ กลิน่ และรส
อย่างประณตี และให้ความสาคัญของรสชาตอิ าหารมากเปน็ พเิ ศษ และถอื ว่า
เปน็ ยคุ สมัยทมี่ ีศลิ ปะการประกอบอาหารท่คี ่อนข้างสมบูรณ์ทีส่ ุด ทัง้ รส กลิน่ สี
และการตกแตง่ ให้สวยงามรวมท้งั มีการพัฒนาอาหารนานาชาติให้เป็นอาหาร
ไทย จากบทพระราชนิพนธท์ าให้ได้รายละเอียดที่เก่ียวกับการแบง่ ประเภทของ
อาหาร คาวหรอื กบั ขา้ วและอาหารว่าง
โรงเรยี นศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33 5
ส่วนทเี ปน็ อาหารคาวได้แก่ แกงชนิดตา่ งๆ เครอื่ งจมิ้ ยาต่างๆ สาหรบั
อาหารวา่ งส่วนใหญเ่ ปน็ อาหารวา่ งคาว ไดแ้ ก่ หมูแนม ลา่ เตยี ง หรุ่ม รังนก
ส่วนอาหารหวานส่วนใหญ่เปน็ อาหารที่ทาด้วยแป้งและไข่เปน็ ส่วนใหญ่ มขี นม
ท่ีมลี กั ษณะอบกรอบ เชน่ ขนมผงิ ขนมลาเจยี ก และมขี นมทีม่ นี า้ หวานและ
กะทเิ จอื อยู่ด้วย ไดแ้ ก่ ซ่าหริ่ม บวั ลอย เปน็ ต้นนอกจากนี้ วรรณคดไี ทย เรื่อง
ขนุ ช้างขุนแผน ซง่ึ ถือวา่ เปน็ วรรณคดที ่ีสะทอ้ นวิถีชีวิตของคนในยคุ น้นั อย่าง
มากรวมทง้ั เรื่องอาหารการกินของชาวบ้าน พบวา่ มีความนิยมขนมจนี น้ายา
และมีการกินขา้ วเป็นอาหารหลัก รว่ มกับกับขา้ วประเภทตา่ งๆ ไดแ้ ก่แกง ตม้
ยา และควั่ อาหารมี ความหลากหลายมากขน้ึ ท้ังชนดิ ของอาหารคาว และ
อาหารหวาน
โรงเรียนศรีสุขวิทยา สพม. 33 6
สมยั รตั นโกสนิ ทรย์ คุ ที่ 2
(พ.ศ. 2395 – ปัจจบุ นั )
ตั้งแต่สมยั รชั กาลท่ี 4 ประเทศไทยมกี ารพัฒนา
อย่างมาก และมีการตง้ั โรงพิมพ์แห่งแรกในประเทศไทย
ดังนั้น ตารับอาหารการกินของไทยเร่ิมมีการบันทึกมากขึ้น
โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลท่ี 5 เช่นในบทพระราชนิพนธ์เรื่องไกล
บา้ น จดหมายเหตุ เสดจ็ ประพาสตน้ เป็นต้น และยังมีบันทึกต่าง ๆ โดยผ่าน
การบอกเล่าสืบทอดทางเครือญาติ และบันทึกที่เป็นทางการอ่ืน ๆ ซ่ึงข้อมูล
เหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็นลักษณะของอาหารไทย ท่ีมีความหลากหลายท้ังที่
เป็น กับข้าวอาหารจานเดียว อาหารว่าง อาหารหวาน และอาหารนานาชาติ
ท้ังที่เป็นวิธีปรุงของราชสานัก และวิธีปรุงแบบชาวบ้านที่สืบทอดมาจนถึง
ปัจจุบัน แต่เป็นท่ีน่าสังเกตว่าอาหารไทยบางชนิดในปัจจุบันได้มีวิธีการปรุง
หรอื สว่ นประกอบของอาหารผิดเพ้ียนไปจากของด้ังเดิม จึงทาให้รสชาติของ
อาหารไม่ใช่ตารับด้ังเดิม และขาดความประณีตท่ีน่าจะถือว่าเป็นเอกลักษณ์
ที่สาคัญของอาหารไทย
โรงเรยี นศรีสขุ วทิ ยา สพม. 33 7
อำหำรไทยภำคตำ่ ง ๆ
ภาคเหนือรวม 17 จังหวดั ประกอบดว้ ยภูมนิ ิเวศน์ทห่ี ลากหลายพร้อมด้วยชาติ
พันธต์ุ ่าง ๆ ท่ีตั้งถิ่นฐานในพ้ืนที่ราบลุ่ม ที่ดอน และท่ีภูเขาสูงในการดารงชีพ การต้ัง
ถ่ินฐานของชาวไทยพื้นราบซึ่งเป็นชาติพันธ์ุส่วนใหญ่จะกระจุกตัวอยู่ที่พ้ืนท่ีลุ่ม
บริเวณแม่นา้ สายใหญ่ เช่น ปงิ วงั ยม นา่ น
ของลุ่มน้าเจ้าพระยาตอนบน และ อิง ลาว ของลุ่มน้าโขง มีวิถีชีวิตผูกพันกับ
วัฒนธรรมการปลูกข้าวโดยชาวไทยพ้ืนราบภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด
(เชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ลาพนู แม่ฮอ่ งสอน พะเยา
อุตรดติ ถ์ แพร่ นา่ น) มวี ฒั นธรรมการผลติ และการบริโภคขา้ วเหนียวเปน็ หลกั
อาหารของคนเหนือจะมีความงดงาม เพราะด้วยนิสัยคนเหนือจะมีกริยาท่ี
แช่มชอ้ ย จงึ สง่ ผลต่ออาหาร โดยมากมักจะเป็นผกั
โรงเรยี นศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33 8
อำหำรภำคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ประชากรในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มีหลากหลายชาตพิ ันธุ์ เนอื่ งจากภาค
