The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สูจิบัตรแก้ไขแล้ว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ekkapan11560, 2021-03-23 01:47:16

สูจิบัตรแก้ไขแล้ว

สูจิบัตรแก้ไขแล้ว

การนาเสนอศิลปนิพนธ์

โดย

นักศึกษาสาขาวชิ านาฏศิลปไ์ ทยศกึ ษา
และ

สาขาวิชาดนตรีคตี ศิลปไ์ ทยศึกษา

การนาเสนอศลิ ปนิพนธ์ในคร้ังน้เี ปน็ สว่ นของรายวิชาศลิ ปนิพนธ์
ตามหลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต (5 ปี) คณะศลิ ปศกึ ษา พ.ศ. 2563
วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปอา่ งทอง สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม

ขนึ้ ชอื่ ว่าศิลปะ แมเ้ ชน่ ใดเชน่ หนึง่
ก็ยงั ประโยชนใ์ ห้สาํ เรจ็ ได้

คานา

การนาเสนอผลงานศิลปนิพนธ์ประจาปีการศึกษา 2563 ของนักศึกษา
สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา และดนตรีคีตศิลป์ไทยศึกษา คณะศิลปศึกษา
หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง เป็นส่วนหน่ึงของ
การศกึ ษาคน้ คว้างานวิจัย จากผลงานการศึกษาทาใหไ้ ด้งานวจิ ยั ทางดา้ นวิชาการ
ซึ่งนามาสู่การเผยแพร่ท้ังในด้านวิชาการและด้านการแสดง โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษารวบรวมองค์ความรู้โดยมีกระบวนการศึกษาอย่างเป็นระบบ ซึ่งส่งผล
ให้นักศกึ ษามีประสบการณแ์ ละความรู้ทางดา้ นวิชาการตลอดจนด้านการเผยแพร่
สสู่ าธารณชน

การนาเสนอผลงานศิลปนิพนธ์ในครั้งน้ี คณะผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะ
เป็นประโยชน์ต่อผศู้ กึ ษาและรบั ชมตลอดจนเป็นการส่งเสริมให้ศิลปวัฒนธรรมให้
คงอยอู่ ย่างม่ันคงสืบไป

คณะผูว้ ิจัย
วิทยาลัยนาฏศลิ ปอา่ งทอง

รายการนาเสนอผลงาน
ภาควชิ าการ

13.00 น - แนวทางการสร้างสรรค์เพลงแขกลพบรุ ี 3 ช้นั
16.00 น. - กลวธิ ีการถา่ ยทอดกระบวนทา่ รา กลมเงาะ
- เดี่ยวลาวแพนฆอ้ งวงใหญ่
- กระบวนทา่ รานางจันทนแ์ ต่งตัว
- การแสดงสรา้ งสรรค์ชุดเชดิ ฉิ่งพระสุธนมโนหร์ า
- ร้อยเรียงสาเนียงสิบสองภาษา
- การแสดงลิเกสรา้ งสรรค์
- การบรรเลงรามะนาประกอบการแสดงลาตดั

รายการนาเสนอผลงาน
ภาคการแสดง

18.00 น - แนวทางการสรา้ งสรรค์เพลงแขกลพบรุ ี 3 ช้นั
- กระบวนทา่ รากลมเงาะ
- เดย่ี วลาวแพนฆ้องวงใหญ่
- กระบวนท่ารานางจันทน์แต่งตวั
- การแสดงลเิ กสรา้ งสรรค์
-พกั 15นาที-

.......................................................................................................

- รอ้ ยเรียงสาเนียงสิบสองภาษา
- กระบวนทา่ ราเชิดฉิง่ พระสธุ นมโนหร์ า
- การบรรเลงรามะนาประกอบการแสดงลาตดั

อาจารย์ทปี่ รึกษา

นายพินิตร์ กลบั ทวี อาจารย์ไผทพันธ์ พง่ึ บญุ ณ อยุธยา
ทปี่ รกึ ษาหลกั ท่ปี รกึ ษารว่ ม

คณะผู้วิจัย

นาย กรณรงค์ สังขท์ อง นายจักราวุธ นิมติ ดี นางสาวญานิดา วริ ิยะวรากลุ นายณัฐพงศ์ ยนื ยง

รหัสนกั ศึกษา 3035596014 รหสั นกั ศึกษา 3035596012 รหสั นักศกึ ษา 3035596009 รหสั นักศกึ ษา 3035596013

