The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นุชจมาศ ฟองแก้ว, 2023-07-07 04:34:25

โครงการสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์

โครงการสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์

บันทึกข้อความ ส่วนราชการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีโทร. 1300 ที่ วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 เรื่อง ขออนุมัติโครงการ เรียน คณบดีคณะวิทยาการจัดการ ด้วยหลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต วิชาเอกสื่อสารมวลชน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุราษฎร์ธานีโดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศนาวดี แก้วสนิท เป็นผู้สอน ได้กำหนดจัดโครงการสัมมนา อบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์ผ่านคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า ให้กับนักศึกษาสาขาวิชานิเทศ ศาสตร์จำนวน 80 คน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษานำความรู้ด้านทฤษฎีมาปรับใช้และฝึกปฏิบัติการจัดสัมมนา ตามหลักสูตร ในอังคารที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2566 ตั้งแต่เวลา 08.30 – 12.30 น. ณ ห้อง B301 ชั้น3 คณะ วิทยาการจัดการในการนี้จึงเรียนมาเพื่อ ๑. ขออนุมัติโครงการ โดยขอใช้งบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัย พ.ศ.2566 ของคณะวิทยาการ จัดการ ชื่อโครงการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาเพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ รหัสโครงการ 10230039663036001 ชื่อกิจกรรม การพัฒนาสมรรถนะสำหรับนักศึกษานิเทศศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 รหัส กิจกรรม 2300100052 และค่าตอบแทนกรรมการ จำนวน 1,800 บาท รวมเป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 1,800 (หนึ่งพันแปดร้อยบาทถ้วน) - ค่าตอบแทน จำนวน 1,800 บาท จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศนาวดี แก้วสนิท) ผู้รับผิดชอบโครงการ


โครงการสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์ ผ่านคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า สาขาวิชานิเทศศาสตร์ สาขาวิชาสื่อสารมวลชน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ชื่อโครงการ (แผน)โครงการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาเพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่รหัสโครงการ 10230039663036001 ชื่อกิจกรรม (แผน)การพัฒนาสมรรถนะสำหรับนักศึกษานิเทศศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 รหัสกิจกรรม 2300100052 หลักการและเหตุผล : (ไม่ต่ำกว่า 10 บรรทัด) ในยุคของการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์เป็นที่นิยมในยุคปัจจุบัน ที่สามารถทำให้ผู้บริโภค เข้าถึงการรับรู้และความน่าเชื่อถือของแบรนด์หรือสินค้าได้ง่ายคือการใช้ผู้พูดแทนแบรนด์ โดยเราจะเรียกกลุ่มนี้ว่า “ผู้ทรงอิทธิพลต่อความคิดและการตัดสินใจของกลุ่มเป้าหมายหรือ อินฟลูเอนเซอร์ (Influencer) ” ซึ่งการตลาด ในปัจจุบันถือว่า เป็นเทรนด์ที่กำลังได้รับความนิยมจากทั่วโลกโดยเฉพาะในประเทศที่มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ อิน ฟลูเอนเซอร์ มีบทบาทอย่างมากในการทำตลาดแบบดิจิตอลมาร์เก็ตติ้ง ( Digital Marketing) และ เราจึงได้เห็นอิน ฟลูเอนเซอร์กลุ่มใหม่ ๆ ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น อินฟลูเอนเซอร์ (Influencer) ” อินฟลูเอนเซอร์ (Influencer) คือ บุคคลที่มีผู้ติดตามเป็นจำนวนมากบน แพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook, Instagram, TikTok หรือ YouTube มีอิทธิพลต่อความคิดเห็น พฤติกรรม และการตัดสินใจซื้อของผู้ติดตาม Influencer มักจะมีอิทธิพลอย่างมากในโลกออนไลน์ และมีผู้ติดตาม เป็นจำนวนมากโดยส่วนใหญ่มักจะมีส่วนร่วมในเนื้อหาที่พวกเขาพูดเป็นประจำ เช่น อินฟลูเอนเซอร์ ในหมวด