อสี านมีพื้นทีใ่ หญ่สดุ ของประเทศ ผคู้ นมวี ิถีชวี ติ ผกู ติดกับทรพั ยากรธรรมชาติที่
แตกตา่ งหลากหลาย ท้ังในเขตท่รี าบ ในแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร อาศยั ลาน้า
สาคญั ยังชพี เชน่ ชี มลู สงคราม โขง คาน เลย หมนั พอง พรม ก่า เหอื ง
พระเพลงิ ลาตะคอง ลาเชยี งไกร เซิน ปาว ยงั คันฉู อูน เชิงไกร ปลายมาศ
โดมใหญ่ โดมนอ้ ย นา้ เสยี ว เซบาย มลู น้อย เป็นตน้ และชมุ ชนทอ่ี าศัยในเขต
ภูเขา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เทือกเขาภูพานและเทือกเขาเพชรบรู ณ์ ซ่ึงความแตกต่าง
ของทรพั ยากรธรรมชาติมาก ทาใหร้ ะบบอาหารและรูปแบบการจดั การอาหารของ
ชุมชนแตกตา่ งกนั และมจี านวนหลากหลายกว่าภมู ิภาคอืน่ แต่เดิมในชว่ งท่ี
ทรพั ยากรธรรมชาติยงั อดุ มสมบรู ณ์ อาหารจากธรรมชาตมิ ีความหลากหลายและ
อดุ มสมบูรณม์ าก ชาวบ้านนิยมหาอาหารจากแหลง่ อาหารธรรมชาตเิ ท่าทีจ่ าเปน็ ที่
จะบรโิ ภคในแตล่ ะวัน เช่น การหาปลาจากแม่นา้ ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งจับปลามาขังทรมาน
ไว้ หากวนั ใดจับไดม้ ากกน็ ามาแปรรูปเปน็ ปาแดกหรือปลาร้า ปลาแห้ง ปลาเค็ม
น้าปลา (นา้ ที่เกิดจากหน้าของปาแดก) ไวบ้ ริโภค เน่ืองจากภาคอีสานมีแหล่งเกลือ
ธรรมชาติเปน็ ของตนเอง ส่งผลให้ชาวบา้ นพ่ึงพาอาหารจากตลาดนอ้ ย ชาวบ้านจะ
ปลกู ทกุ อย่างที่กนิ กินทุกอยา่ งที่ปลูก สวนหลงั บา้ นมีบทบาทสาคญั ในฐานะเปน็
แหล่งอาหารประจาครัวเรือน ชาวบา้ นมีฐานคดิ สาคัญเกยี่ วกับการผลิตอาหาร คือ
ผลิตใหเ้ พียงพอตอ่ การบรโิ ภค มีเหลือแบ่งปันใหญ้ าตพิ ีน่ อ้ ง เพ่อื นบ้าน
และทาบุญในศาสนา
โรงเรียนศรีสขุ วทิ ยา สพม. 33 9
อาหารอสี านเป็นอนั หน่ึงอันเดยี วกนั กบั อาหารของประเทศสาธารณรฐั
ประชาธิปไตยประชาชนลาว และบรเิ วณอสี านใต้มีลักษณะอาหารรว่ มกันกับ
ราชอาณาจักรกมั พชู า เน่อื งจากภาคอสี านท้ัง 2 สว่ นเป็นกลุม่ เครอื ขา่ ยชาติ
พันธุ์เดยี วกันกบั ทง้ั 2 ประเทศ ชาวอีสานรับประทานท้งั ข้าวเหนยี วและข้าว
จา้ ว ขา้ วเหนยี วเปน็ อาหารหลกั ของประชากรส่วนใหญ่ ส่วนชาวอีสานใต้นนั้
รบั ประทานขา้ วเจ้าเป็นอาหารหลกั อาหารอสี านมหี ลากหลายรสชาตทิ ้งั เผด็ จัด
เชน่ แจว่ หมากเผด็ ตาหมากห่งุ เผ็ดนอ้ ย เชน่ แกงหอย เค็มมาก เชน่ ปา
แดก แจ่วบอง เค็มน้อย เช่น แกงเหด็ หวานมาก เชน่ หลนหมากนดั หวาน
น้อย เช่น ออ่ มเนือ้ เปรีย้ วมาก เชน่ ตม้ ส้ม เปรี้ยวน้อย เชน่ ลาบเน้ือ จดื
และขม เช่น แกงขี้เหล็ก แจ่วเพ้ีย บางชนิดมีการผสมรสชาดทัง้ เผด็ เคม็
เปรีย้ วหวานเขา้ ด้วยกนั เชน่ หลนปาแดก ตาหมากหุ่ง ตาซั่ว อาหารอีสานมี
กรรมวิธีการปรุงและการทาหลากหลายรูปแบบ ไดแ้ ก่ กอ้ ย แกง กวน เขา้ ปนุ้
เขา้ แผะ ค่วั แจว่ จุ จา้ จี่ จ่าม ซอย แซ่ ซ่า ซบุ ซาว ซกเล็ก ดอง ดาง
ดาด ต้ม ตา ตาก ทอด เหน่ียน นึง่ นา้ ตก ปน่ิ ป้งิ ผัด เฝอ เพี้ย พนั
หมก เมีย่ ง หมี่ หมา่ หมกั มนู หมอ้ น้อย ยา ยา่ ง ห่อ ลาบ หลาม ลวน
ลวก เลือดแปง สม้ ไส้กอก อุ เอาะ อ่อม อบ ฮม และมีทัง้ ประเภททช่ี าวอีสาน
คิดคน้ ขึ้นเองกบั ประเภทท่รี บั อทิ ธิพลจากภายนอกทั้งตะวันตกและเอเชยี เช่น
ลาว เวยี ดนาม กมั พูชา จนี ฝรง่ั เศส อังกฤษ ภาคเหนอื ของไทยและภาคกลางของ
ไทย ส่วนเครือ่ งแกม้ (แนม) อาหารจาพวกผกั น้ันชาวอสี านนยิ มทัง้ ผักสด ผกั ต้ม
ผกั ลวก ผกั แห้ง ผักดอง รวมถึงผลไม้บางประเภทก็สามารถนามาแกลม้ ได้
อย่างไรก็ตาม อาหารอีสานไดข้ ยายอทิ ธิพลตอ่ ภูมิภาคอืน่ ๆ ของประเทศจนได้รับ