นายธนกร พพิ ัฒน์พงษห์ ิรัญ นายนเิ ทศ ยงั สวสั ดิ์ นายอตคิ ณุ เนยี รศริ ิ

รหัสนกั ศกึ ษา 3035596007 รหสั นกั ศึกษา 3035596008 รหัสนกั ศึกษา 3035596010

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาประวัติความเป็นมา ลักษณะโครงสร้าง
และแนวทางการสรา้ งสรรค์เพลงแขกลพบุรี 3 ช้ัน ทางครูฐิระพล น้อยนิตย์ โดยใช้
ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารและการ
สัมภาษณ์ครูผู้เชี่ยวชาญทางด้านดุริยางคศิลป์ไทย นาเสนอผลการวิจัยในรูปแบบ
การบรรเลงรวมวง และวธิ ีการพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis)

ผลการวิจัยพบว่า เพลงแขกลพบุรี เป็นเพลงเก่าสมัยอยุธยา มีเพียง 2 ชั้น
และ ชั้นเดยี ว เป็นเพลงรวมอย่ใู นชุดสองไม้ ซ่ึงบรรเลงติดต่อในเพลงเร่ืองแขกมอญ
และมักนามาใช้เป็นเพลงร้องประกอบการแสดงโขนละคร ให้อารมณ์โศก และเปล่า
เปลย่ี ววงั เวงใจ ภายหลังได้มีการประพันธ์ทานองเพ่ิมข้ึนอีก 1 ท่อน หรือเที่ยวกลับ
ต่อมาได้มีนักดนตรีหลายท่านนาเพลงแขกลพบุรี 2 ชั้นนี้มาแต่งขยายเป็นอัตรา 3
ชัน้ มสี านวนหลายทางดว้ ยกนั ตกแต่งลีลาเพลงให้พลกิ แพลง คกึ คัก สนกุ สนาน ไม่
โศกเศรา้ ภายหลังนี้ ครูฐิระพล นอ้ ยนิตย์ ได้นาเพลงแขกลพบุรี 3 ช้ันน้ี มาแต่งเพิ่ม
โดยได้แนวความคิด และเค้าโครงมาจากทางของครูช้อย สุนทรวาทิน และทางบาง
คอแหลมของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) มาปรุงแต่งให้วิจิตรพิสดาร
ซึ่งจะมีสาเนียงแขก เจ้าเซ็นต์และมอญปะปนอยู่ เพลงแขกลพบุรี 3 ชั้น ทางครูฐิ
ระพล น้อยนิตย์ ใช้บันไดเสียงหลักคือบันไดเสียงโด เท่ียวแรกของเพลงมี 62
ประโยค เทยี่ วกลบั มี 71 ประโยค ใช้หน้าทับท้ังหมด 6 หน้าทับ คือ หน้าทับสองไม้
สามช้นั , หนา้ ทบั แขก, หน้าทบั แขกเจ้าเซ็น,หน้าทับสดายง, หน้าทับมอญ และหน้า
ทบั ลกู หมด



การวิจัยในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษากลวิธีการถ่ายทอดกระบวนท่าราชุด
“กลมเงาะ” ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.จุลชาติ อรัณยะนาค ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ
ด้วยวิธีการศึกษาจากเอกสาร ตารา และเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยการรับการถ่ายทอด สังเกต
สมั ภาษณ์ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการเก็บขอ้ มลู ไดแ้ ก่ แบบสมั ภาษณแ์ บบมีโครงสร้าง โดยแบ่งเป็นแบบ
สัมภาษณ์ด้านข้อมูลและแบบสัมภาษณ์ด้านกระบวนท่ารา และวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดทฤษฎี
ทางดา้ นนาฏยศิลป์และดา้ นการศึกษา แล้วนาเสนอผลการวเิ คราะหแ์ บบพรรณนาวเิ คราะห์

ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีการถ่ายทอดกระบวนท่าราชุด “กลมเงาะ” ของ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุลชาติ อรัณยะนาค มีการแบ่งข้ันตอนเป็น 6 ข้ันตอน ได้แก่
1. การคานับครู 2. ขั้นเตรียมความพร้อม 3. ขั้นการถ่ายทอดกระบวนท่ารา 4. ขั้นเพ่ิมเติม
รายละเอียดกระบวนท่ารา 5. ขั้นปฏิบัติท่าราประกอบเพลงและ 6. ข้ันรับมอบ ซ่ึงจากข้ันตอน
ดังกล่าวน้ันพบว่าการถ่ายทอดสาหรับ ตัวพระ ตัวยักษ์ และตัวลิง มีความแตกต่างกันในขั้นการ
เตรียมความพร้อม คือด้านร่างกายโดยตัวพระต้องเตรียมความพร้อมด้านพละกาลังและสรีระ
ร่างกาย และด้านท่ารา สาหรับตัวพระ ท่านาฏยศัพท์ 10 ท่า ภาษาท่า 1 ท่า กระบวนท่า
เคล่ือนไหว 7 ท่า สาหรับยักษ์ ท่านาฏยศัพท์ 2 ท่า ภาษาท่า 1 ท่า กระบวนท่าเคล่ือนไหว 7 ท่า
สาหรบั ตัวลงิ ทา่ นาฏยศัพท์ 2 ทา่ กระบวนท่าเคล่ือนไหว 2 ท่า

อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เฉลมิ ชัย ภริ มยร์ ักษ์

คณะผ้วู จิ ัย

นางสาวกาญจนา เกดิ พรอ้ ม นางสาวกมลชนก สาหรา่ ย นายภควัต ไชยศรีหา
รหัสนกั ศึกษา 3035601028 รหัสนกั ศึกษา 3035601011 รหัสนกั ศึกษา 3035601009

นางสาวสมลวรรณ ประดบั ปิน่ นายเอกพัน วังครี ี
รหสั นกั ศกึ ษา 3035601001 รหสั นกั ศึกษา 3035601005



เด่ียวลาวแพนฆ้องวงใหญ่ ทางครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ กรณีศึกษา ครูวรเทพ บุญจาเริญ
มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ โครงสร้างของเพลง วรรคเพลง ลูกตก บันไดเสียง สังคีตลักษณ์ รูปแบบ
กระสวนทานองและศึกษากลวิธีและรูปแบบการบรรเลงเด่ียวลาวแพนฆ้องวงใหญ่ จากครูวรเทพ
บญุ จาเริญ ซงึ่ คณะผู้วจิ ยั ไดท้ าการเก็บข้อมูลตา่ ง ๆ จากการค้นคว้าเอกสาร ตารา งานวิจัยที่เก่ียวข้อง
และสัมภาษณบ์ ุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง ผลการวจิ ยั พบว่า

โครงสร้างของเพลงเดี่ยวลาวแพนฆ้องวงใหญ่ ทางครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ ประกอบไปด้วย
เพลงไทยท่ีมีสาเนียงลาวท้ังหมด 8 เพลง ได้แก่ เพลงต้นลาวแพน, เพลงลาวแพนใหญ่, เพลงลาวไม่
ทราบชื่อ 1, เพลงลาวไม่ทราบชื่อ 2, เพลงลาวแพนน้อย, เพลงลาวลอดค่าย, เพลงลาวขับไม้ และ
เพลง ซุ้มลาวแพน ใช้หน้าทับ ภาษาลาวประกอบในช่วงอัตราจังหวะสองช้ัน และใช้หน้าทับลูก
หมดประกอบช่วงออกซุ้มลาวแพน ในอัตราจังหวะชั้นเดียว วรรคเพลงมีทั้งหมด 252 วรรค ลูกตกที่
พบมากทส่ี ุด คือ เสียงเร น้อยทส่ี ุด คือ เสียงมี บันไดเสียงท่ีพบมากที่สุดคือเสียงฟา น้อยที่สุด คือ เสียง
ซอล คีตลักษณ์ของบทเพลง มีการซ้าทานองจะมีการซ้าทานองต่อเนื่อง มีการซ้าหัว ซ้าท้ายและซ้า
กลางเพลง รูปแบบกระสวนทานองของแต่ละบทเพลงแตกต่างกัน จะซ้ากันส่วนน้อย ทาให้เห็นถึง
ทานองทางเดี่ยวทหี่ ลากหลาย บ่งบอกถงึ กลเม็ดของผ้แู ต่งไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