อาหาร ก็จะนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการรีวิวอาหารแนะนำร้านอาหารใหม่ ๆ ที่ผู้ติดตามอาจจะยังไม่เคยรู้จักและยัง สามารถชักจูงผู้ติดตามให้เดินทางตามรอยอินฟลูเอนเซอร์คนนั้นได้ ด้วยหลักสูตรนิเทศศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ ได้เปิดสอนวิชาสัมมนาการสื่อสารมวลชน รหัส วิชา MCA2054-59 หน่วยกิต 3(2-2-5) ในภาคศึกษาที่ 1/2566 ให้กับนักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์ทุกชั้นปีและ ผู้ ที่สนใจเข้าร่วมโครงการซึ่งเป็นการศึกษาที่มีทั้งการบรรยายด้วยทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติ ทั้งนี้นักศึกษาได้เห็นถึง ความสำคัญของการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์ จึงกำหนดจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ อบรมเชิงทักษะการ เดินสายอินฟลูเอนเซอร์ผ่านคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า เพื่อฝึกปฏิบัติในการจัดอบรมสัมมนา เตรียมฝึก ประสบการณ์วิชาชีพ และนําความรู้ไปปรับใช้ในการทำงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต วัตถุประสงค์ของโครงการ : 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในการเป็นอินฟลูเอนเซอร์ 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ความเข้าใจ มาประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ในการผลิตคอนเทนต์ 3. เพื่อเป็นการเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพและนำไปปรับใช้ในการทำงานในอนาคตได้ การบูรณาการกับการเรียนการสอน/การวิจัย (ระบุชื่อรายวิชา/หัวข้อวิจัย) : 1.วิชาสัมมนาการสื่อสารมวลชน แนวทางการดำเนินโครงการ : 1.จัดเตรียมวางแผนโครงการ 2.จัดโครงการ 3.สรุปผลโครงการ


แนวทางการดำเนินโครงการ : กิจกรรมสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์ผ่านคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์: ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย : (ตอบได้ 1 ยุทธศาสตร์) ยุทธศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ : (ตอบได้ 1 ยุทธศาสตร์) ยุทธศาสตร์1 การพัฒนาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์2 การผลิตและพัฒนาครู ยุทธศาสตร์3 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ยุทธศาสตร์4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์1 การพัฒนาท้องถิ่น ยุทธศาสตร์2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา ยุทธศาสตร์3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ จุดเน้นหลัก (ตอบได้ 1 จุดเน้นหลัก) แผนพัฒนา (ตอบได้ 1 แผนพัฒนา) 1. เกษตรคุณภาพและอาหารแปรรูป 2. การพัฒนาท่องเที่ยวยั่งยืน 3. ผลิตและพัฒนาครูมืออาชีพ 4. การพัฒนาธุรกิจและโลจิสติกส์ 5. การพัฒนาระบบสุขภาพและสังคมเป็นสุข 6. การพัฒนาดิจิทัลเพื่อสังคม 1. การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน 2. การพัฒนาวิจัย 3. การพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม 4. การพัฒนาบุคลากร 5. การพัฒนาสมรรถนะนักศึกษา 6. การพัฒนาบริการวิชาการ 7. การพัฒนาการบริหารจัดการ 8. การพัฒนาภาษาและเทคโนโลยี เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน : 1. No Poverty ขจัดความยากจนทุกรูปแบบทุกสถานที่ 2. Zero Hunger ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรอย่างยั่งยืน 3. Good Health and well-being รับรองการมีสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนทุกช่วงอายุ 4. Quality Education รับรองการศึกษาที่เท่าเทียมและทั่วถึง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน 5. Gender Equality บรรลุความเท่าเทียมทางเพศ พัฒนาบทบาทสตรีและเด็กผู้หญิง 6. Clean Water and Sanitation รับรองการมีน้ำใช้ การจัดการน้ำและสุขาภิบาลที่ยั่งยืน 7. Affordable and Clean Energy รับรองการมีพลังงาน ที่ทุกคนเข้าถึงได้ เชื่อถือได้ยั่งยืน ทันสมัย