ความนิยมอยา่ งมาก อาทิ ตาหมากห่งุ หรอื ส้มหมากหุ่ง(สม้ ตา) นา้ ตก ลาบ กอ้ ย
ออ่ ม (แกงออ่ ม) คอหมยู า่ ง ปิง้ ไก่ (ไกย่ ่าง) แกงหนอ่ ไม้ ซุบหน่อไม้ เสอื ร้องไห้
ซนิ้ แหง้ (เนือ้ แดดเดียว) ตม้ แซบ ไส้กรอกอสี าน ตับหวาน ลวกจิม้ แจว่ ปาแดก
บอง (นา้ พรกิ ปลาร้า) ตบั หวาน เขียบหมู (แคบหม)ู ข้าวปุ้น (ขนมจีน) แจว่ ฮอ้ น
(จม้ิ จมุ่ ) เปน็ ตน้
โรงเรียนศรีสขุ วิทยา สพม. 33 10
อำหำรภำคกลำง
ลักษณะอาหารพน้ื บา้ นภาคกลาง
มีท่มี าต่างกนั ดังน้ี
1. ไดร้ บั อทิ ธิพลจาก
ตา่ งประเทศ เชน่ เครอ่ื งแกง แกงกะทิ
จะมาจากชาวฮนิ ดู การผดั โดยใช้กระทะ
และนา้ มันมาจากประเทศจนี หรือขนมเบอ้ื งไทย
ดัดแปลงมาจาก ขนมเบอื้ งญวน ขนมหวานประเภททองหยิบ
ทองหยอดรบั อิทธพิ ลจากประเทศทางตะวันตก เป็นต้น
2. เป็นอาหารที่มักมีการประดิษฐ์ โดยเฉพาะอาหารจากในวังท่ีมีการคิด
สรา้ งสรรคอ์ าหารให้เลศิ รส วิจิตรบรรจง เช่น ขนมช่อม่วง จ่ามงกุฎ หรุ่ม ลูกชุบ
กระเชา้ สีดา ทองหยิบ หรืออาหารประเภทข้าวแชผ่ ัก ผลไม้แกะสลกั
3. เปน็ อาหารทีม่ กั จะมเี ครอ่ื งเคยี ง ของแนม เชน่ นา้ พรกิ ลงเรือ ต้องแนม
ด้วยหมูหวานแกงกะทิ แนมด้วยปลาเค็ม สะเดาน้าปลาหวานก็ต้องคู่ กับกุ้งน่ึง
หรือปลาดกุ ยา่ ง ปลาสลิดทอดรับประทานกับน้าพริกมะม่วง หรือไข่เค็มท่ีมักจะ
รับประทานกับน้าพริกลงเรือ น้าพริกมะขามสดหรือน้าพริกมะม่วง นอกจากน้ี
ยังมขี องแหนมอกี หลายชนิด เชน่ ผกั ดอง ขงิ ดอง หอมแดงดอง เป็นต้น
4. เป็นภาคทม่ี ีอาหารวา่ ง และขนมหวานมากมาย เชน่ ข้าวเกรยี บปาก
หมอ้ กระทงทอง คา้ งคาวเผือก ปัน้ ขลิบนึ่ง ไส้กรอกปลาแนม ขา้ วตงั
หนา้ ต้ัง
โรงเรยี นศรีสุขวทิ ยา สพม. 33 11
อำหำรขนึ้ ชอื่ ของชำวมุสลมิ
1. ขา้ วยาน้าบูดู เปน็ อาหารพื้นเมืองของชาวมุสลิม ประกอบดว้ ยข้าว
สวยใสผ่ กั นานาชนิดอยา่ งเชน่ ถั่วฝักยาวซอย ดอกดาหลาซอย ถวั่ งอก
แตงกวาซอย ใบพลูซอย ใบมะกรดู ออ่ นซอย กุง้ แห้งปน่ ราดด้วยนา้ บูดู อาจจะ
โรยพรกิ ปน่ ตามความตอ้ งการ
2. กือโป๊ะ เปน็ ขา้ วเกรยี บปลาทม่ี ถี ่ินกาเนดิ มาจาก 3 จังหวดั ชายแดนใต้
(ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศมาเลเซยี ) มีแบบกรอบซ่งึ จะหนั่ เปน็ แผ่นบาง ๆ
แบบขา้ วเกรียบทวั่ ไป แบบนิ่มจะมีลกั ษณะเปน็ แทง่ เวลารับประทานจะ
เหนียวๆ รับประทานกบั น้าจ้ิม
3. ไก่ย่าง ไก่ยา่ งของชาวมสุ ลมิ ในภาคใตน้ ้ัน จะมลี ักษณะพเิ ศษคอื ราด
น้าสีแดงลงไป นา้ สีแดงจะมรี สชาติเผด็ นิดๆ หวาน เคม็ และกลมกล่อม
สามารถหาได้ตามแผงอาหารทวั่ ไป ตามตลาดนดั หรือตลาดเปดิ ท้ายทวั่ ไป
4. ไก่ทอดหาดใหญ่ จริง ๆ แลว้ ไก่ทอดหาดใหญเ่ ป็นไกท่ อดทว่ั ไป แต่ไก่
ทอดหาดใหญ่เป็นไกท่ อดทข่ี นึ้ ชื่อในภาคใต้
โรงเรียนศรสี ขุ วทิ ยา สพม. 33 12
13
ในสมัยโบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะวาระสาคัญเท่านั้น เป็นต้นว่างาน
ทาบุญ งานแต่ง เทศกาลสาคัญ หรือต้อนรับแขกสาคัญ เพราะขนมบางชนิด
จาเป็นต้องใช้กาลังคนอาศัยเวลาในการทาพอสมควร ส่วนใหญ่เป็น
ขนบประเพณี เปน็ ตน้ ว่า ขนมงาน เนอื่ งในงานแต่งงาน ขนมพ้ืนบ้าน เช่น ขนม
ครก ขนมถ้วย ฯลฯ ส่วนขนมในรั้วในวังจะมีหน้าตาสวยงาม ประณีตวิจิตร
บรรจงในการจัดวางรปู ทรงขนมสวยงาม
ขนมไทยดั้งเดิม มสี ่วนผสมคอื แป้ง นา้ ตาล กะทิ เท่าน้ัน ส่วนขนมท่ีใช้ไข่
เปน็ ส่วนประกอบ เช่น ทองหยิบ ทองหยอด เมด็ ขนุน น้ัน มารี กีมาร์ เดอ ปีนา
(ทา้ วทองกบี มา้ ) หญิงสาวชาวโปรตุเกส เปน็ ผู้นาสตู รมาจากโปรตเุ กส