8. Decent Work and Economic Growth ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องครอบคลุมและ ยั่งยืน การจ้างงานที่มีคุณค่า 9. Industry Innovation and infrastructure พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างยั่งยืนและทั่วถึง และสนับสนุนนวัตกรรม 10. Reduced inequalities ลดความเหลื่อมล้ำทั้งภายในและระหว่างประเทศ 11. Sustainable Cities and Communities ทำให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัย ทั่วถึง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างยั่งยืน 12. Responsible Consumption and Production รับรองแผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน 13. Climate Action ดำเนินมาตรการเร่งด่วนเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบ 14. Life Below Water อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเลเพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน 15. Life on Land ปกป้อง ฟื้นฟู และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศอย่างยั่งยืน 16. Peace and Justice Strong Institutions ส่งเสริมสังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก เพื่อการพัฒนา อย่างยั่งยืน 17. Partnerships for the Goals สร้างพลังแห่งการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระดับสากลต่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ความสอดคล้องกับองค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษา : เกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร เกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับคณะ 1. การกำกับมาตรฐาน 2. บัณฑิต 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ 2.2 การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา 3. นักศึกษา 3.1 การรับนักศึกษา 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4. อาจารย์ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.2 คุณภาพอาจารย์ 1. การผลิตบัณฑิต 1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 1.4 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 1.5 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 1.6 การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ 1.7 การส่งเสริมสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล 1.8 ผลลัพธ์ของหลักสูตรที่นักศึกษามีส่วนร่วมใน การสร้างนวัตกรรม


4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 5. หลักสูตรการเรียนการสอนการประเมินผู้เรียน 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการเรียนการสอน 5.3 การประเมินผู้เรียน 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 2. การวิจัย 2.1 ระบบและกลไกงานวิจัย งานสร้างสรรค์หรือนวัตกรรม 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ 2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 2.4 งานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือนวัตกรรมที่นำไปใช้ ประโยชน์ต่อชุมชน 3. การบริการวิชาการ 3.1 ระบบและกลไกการบริการวิชาการเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น ชุมชน หรือสังคม 3.2 ชุมชนเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตาม แผนเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน 4. ด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 4.1 ระบบและกลไกด้านศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย 5. การบริหารจัดการ 5.1 การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน 5.2 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ ตามพันธกิจ กลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 5.3 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร ผลลัพธ์หลัก : O1. เป็นสถาบันที่มีความโดดเด่นในการบูรณาการศาสตร์สู่การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่น อย่างยั่งยืน (O1. ม.) KR1. ร้อยละโครงการบริการวิชาการที่ตอบสนอง Area Based และจุดเน้นหลักของมหาวิทยาลัย (ร้อยละ 90) (KR1. ม.) KR2. ร้อยละงบประมาณจากภาครัฐและเอกชนในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคมในพื้นที่เพิ่มขึ้น จากปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 47) (KR2. ม.) KR3. จำนวนโครงการบริการวิชาการในรูปแบบพันธกิจสัมพันธ์(University Engagement) (KR. คณะ) KR4. จำนวนโครงการบริการวิชาการที่มีการสร้างกลไกการเรียนรู้ร่วมกับชุมชนเพื่อผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ (Knowledge Sharing) (KR. คณะ) O2. ศูนย์กลางการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นภาคใต้ตอนบนสู่ความยั่งยืน (O2. ม.) KR5. จำนวนนวัตกรรมที่สอดคล้องตามจุดเน้นหลักของมหาวิทยาลัยและนำไปรับใช้สังคมได้อย่างเป็นรูปธรรม (2 นวัตกรรม) (KR3. ม.) KR6. ร้อยละของจำนวนเงินทุนวิจัยภายนอกที่เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 50 ต่อปี) (KR4. ม.)


KR7. ร้อยละผลงานวิชาการรับใช้สังคม (ร้อยละ 1) (KR5. ม.) O3. เป็นศูนย์กลางในการอนุรักษ์ ถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นภาคใต้ สร้างความเข้มแข็ง ทางศิลปวัฒนธรรม นำสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (O3. ม.) KR8. จำนวนองค์ความรู้ที่มีการบูรณาการด้านการเรียนการสอน วิจัยและบริการวิชาการ และด้านศิลปวัฒนธรรม ที่ทำให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทยหรือสร้างโอกาสและมูลค่าเพิ่มหรือนำไปใช้ประโยชน์กับผู้เรียน ครอบครัว ท้องถิ่น ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (2 องค์ความรู้) (KR6. ม.) O4. บัณฑิตมีสมรรถนะและทักษะสอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและการพัฒนาประเทศ (O5. ม.) KR9. ร้อยละนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายเข้าสอบและมีทักษะภาษาอังกฤษตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR ระดับ B1 ขึ้นไป (ร้อยละ 50) (KR9. ม.) KR10. ร้อยละของนักศึกษามีสมรรถนะด้านดิจิทัลตามเกณฑ์มาตรฐาน IC3 (ร้อยละ 95) (KR10. ม.) (ฉ) KR11. ร้อยละของนักศึกษาผ่านการอบรมวิศวกรสังคม (Soft Skill) ในระดับมหาวิทยาลัย (ร้อยละ 100) (KR11. ม.) O5. หลักสูตรมีคุณภาพและตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับคนทุกช่วงวัย (O6. ม.) KR12. ร้อยละของหลักสูตร Upskill/Reskill/Life Long Learning ตามความต้องการท้องถิ่นเพื่อพัฒนาทักษะ อาชีพและการเรียนรู้สำหรับคนทุกช่วงวัย (ร้อยละ 100) (KR12. ม.) KR13. จำนวนหลักสูตรใหม่ในรูปแบบสหวิทยาการที่ตอบสนองสอดคล้องกับความต้องการของสังคมและชุมชน ท้องถิ่น (1 หลักสูตร) (KR13. ม.) KR14. ร้อยละของหลักสูตรที่ร่วมกับสถานประกอบการตามแนวทาง Cooperative Work Integrated Education (CWIE) (ร้อยละ 60) (KR14. ม.) KR15. อัตราการได้งานทำในพื้นที่หรือภูมิภาคของบัณฑิต (ร้อยละ 85) (KR15. ม.) KR16.จำนวนหลักสูตรที่มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีหรือแพลตฟอร์ม (ทั้งออนไลน์/ออนไซต์) (KR.คณะ) O6. ส่งเสริมบุคลากรที่เป็นคนดีและคนเก่งให้พัฒนาและแสดงออกถึงความรู้ความสามารถและศักยภาพ ในการพัฒนามหาวิทยาลัยและท้องถิ่นอย่างเต็มที่ (O7. ม.) KR17. จำนวนรางวับของอาจารย์/นักศึกษา/บุคลากร และหรือศิษย์เก่า ได้รับรางวัลระดับชาติและหรือ ระดับนานาชาติ (2 รางวัลต่อปี) (KR17. ม.) KR18. ร้อยละอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการและร้อยละของการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นของสายสนับสนุน (ร้อยละ 60/ร้อยละ 60) (KR18. ม.) KR19. ร้อยละของบุคลากรได้รับการพัฒนาสู่การเป็นวิศวกรสังคม (Soft Skill) (ร้อยละ 100) (KR19. ม.) O7. ปรับปรุงพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนของสถาบันอุดมศึกษา (O8. ม.) KR20. จำนวนโครงการเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทั้งภายในและต่างประเทศ (2 โครงการ) (KR20. ม.) KR22. การจัดหางบประมาณจากหน่วยงานภายนอก (ร้อยละ 15) (KR22. ม.) KR23. ผลการจัดอันดับตาม THE Impact Ranking (อันดับ 1 – 400) (KR23. ม.)


ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ : 1. ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ: นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ 2. ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ: จำนวน 80 คน 3. ตัวชี้วัดเชิงเวลา: วันอังคารที่ 5 กันยายน 2566 เวลา 08.30 – 12.30 น. 4. ตัวชี้วัดเชิงต้นทุน งบประมาณใช้เป็นเงิน 1,800 บาท กลุ่มเป้าหมายของโครงการ : กลุ่มเป้าหมาย - นักศึกษา จำนวน 80 คน - อาจารย์ จำนวน 2 คน - วิทยากร จำนวน 1 คน ระยะเวลาและสถานที่ : วันอังคารที่ 5 กันยายน 2566 เวลา 08.30 – 12.30น. ณ ห้อง B301 ชั้น3 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี วิธีดำเนินการ : ขั้นเตรียมการ (PLAN) 1.จัดประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อวางแผนโครงการ 2.ออกแบบรายละเอียดการดำเนินโครงการ 3.ติดต่อวิทยากร 4.เขียนโครงการและขออนุมัติ ขั้นดำเนินการ (DO) 1.จัดทำและขออนุมัติโครงการ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.จัดโครงการสัมมนา 4.ประเมินผลการจัดโครงการ


ขั้นการประเมินผล (CHECK) 1.ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ระดับความพึงพอใจ และสรุปผลโครงการ 2.จัดทำรายงานสรุปผลโครงการ 3.สรุปโครงการ และรายการการดำเนินการโครงการต่อมหาวิทยาลัยฯ ขั้นนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาโครงการที่เกี่ยวข้อง (ACT) 1.ตรวจสอบการดำเนินงานกิจกรรมมนโครงการ 2.นำผลการประเมินไปปรับปรุงแลพัฒนาต่อไป งบประมาณที่จัดโครงการ : เบิกจากงบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ชื่อโครงการ ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาเพื่อมุ่งสู่การเป็นผู้ประกอบการยุคใหม่ รหัสโครงการ 10230039663036009 ชื่อกิจกรรม กีฬาสานสัมพันธ์สื่อมวลชนท้องถิ่น รหัสกิจกรรม 2300100052 จำนวนเงิน รายละเอียดค่าใช้จ่าย (ถัวเฉลี่ยทุกรายการ) : งบดำเนินงาน 1,800 บาท ค่าตอบแทน - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมง จำนวน 1,800 บาท แผนการดำเนินงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ หน่วย : บาท ขั้นตอนการดำเนินงาน แผนการดำเนินงาน ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ต.ค . พ.ย . ธ.ค . ม.ค . ก.พ . มี.ค . เม. ย. พ.ค . มิ. ย. ก.ค . ส.ค . ก.ย. 1. ประชุมวางแผน ✓ 2. ขออนุมัติโครงการ ✓ 3. จัดโครงการ ✓ 4. ประเมินผล ✓


งบรายจ่าย แผนการใช้จ่ายงบประมาณ รวมงบประมาณทั้งหมด 1,800 1.งบบุคลากร 2.งบดำเนินงาน 2.1 ค่าตอบแทน 1,800 2.2 ค่าใช้สอย 2.3 ค่าวัสดุ 3.งบลงทุน 4.งบเงินอุดหนุน 5.งบรายจ่ายอื่น รวมงบประมาณ .......... .......... .......... 1,800 บาท (หนึ่งพันแปดร้อยบาทถ้วน) การวัดและประเมินผล : ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 1.จำนวนผู้เข้าร่วม ใบลงทะเบียน ใบประเมิน 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะ ความรู้เพิ่มมากขึ้นหลังจากร่วม โครงการ - ประเมินจากแบบสอบถาม - แบบสอบถามประเมินผล - วิทยากรและอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นผู้ประเมิน การวิเคราะห์ความเสี่ยงและแนวทางป้องกัน : ความเสี่ยง / ปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไข 1.จำนวนผู้เข้าร่วมไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนด ไปเชิญชวนนักศึกษาและผู้ที่สนใจเข้าร่วมโดยตรง ภายในตึกคณะ 2.วิทยาการมีเวลากำจัด รันกิจกรรมการให้เป็นไปตามเวลาที่กำหนด


ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ : 1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการเป็นอินฟลูเอนเซอร์ 2. ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ความเข้าใจ มาประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ในการผลิตคอนเทนต์ 3. ผู้เข้าร่วมสามารถนำไปปรับใช้ในการทำงานและประกอบอาชีพในอนาคตได้ ผู้รับผิดชอบโครงการ : 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ทัศนาวดี แก้วสนิท 2. นักศึกษานิเทศศาสตร์ทุกชั้นปี ผู้ประเมินผลโครงการ : 1.ผู้ช่วยศาสตราจารย์เตชธรรม สังข์คร คณบดีคณะวิทยาการจัดการ