ขนมไทยที่นยิ มทากันทุกๆ ภาคของประเทศไทย ในพิธีการต่างๆ ก็คือขนมจาก
ไข่ และเชื่อกันว่าช่ือและลักษณะของขนมนั้นๆ เช่น รับประทานฝอยทอง เพื่อ
หวังให้อยู่ด้วยกันยืดยาว มีอายุยืน รับประทาน ขนมช้ันก็ให้ได้เล่ือนข้ัน
เงินเดือน รับประทาน ขนมถ้วยฟูก็ขอให้เจริญ รับประทานขนมทองเอก ก็
ขอให้ไดเ้ ป็นเอก เปน็ ตน้
ในสมัยรัชกาลท่ี 1 มีการพิมพ์ตาราอาหารออกเผยแพร่ รวมถึงตาราขนม
ไทยด้วย จึงนับได้ว่าวัฒนธรรมขนมไทยมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรครั้ง
แรก ตาราอาหารไทยเลม่ แรกคอื แม่ครวั หวั ป่าก์
ต่อมาเม่ือการค้าเจริญขึ้นในตลาดมีขนมนานาชนิดมาขาย และนับว่าเป็นยุคท่ี
ขนมไทยเปน็ ทนี่ ยิ ม
โรงเรียนศรีสขุ วทิ ยา สพม. 33 14
กำรแบง่ ประเภทของขนมไทย
แบง่ ตามวิธกี ารทาให้สกุ ได้ดังน้ี
1. ขนมทที่ าใหส้ ุกด้วยการกวน
ส่วนมากใชก้ ระทะทอง กวนตง้ั แต่เป็นนา้
เหลวใสจนงวด แลว้ เทใส่พิมพ์หรือถาดเมอื่
เยน็ จึงตัดเปน็ ชน้ิ เชน่ ตะโก้ ขนมลืมกลืน
ขนมเปยี กปนู ขนมศลิ าออ่ น และผลไม้กวน
ต่าง ๆ รวมถงึ ขา้ วเหนียวแดง ขา้ วเหนยี ว
แกว้ และกะละแม
2. ขนมทท่ี าให้สุกดว้ ยการนึ่ง ใชล้ งั ถงึ บางชนิดเท
สว่ นผสมใสถ่ ้วยตะไลแลว้ น่งึ บางชนดิ ใสถ่ าดหรือพิมพ์
บางชนิดห่อดว้ ยใบตองหรอื ใบมะพร้าว เช่น ช่อม่วง
ขนมชัน้ ข้าวต้มผดั สาล่ีอ่อน สังขยา ขนมกลว้ ย ขนม
ตาล ขนมใสไ่ ส้ ขนมเทียน ขนมนา้ ดอกไม้
3. ขนมท่ีทาใหส้ ุกด้วยการเชอ่ื ม เป็นการใส่
ส่วนผสมลงในน้าเชอ่ื มท่ีกาลังเดือดจนสุก
ไดแ้ ก่ ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง เม็ดขนนุ กล้วย
เช่อื ม จาวตาลเชอื่ ม
โรงเรียนศรีสุขวิทยา สพม. 33 15
4. ขนมท่ีทาให้สุกด้วยการทอด เป็นการใส่ส่วนผสมลงในกระทะท่ีมีน้ามันร้อน ๆ
จนสกุ เชน่ กลว้ ยทอด ขา้ วเมา่ ทอด ขนมกง ขนมคา้ งคาว ขนมฝักบัว ขนมนางเลด็
5. ขนมท่ีทาให้สุกด้วยการน่ึงหรืออบ
ได้แก่ ขนมหม้อแกง ขนมหน้านวล ขนมกลีบ
ลาดวน ขนมทองม้วน สาล่ีแข็ง นอกจากนี้ อาจ
รวม ขนมครก ขนมเบื้อง ขนมดอกลาเจียกท่ีใช้
ความร้อนบนเตาไวใ้ นกลมุ่ นดี้ ว้ ย
6. ขนมท่ีทาให้สุกด้วยการต้ม ขนม
ประเภทนี้จะใช้หม้อหรือกระทะต้มน้าให้เดือด
ใสข่ นมลงไปจนสกุ แลว้ ตักข้นึ นามาคลกุ หรือโรย
มะพร้าว ได้แก่ ขนมถ่ัวแปบ ขนมต้ม ขนม
เหนยี ว ขนมเรไร นอกจากน้ยี ังรวมขนมประเภท
น้า ที่นิยมนามาต้มกับกะทิ หรือใส่แป้งผสมเป็น
ขนมเปียก และขนมท่กี ินกบั น้าเชอื่ มและน้ากะทิ
เช่น กล้วยบวชชี มันแกงบวด สาคูเปียก
ลอดชอ่ ง ซา่ หรม่ิ
โรงเรียนศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33 16
วตั ถดุ บิ ในกำรปรงุ ขนมไทย
ข้าวและแป้ง
การนาข้าวมาทาขนมของคนไทยเริ่ม
ต้ังแต่ข้าวไม่แก่จัด ข้าวอ่อนที่เป็นน้านม
นามาทาข้าวยาคู พอแก่ขึ้นอีกแต่เปลือกยัง
เป็นสีเขียวนามาทาข้าวเม่าข้าวเม่าที่ได้
นาไปทาขนมได้อีกหลายชนิด เช่น ข้าวเม่า
คลุก ข้าวเม่าบด ข้าวเม่าหม่ี กระยาสารท
ข้าวเจ้าที่เหลือจากการรับประทาน และที่
นาไปทาเปน็ แปง้ เชน่ แป้งข้าวเจ้า แป้งข้าว
เหนียว นอกจากน้ันยังใช้แป้งมันสาปะหลัง
ด้วย ส่วนแป้งสาลีมีใช้น้อย มักใช้ในขนมท่ี
ได้รบั อิทธพิ ลจากต่างชาติ
มะพรา้ วและกะทิ
มะพรา้ วนามาใช้เปน็ ส่วนประกอบของขนมไทยไดต้ ั้งแต่
มะพรา้ วออ่ นจนถึงมะพรา้ วแกด่ งั น้ี [2]
- มะพร้าวออ่ น ใชเ้ นื้อผสมในขนม เชน่ เปยี กสาคู วนุ้
มะพรา้ ว สังขยามะพร้าวออ่ น
- มะพร้าวทนึ ทึก ใชข้ ูดฝอยทาเปน็ ไส้กระฉกี ใช้คลุกกับ
ขา้ วตม้ มดั เปน็ ข้าวตม้ หวั หงอก และใชเ้ ป็นมะพร้าวขดู
โรยหน้าขนมหลายชนิด เช่น ขนมเปยี กปูน ขนมข้หี นู ซ่ึง
ถอื เปน็ เอกลักษณอ์ ย่างหนึ่งของขนมไทย
- มะพรา้ วแก่ นามาคั้นเป็นกะทกิ อ่ นใส่ในขนม นาไปทา
ขนมไดห้ ลายแบบ เชน่ ต้มผสมกับส่วนผสม เชน่ กลว้ ย
บวชชี แกงบวดต่าง ๆ หรอื ตักหัวกะทิราดบนขนม เชน่
สาคูเปยี ก ซ่าหริม่ บวั ลอย
โรงเรยี นศรีสุขวิทยา สพม. 33 17
นา้ ตาล
แตเ่ ดมิ น้ันนา้ ตาลทนี่ ามาใช้ทาขนมคอื น้าตาลจากตาลหรือมะพร้าว ในบาง
ท้องท่ีใช้น้าตาลออ้ ย นา้ ตาลทรายถกู นามาใชภ้ ายหลงั
ไข่
เริม่ เปน็ สว่ นผสม
ของขนมไทยตง้ั แตส่ มัย
สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
ซงึ่ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากขนมของโปรตเุ กส
ไข่ทใี่ ช้ทาขนมน้จี ะตใี หข้ ึน้ ฟู กอ่ นนาไปผสม ขนมบางชนิดเช่น ทองหยิบ
ทองหยอด ฝอยทอง ต้องแยกไขข่ าวและไขแ่ ดงออกจากกัน แล้วใชแ้ ต่ไข่แดง
ไปทาขนม
โรงเรยี นศรีสขุ วิทยา สพม. 33 18
ถวั่ และงา
ถว่ั และงาจัดเปน็ สว่ นผสมที่สาคญั ในขนมไทย การใช้ถวั่ เขยี วนง่ึ ละเอยี ด
มาทาขนมพบไดต้ ้ังแต่สมัยอยุธยา เช่นขนมพิมพ์ถวั่ ทาดว้ ยถ่วั เหลืองหรือถั่ว
เขียวกวนมาอดั ใสพ่ ิมพ[์ 4] ถว่ั และงาทน่ี ิยมใช้ในขนมไทยมดี งั นี้
- ถวั่ เขียวเลาะเปลอื ก มชี ื่อเรยี กหลายชอ่ื เชน่ ถว่ั ทอง ถว่ั ซกี ถว่ั เขียว
ท่ใี ช้ต้องลา้ งและแช่นา้ ค้างคนื ก่อนเอาไปน่งึ
- ถั่วดา ใช้ใสใ่ นขนมไทยไม่กชี่ นิด และใส่ทงั้ เม็ด เชน่ ขา้ วตม้ มดั ข้าว
หลาม ถั่วดาต้มนา้ ตาล ขนมถ่ัวดา
- ถั่วลิสง ใช้น้อย สว่ นใหญ่ใช้โรยหน้าขนมผกั กาดกวน ใสใ่ นขนมจ่า
มงกุฎ ใสใ่ นรูปที่ค่ัวสกุ แลว้
- งาขาวและงาดา ใสเ่ ปน็ ส่วนผสมสาคญั ในขนมบางชนดิ เช่น ขนม
เทียนสลดั งา ขนมแดกงา
โรงเรียนศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33 19
กล้วย
กลว้ ยมีสว่ นเกี่ยวขอ้ งกบั ขนมไทยหลาย
ชนดิ ไม่วา่ จะเปน็ ขนมกล้วย กลว้ ยกวน
กลว้ ยเช่อื ม กลว้ ยแขกทอด หรือใชก้ ล้วยเปน็ ไส้ เช่น ขา้ วตม้ มดั ขา้ วเหนียวป้ิง
ไส้กลว้ ย ข้าวเม่า กลว้ ยท่ใี ช้ส่วนใหญเ่ ปน็ กลว้ ยน้าวา้
กลว้ ยแต่ละชนิดเมอ่ื นามาทาขนมบางคร้ังจะให้สีต่างกนั
เช่น กลว้ ยนา้ ว้าเมอื่ นาไปเชอื่ มใหส้ ีแดง กลว้ ยไข่
ใหส้ เี หลือง เป็นตน้
สที ่ีได้จากธรรมชาติและใชใ้ นขนมไทย มีดังนี้
- สเี ขยี ว ได้จากใบเตยโขลกละเอียด คนั้ เอาแตน่ า้
- สนี า้ เงนิ จากดอกอัญชัน เด็ดกลบี ดอกอญั ชนั แช่ในนา้ เดอื ด ถา้ บบี น้ามะนาวลงไป
เลก็ น้อยจะได้สีม่วง
- สเี หลอื งจากขมน้ิ หรือหญ้าฝรั่นหรอื กา้ นดอกกรรณกิ าร์
- สแี ดงจากคร่งั
- สีดาจากกาบมะพรา้ วเผาไฟ นามาโขลกผสมน้าแล้วกรอง
โรงเรยี นศรีสุขวิทยา สพม. 33 20
กล่นิ หอม
กล่ินหอมทีใ่ ช้ในขนมไทยไดแ้ ก่
- กลิ่นน้าลอยดอกมะลิ ใช้ดอกมะลทิ ี่เกบ็ ในตอนเช้า แช่ลงในนา้ ตม้ สุกท่ี
เยน็ แล้วให้ก้านจมุ่ อยู่ในนา้ ปิดฝาทิ้งไว้ 1 คืน ร่งุ ขนึ้ จึงกรอง นานาไปใชท้ าขนม
- กลน่ิ ดอกกระดังงา นิยมใชอ้ บขนมแหง้ โดยเดด็ กลีบกระดงั งามาลน
เทียนอบให้หอม ใสข่ วดโหลทใ่ี ส่ขนมไว้ ปิดฝาให้สนทิ
- กล่ินเทยี นอบ จุดไฟท่ีปลายเทยี นอบทง้ั สองขา้ งให้ลุกสกั ครูห่ นงึ่ แล้วดบั
ไฟ วางลงในถว้ ยตะไล ใสใ่ นขวดโหลท่ีใสข่ นม ปดิ ผาใหส้ นทิ
- กลน่ิ ใบเตย หั่นใบเตยที่ลา้ งสะอาดเปน็ ท่อนยาว ใส่ลงไปในขนม
โรงเรียนศรสี ขุ วิทยา สพม. 33 21
ขนมไทยแตล่ ะภำ
โรงเรยี นศรีสขุ วทิ ยา สพม. 33 22
ขนมไทยภาคเหนือ
ส่วนใหญ่จะทาจากข้าวเหนียว และส่วนใหญ่จะใช้วิธีการต้ม เช่น ขนม
เทียน ขนมวง ข้าวต้มหัวหงอก มักทากันในเทศกาลสาคัญ เช่นเข้าพรรษา
สงกรานต์