กำหนดการ โครงการสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์ ผ่านคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า ในวันที่ 5 กันยายน 2566 ณ.ห้อง B301 ตึกคณะวิทยากรจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เวลา 08.00-08.30 น. ลงทะเทียนบริเวณหน้าห้อง B301 ชั้น3 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เวลา 08:30-09.00 น. พิธีเปิดการสัมมนา - หัวหน้าโครงการ กล่าวรายงาน - คณบดีคณะวิทยาการจัดการ (ประธานในพิธี) กล่าวเปิดงาน เวลา 09.00-12.00 น. บรรยายหัวข้อคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า เวลา 12.00- 12.10 น. ปิดกิจกรรม


แบบสอบถาม โครงการสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์ ผ่านคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า ในวันที่ 5 กันยายน 2566 ณ.ห้อง B301 ตึกคณะวิทยากรจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี *********************************************************************************** คำชี้แจง : กรุณาใส่เครื่องหมาย หน้าข้อความที่ตรงกับข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นของท่านมากที่สุด ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.1 เพศ 1. หญิง 2. ชาย 1.2 สถานภาพนักศึกษา สื่อมวลชน (ระบุ)……. ส่วนที่ 2 ความรู้ความเข้าใจก่อน/หลัง และความพึงพอใจเกี่ยวกับการจัดโครงการ 2.1 ความรู้ความเข้าใจก่อนเข้าร่วมโครงการสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์ ผ่านคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า ความรู้ความเข้าใจก่อนเข้าร่วมโครงการ ระดับความรู้ความเข้าใจ 5 4 3 2 1 1.คุณมีความรู้พื้นฐานและทักษะการเป็นอินฟลูเอนเซอร์ก่อนการอบรม 2.คุณมีความรู้เกี่ยวกับการสร้างคอนเทนต์มมากน้อยแค่ไหน ก่อนการอบรม 2.2 ความรู้ความเข้าใจหลังเข้าร่วมโครงการสัมมนาอบรมเชิงทักษะการเดินสายอินฟลูเอนเซอร์ ผ่านคอนเทนต์กินให้ปัง กินตามฟ้า ความรู้ความเข้าใจหลังเข้าร่วมโครงการ ระดับความรู้ความเข้าใจ 5 4 3 2 1 1.คุณมีความรู้พื้นฐานและทักษะการเป็นอินฟลูเอนเซอร์หลังการอบรม 2.คุณมีความรู้เกี่ยวกับการสร้างคอนเทนต์มมากน้อยแค่ไหน หลังการอบรม


2.3 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ด้านการนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ด้านการนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 1. หลังจากเข้าร่วมโครงการสัมมนาการเป็นอินฟลูเอนเซอร์คุณรู้สึกว่ามีความ พร้อมในการเริ่มต้นการเป็นอินฟลูเอนเซอร์มากน้อยแค่ไหน 2.โครงการสัมมนาช่วยสร้างแรงบัลดาลใจในการก้าวสู่การเป็นอินฟลูเอน เซอร์ระดับใด 3.คุณเข้าใจความสำคัญของการสร้างเนื้อหาคอนเทนต์ที่น่าสนใจและเป็น ประโยชน์ 2.4 ความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ในภาพรวม ด้านความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมโดยภาพรวม ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 ด้านวิทยากร 1.ระยะเวลาในการจัดงานมีความเหมาะสม 2.วิทยากรมีรูปแบบการบรรยายที่ชัดเจนตรงประเด็นและเข้าใจง่าย 3.วิทยากรมีความน่าสนใจในการเช้าร่วมสัมมนา ด้านภาพรวมของกิจกรรม 1.สถานที่มีความเหมาะสม 2.ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม 3.ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ส่วนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................


.............................................................................................................................................................................................. ********************************************* คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงที่ท่านได้ให้ความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถามนี้


Click to View FlipBook Version