ขนมทนี่ ิยมทาในงานบุญเกือบทุกเทศกาลคือขนมเทียนหรือขนมจ๊อก ขนม
ที่หาซื้อได้ท่ัวไปคือ ขนมปาดซึ่งคล้ายขนมศิลาอ่อน ข้าวอีตูหรือข้าวเหนียวแดง
ขา้ วแตนหรือข้าวแตน๋ ขนมเกลือ ขนมท่มี ีรับประทานเฉพาะฤดูหนาว ได้แก่ ข้าว
หนุกงา ซึ่งเป็นงาค่ัวตากับข้าวเหนียว ถ้าใส่น้าอ้อยด้วยเรียกงาตาอ้อย ข้าวแคบ
หรือขา้ วเกรียบวา่ ว ลกู กอ่ ถวั่ แปะยี ถว่ั แระ ลกู ลานต้ม
ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ขนมพื้นบ้านได้แก่ ขนมอาละหว่า ซึ่งคล้ายขนม
หม้อแกง ขนมเปงม้ง ซึ่งคล้ายขนมอาละหว่าแต่มีการหมักแป้งให้ฟูก่อน ขนม
สว่ ยทะมินทาจากข้าวเหนียวน่ึง น้าตาลอ้อยและกะทิ ในช่วงท่ีมีน้าตาลอ้อยมาก
จะนิยมทาขนมอีก 2 ชนดิ คือ งาโบ๋ ทาจากน้าตาลอ้อยเค่ียวให้เหนียวคล้ายตังเม
แลว้ คลุกงา กบั แปโหย่ ทาจากนา้ ตาลอ้อยและถัว่ แปยี มีลักษณะคลา้ ยถ่ัวตัด
โรงเรียนศรีสุขวทิ ยา สพม. 33 23
ขนมไทยภาคกลาง
สว่ นใหญ่ทามาจากข้าวเจ้า เช่น ข้าวตงั นางเล็ด ขา้ วเหนยี วมูน และมีขนมทีห่ ลดุ
ลอดมาจากรวั้ วัง จนแพร่หลายสสู่ ามญั ชนทว่ั ไป เชน่ ขนมกลีบลาดวน ลูกชบุ หมอ้ ข้าว
หมอ้ แกง ฝอยทอง ทองหยบิ ขนมตาล ขนมกล้วย ขนมเผือก เปน็ ต้น
โรงเรยี นศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33 24
ขนมไทยภาคอสี าน
เป็นขนมท่ีทากนั งา่ ยๆ ไมพ่ ิถพี ิถันมากเหมอื นขนมภาคอนื่ ขนมพื้นบ้าน
อสี านไดแ้ ก่ ขา้ วจี่ บายมะขามหรือมะขามบา่ ยข้าว ขา้ วโป่ง นอกจากนัน้ มกั เป็น
ขนมในงานบุญพธิ ี ที่เรยี กวา่ ขา้ วประดับดิน โดยชาวบ้านนาข้าวท่ีห่อใบตอง
มดั ดว้ ยตอกแบบขา้ วตม้ มดั กระยาสารท ข้าวทพิ ย์ ขา้ วยาคู ขนมพน้ื บ้านของ
จังหวดั เลยมกั เปน็ ขนมงา่ ยๆ เชน่ ขา้ วเหนียวน่งึ จม้ิ นา้ ผึ้ง ข้าวบ่ายเกลอื คอื ขา้ ว
เหนยี วปัน้ เป็นก้อนจมิ้ เกลือให้พอมรี สเคม็ ถา้ มมี ะขามจะเอามาใสเ่ ป็นไสเ้ รียก
มะขามบ่ายข้าว นา้ ออ้ ยกะทิ ทาดว้ ยนา้ ออ้ ยทเ่ี คยี่ วจนเหนยี ว ใสถ่ ั่วลิสงคั่วและ
มะพร้าวซอย ข้าวพองทามาจากข้าวตากควั่ ใส่มะพร้าวหนั่ เปน็ ชิน้ ๆ และถวั่ ลสิ ง
คั่ว กวนกบั น้าอ้อยจนเหนียวเทใสถ่ าด ในงานบุญตา่ ง ๆ จะนิยมทาขนมปาด
(คล้ายขนมเปียกปูนของภาคกลาง) ลอดช่อง และขนมหมก (แป้งข้าวเหนียวโม่
ปนั้ เป็นกอ้ นกลมใส่ไสก้ ระฉีก ห่อเปน็ สามเหลยี่ มคลา้ ยขนมเทยี น นาไปนึง่ )
โรงเรยี นศรีสขุ วิทยา สพม. 33 25
ขนมไทยภาคใต้
ชาวใต้มีความเช่ือในเทศกาลวันสารท เดือนสิบ จะทาบุญด้วยขนมท่ีมี
เฉพาะในท้องถิ่นภาคใต้เท่าน้ัน เช่น ขนมลา ขนมพอง ข้าวต้มห่อด้วยใบกะพ้อ
ขนมบา้ หรือขนมลกู สะบ้า ขนมดีซาหรอื เมซา ขนมเจาะหูหรือเจาะรู ขนมไข่ปลา
ขนมแดง เป็นตน้
โรงเรียนศรีสขุ วิทยา สพม. 33 26
ขนมไทยทีไ่ ด้รบั อทิ ธิพลจากขนมของชาติอ่นื
ไทยไดร้ บั เอาวฒั นธรรมดา้ นอาหารของชาติต่าง ๆ มาดัดแปลงให้เหมาะสม
กับสภาพท้องถ่ิน วัตถุดิบที่หาได้ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ตลอดจนการบริโภคแบบ
ไทย จนทาให้คนรุ่นหลัง แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมที่เป็นไทยแท้ และอะไร
ดัดแปลงมาจากวฒั นธรรมของชาติอื่น เช่น ขนมท่ีใช้ไข่และขนมท่ีต้องเข้าเตาอบ
ซ่ึงเข้ามาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากคุณท้าวทองกีบม้าภรรยา
เช้ือชาติญ่ีปุ่น-โปรตุเกสของเจ้าพระยาวิชเยนทร์ ผู้เป็นกงสุลประจาประเทศไทย
ในสมัยนั้น ไทยมิใช่เพียงรับทองหยิบ ทองหยอด และฝอยทองมาเท่าน้ัน หาก
ยงั ใหค้ วามสาคัญกับขนมเหลา่ น้โี ดยใชเ้ ป็นขนมมงคลอีกด้วย ส่วนใหญ่ตารับขนม
ที่ใสไ่ ขม่ กั เป็น "ของเทศ" เชน่ ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอดจากโปรตุเกส
โรงเรียนศรสี ขุ วิทยา สพม. 33 27
สตู รอำหำร
ขำ้ วผดั ปลำทสู มนุ ไพ
โรงเรียนศรีสขุ วิทยา สพม. 33 28
อาหารคาวเพอื่ สขุ ภาพ : 2 ถ้วย
1 ตัว
ขา้ วผัดปลาทูสมนุ ไพร 3 - 4 กลบี
1 ตน้
วตั ถุดิบ 2 - 3 ใบ
4 - 5 เม็ด
ขา้ วสวย 3 พวง
เน้ือปลาทู 1 หวั
กระเทยี มสบั 3 ตน้
ตะไครซ้ อย 2 ต้น
ใบมะกรดู หั่นฝอย
พริกชฟี ้า 1 ชอ้ นโตะ๊
พรกิ ไทย 2 ช้อนโต๊ะ
ขงิ 1 ช้อนชา
ตน้ หอม ½ ชอ้ นชา
ผกั ชี
29
เครื่องปรงุ
น้ามนั หอย
ซีอว๊ิ ขาว
น้าตาลทราย
พริกไทย
โรงเรยี นศรีสุขวิทยา สพม. 33
วิธปี รงุ
1. ตดิ เตาตง้ั กระทะ ใส่นา้ มันใชไ้ ฟปานกลาง ใสก่ ระเทยี มลงไปเจียวให้
หอม จากนน้ั ตอกไขไ่ ก่ใสล่ งไป ยใี ห้ไข่กระจายพอสกุ จากนน้ั ใสข่ ้าวสวยลงไป ผดั ให้
เขา้ กนั
2. ปรงุ รสด้วยนา้ มนั หอย ซีอิว๊ ขาว นา้ ตาลทราย และพรกิ ไทย ผดั ให้
เขา้ กนั จากน้นั ใสต่ ะไคร้ ใบมะกรูด พริกขี้หนู และหอมแดง คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั แลว้
ค่อยใสเ่ น้อื ปลาทูลงไปผดั ต่อคร้ังถงึ สองแลว้ ปิดไฟยกลงจากเตา
3. เมือ่ จะเสิรฟ์ โรยหน้าด้วยต้นหอมผกั ชซี อย
30
ข้าวผดั ปลาทูสมุนไพร
ต้นทนุ – ก้าไร
วตั ถดุ ิบ 5 บาท
30 บาท
1. ขา้ วสวย
2. ปลาทู 3 บาท
3. กระเทยี มสับ
4. ตะไคร้ซอย 10 บาท
5. ใบมะกรูดหัน่ ฝอย 2 บาท
6. พริกชีฟ้า
7. พริกไทย
8. ขงิ
9. ต้นหอม
10. ผกั ชี
11. เครอื่ งปรุง
12. บรรจภุ ณั ฑ์
13. ค่าไฟฟ้า
ต้นทุน 50 บาท
ปรมิ าณ 3 จาน
จ้าหนา่ ยชดุ ละ 40 บาท
ก้าไร 70 บาท
โรงเรียนศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33 31
สตู รขนมไทย
ข น ม ฟั ก ท อ ง
มะพรำ้ วออ่ น
โรงเรียนศรสี ุขวิทยา สพม. 33 32
ขนมไทย : ขนมฟักทอง
วตั ถดุ ิบ
1. ฟักทอง 750 กรัม
2. แปง้ ขา้ วเจา้ 140 กรัม
3. แปง้ มนั 140 กรมั
4. มะพรา้ วขดู 250 กรมั
5. นา้ ตาลทราย 250 กรมั
6. เกลือปน่ 1/2 ช้อนชา
7. กะทิ 350 กรัม
8. มะพรา้ วออ่ น 2 ลูก
8. ถว้ ยตะไลสาหรบั นึ่ง
33
วิธีท้า
1. นาฟักทองไปนึง่ จนสกุ แล้วนาออกมาพกั ท้ิงไว้จนเย็นสนิท
2. ใสแ่ ป้งข้าวเจา้ และแปง้ มนั ลงในฟกั ทองที่นงึ่ สุกแลว้ จากนั้นนวดผสมให้
เข้ากนั
3. ใสม่ ะพร้าวขดู น้าตาลทราย และเกลอื ป่นลงไปนวด จากนั้นคอ่ ย ๆ
เติมกะทิลงไปคนผสมจนเข้ากนั ดีและนา้ ตาลทรายละลายหมด
4. นาถ้วยตะไลเปล่าไปนึง่ ในนา้ เดือด 15 นาที
5. ตกั ส่วนผสมใส่ถ้วยตะไลประมาณ 3/4 ของถว้ ย จากน้นั นาไปนง่ึ (ใน
ชุดน่งึ ทม่ี ีน้าเดอื ด) ประมาณ 15 นาทจี นแป้งสกุ และใส นึง่ ยกลงจากเตา พักท้ิง
ไว้จนเยน็
6. แคะขนมออกจากถว้ ย พรอ้ มเสิร์ฟ
โรงเรียนศรสี ขุ วทิ ยา สพม. 33 34
ขนมฟักทอง ตน้ ทนุ – กา้ ไร
วตั ถุดบิ 19 บาท
5 บาท
1. ฟักทอง 4 บาท
2. แป้งขา้ วเจา้ 30 บาท
3. แปง้ มนั 5 บาท
4. มะพรา้ วขูด 21 บาท
5. นา้ ตาลทราย 5 บาท
6. กะทิ 45 บาท
ค่าไฟฟา้
บรรจุภณั ฑ์
ตน้ ทนุ 134 บาท
ปรมิ าณ 9 ชดุ
จ้าหนา่ ยชดุ ละ 25 บาท
ก้าไร 91 บาท
โรงเรยี นศรีสุขวิทยา สพม. 33 35
เคลด็ ลบั ความอร่อย
ข้าวผัดปลาทสู มนุ ไพร
1. เพ่อื เพิ่มกลนิ่ หอมใหข้ ้าวผัดใหน้ ่ารับประทานยิ่งขึน้ แนะนา
ให้ใช้นา้ มันหมแู ทนนา้ มันอน่ื ๆ
2. ข้าวทใี่ ช้ผดั แนะนาให้ใชข้ า้ วที่เหลอื จากเม่ือวาน โดยตักแช่
ตเู้ ยน็ ไว้ เมอ่ื เรานามาผดั เมด็ ข้าวจะ สวย
โรงเรียนศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33 36
เคล็ดลับความอร่อย
ขนมฟักทอง
1. ควรเลอื กฟกั ทองทีแ่ กจ่ ดั โดยดจู ากรอยหยกั ของลกู ฟกั ทอง หาก
ฟักทองแกจ่ ัดรอยหยกั จะมรี อยหยกั มาก
2. การนวดฟักทองกบั อย่านวดจนเน้ือฟกั ทองละเอยี ด ให้เหลือฟักทอง
ไว้ด้วย เวลาเรารับประทานจะได้เคยี้ วเนื้อฟกั ทองดว้ ย
3. หากอยากให้ขนมออกมาดไู ทย ๆ ยิ่งขึน้ ให้วิธีนง่ึ ด้วยกรวยใบตอง โดย
มวี ิธีการทาคอื ก่อนน่งึ ก็ ใหห้ าใบตองมาเชด็ ใหส้ ะอาด แล้วเจียน
ใบตองเปน็ วงกลม จากน้นั กม็ ้วนเปน็ ทรงกรวยเลก็ ๆ กลัดด้วยไม้
กลดั แล้วตกั ขนมฟกั ทองใสล่ งไปประมาณ ¾ ของกรวย จากนั้น
นาไปเสยี บลงใน ช่องของรังถงึ (ชอ่ งเว้นช่อง) แล้วนง่ึ จนสุก นาออก
จากรังถงึ จดั ใส่จานใหส้ วยงาม พร้อมเสิรฟ์
โรงเรียนศรสี ขุ วิทยา สพม. 33 37
นานาสาระ
ประโยชนข์ องฟกั ทอง
ฟกั ทอง มีสารอาหารหลายต่อหลายอย่าง ซง่ึ ส่งผลดีต่อสขุ ภาพเป็นอยา่ งมาก และ
บางคุณประโยชนข์ องฟักทองน้นั อาจจะเปน็ คณุ ประโยชนท์ คี่ ณุ อาจจะยังไมเ่ คยรมู้ าก่อน
อีกทัง้ ฟกั ทองยงั คงเปน็ พืช ทีส่ ามารถนาไปประกอบอาหารไดห้ ลายเมนู หาทานได้งา่ ย
แถมราคาถูกดว้ ย
ลดนา้ หนกั
สาหรับใครทกี่ าลังลดน้าหนักอยแู่ ล้วละก็ ลองทานฟักทองดู เพราะฟักทองจะชว่ ย
ทาใหร้ ูปร่างให้สมสว่ นอยู่เสมอ ฟกั ทองนัน้ เต็มไปดว้ ยไฟเบอร์ ทานแลว้ อยูท่ ้องไม่หวิ บ่อย
และท่สี าคัญมีแคลอรีตา่ จึงไมท่ าใหอ้ ้วน ดงั น้นั ฟกั ทองจึงชว่ ยให้คุณลดน้าหนกั ได้ แถมมี
รสชาติอรอ่ ย
ฟักทองลดรอยตีนกา
ในฟกั ทองนัน้ อดุ มไปด้วยสารตา้ นอนุมลู อิสระอย่างแคโรทนี อยด์ ซึ่งจะช่วยปกปอ้ ง
ผวิ จากการถกู ทาลายจากอนมุ ลู อิสระ ซึ่งเป็นสาเหตหุ น่ึงของผิวหยอ่ นคล้อยทาใหเ้ กิด
รอยตนี กาไดง้ ่าย รวมทัง้ รวิ้ รอยเห่ยี วยน่ ตา่ ง ๆ ซงึ่ การทานฟกั ทองเป็นประจาจะชว่ ย
ปกปอ้ งร่างกายจากความแกช่ รา ทาใหเ้ ซลลใ์ นรา่ งกายเส่อื มตัวชา้ ลง ทาให้ดอู ่อนเยาว์
กว่าวยั
ปรบั สมดลุ อารมณ์
ฟักทองถือว่าเปน็ อาหารท่ีทาใหอ้ ารมณ์ดีขึ้นได้ สาหรับใครก็ตามทม่ี อี ารมณข์ น้ึ ๆ
ลง ๆ อยู่เสมอนั้น ลองมาทานฟักทองใหม้ ากข้นึ เพ่ือช่วยปรบั อารมณ์กนั ดู เพราะในเนื้อ
ของฟักทองนนั้ เตม็ ไปด้วยสารอาหาร ท่จี ะชว่ ยลดความเครียด ชว่ ยทาให้อารมณส์ งบนง่ิ
หรือการทานเมลด็ ฟักทอง เป็นของกนิ เล่นก็จะไดป้ ระโยชนเ์ หมือนกนั แถมยงั ทาให้
เพลดิ เพลนิ ในขณะทาน
โรงเรยี นศรสี ุขวทิ ยา สพม. 33 38
ฟกั ทองบา้ รงุ เลือด
ในฟักทองนน้ั มวี ิตามนิ เคอยสู่ งู และยงั มแี รธ่ าตุทีส่ าคญั ตอ่ ระบบ
เลือดอย่างธาตุเหล็ก โพแทสเซยี ม สงั กะสี และแมกนีเซียม ผหู้ ญงิ วัยหมด
ประจาเดือน จะช่วยบารงุ ประสาท กระดูก กล้ามเนื้อ
ช่วยบารงุ สายตา
นับว่าเปน็ สรรพคุณเด่นอย่างหน่งึ ของฟกั ทองสาหรับผู้ทีต่ ้องใช้
สายตาจ้องจอมอื ถืออยเู่ ป็นเวลานาน จนกอ่ ให้เกดิ ปญั หาสายตา ลองทาน
ฟกั ทองดู เพราะในฟกั ทองมีวิตามนิ เอ ซ่ึงมีคุณสมบตั ิเด่นในการบารุง
สายตา ช่วยปกป้องสายตาจากการถูกทาลาย
ฟกั ทองชว่ ยลดไขมัน
การทานฟักทองอยูเ่ ป็นประจา จะชว่ ยลดไขมันที่อยใู่ นรา่ งกาย ซึ่ง
เป็นสาเหตุหนึ่งทบี่ นั่ ทอนสขุ ภาพ ทาให้ร่างกายเกดิ ความเสอื่ มในร่างกาย
และทาให้เกดิ โรคร้ายต่าง ๆ ชว่ ยเพ่ิมระดับไขมนั ดี จึงทาใหส้ ุขภาพ
แขง็ แรงขนึ้ จะเหน็ ไดว้ ่าฟกั ทองนน้ั มปี ระโยชน์มากมายหลายข้อท่เี รา
มองข้าม มสี ว่ นในการช่วยลดน้าหนกั เหมาะสาหรบั ผ้ทู ่กี าลงั ควบคุม
น้าหนกั มีสว่ นชว่ ยในการลดร้วิ รอย ปกปอ้ งผวิ พรรณจากมลภาวะ
สารพิษทีอ่ ยู่รอบตวั และมวี ติ ามินเอสงู จงึ ช่วยทาใหส้ ขุ ภาพสายตาดี
ข้ึน มสี ว่ นช่วยลดความเครยี ด
โรงเรยี นศรสี ุขวิทยา สพม. 33 39
1