จากการศึกษากลวิธีการบรรเลงเดี่ยวลาวแพนฆ้องวงใหญ่ ทางครูพุ่ม บาปุยะวาทย์ พบว่า
มีการใช้กลวิธีในการบรรเลงท่ีตรงตามเกณฑ์มาตรฐานดนตรีไทยและเกณฑ์การประเมิน 18 ลักษณะ
จากทงั้ หมด 29 ลกั ษณะ กลวธิ ีทีป่ รากฏมากท่ีสุด คือ การตีสองมือพร้อมกันเป็นคู่ต่าง ๆ พบ 349 คร้ัง
และกลวิธีการบรรเลงที่น้อยที่สุด คือ การตีกรอคู่ต่าง ๆ ต้ังแต่คู่ 8 ถึงคู่ 16 พบ 1 ครั้ง รูปแบบการ
บรรเลง มีอยู่ 3 วิธีการ คือ 1.วิธีการขึ้นเพลง ฆ้องวงให้จะบรรเลงขึ้นเพลงก่อน จากน้ันให้เครื่องหนัง
ใช้ช่วงท้ายของหน้าทับภาษาลาว เข้าในวรรคท่ี 2 ห้องเพลงที่ 7 2.แนวการบรรเลง แบ่งเป็น 3 ช่วง
ช่วงท่ี 1 เพลงต้นลาวแพน ลาวแพนใหญ่ และลาวไม่ทราบชื่อ 1 จะบรรเลงค่อย ๆ เพ่ิมความเร็วขึ้น
แล้วค่อยถอนลง ในเพลงลาวไม่ทราบช่ือ 1 ช่วงที่ 2 เพลงลาวไม่ทราบชื่อ 2 ลาวแพนน้อย ลาวลอด
ค่าย และลาวขับไม้ จะเป็นการบรรเลงขึงแนว ไม่เร็วมากจนเกินไป เพ่ือต่อแนวในเพลงในช่วงถัดไป
ช่วงที่ 3 เพลงซุ้มลาวแพน จะค่อย ๆ เพ่ิมแนวข้ึนเรื่อย แล้วค่อยถอนแนวลงตอนใกล้จะจบ 3.วิธีการ
ลงจบ เมอ่ื บรรเลงชว่ งท่ี 3 มา ให้ถอนแนวคอ่ ย ๆ ช้าลงเพื่อลงจบ เห็นได้ว่าเด่ียวลาวแพนฆ้องวงใหญ่
ทางครูพ่มุ บาปยุ ะวาทย์ มีเอกลักษณ์เด่นเฉพาะตัวทั้งในเรอ่ื งกลวิธแี ละรูปแบบการบรรเลง

อาจารย์ท่ีปรกึ ษา

นายชานาญ สวยค้าข้าว นายชานาญ แก้วสว่าง

คณะผวู้ จิ ยั

นายฐาปกรณ์ บญุ ศรีอนันต์ นางสาวนจั นันท์ จันพวง นายศภุ วชิ ญ์ คลา้ ยนิม่
รหัสนกั ศกึ ษา 3035606002 รหสั นกั ศึกษา 3035606005 รหสั นักศึกษา 3035606008

นางสาวพิชชาพร บรรดาศักด์ิ นายธติ ิพล บญุ เมอื ง
รหสั นกั ศึกษา 3035606011 รหสั นักศกึ ษา 3035606012



กระบวนท่ารา นางจันทน์แต่งตัว ในละครอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง พระร่วง ทางของ
นางนพรัตน์ศุภาการ หวังในธรรม โดยท่านได้รับการสืบกระบวนท่าราจากหม่อมครูต่วน
ศภุ ลกั ษณ์ ภทั รนาวกิ การแสดงชดุ นางจันทน์แต่งตัว เป็นฉากที่นางจันทน์ทราบข่าวว่าขอมกาลัง
จะลอบปลงพระชนม์ลูกชายของตน จากน้ันจึงได้ทาการชาระล้างร่างกาย แต่งตัว และ
ไหว้พระรัตนตรยั ขอพรต่อสิ่งศักด์ิสิทธ์ิ ก่อนออกไปทาการตรวจพล และยกทัพ นางจันทน์แต่งตัว
เป็นการแสดงที่กรมศิลปากร ได้ปรับปรุงมาจากบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกลา้ เจ้าอยูห่ วั โดยนาออกแสดงครง้ั แรกเม่ือ พ.ศ. 2493 ณ โรงละครกรมศิลปากร “นางจันทน์”
เป็นตวั ละครทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หัวทรงสร้างขึ้น โดยดารงตาแหน่งเป็นมารดา
ของพระร่วงพ่อเมืองผู้ปกครองเมืองละโว้ ตัวละครน้ีถือว่าเป็นตัวละครที่มีความโดดเด่นในเรื่อง
ของบทบาทความเปน็ สตรที ่ีมีความเป็นผูน้ า กล้าหาญ เดด็ เด่ียว

จากการศึกษาพบว่าการคัดเลือกผู้แสดงนางจันทน์ ควรใช้ผู้ท่ีมีรูปร่างสูงโปร่งคล้ายคลึง
กับตัวละครพระ และเป็นผู้ที่มีพื้นฐานการราและการใช้อาวุธเป็นอย่างดี การแต่งกายของ
นางจันทน์ แต่งกายยืนเคร่ืองนางแบบลาลอง ห่มสไบสองชายด้วยผ้าตาดทอง นุ่งผ้าจีบหน้านาง
และสวมกรองคอด้วยสีแดง ทรงผมใช้การเกล้าผมแบบทรงสาแหรก รูปแบบการแสดงแบ่งเป็น
7 ช่วง คือ เพลงต้นเข้าม่าน,เพลงบรรเลงชมตลาด,เพลงร้องชมตลาด,เพลงบรรเลงเชื้อ 2 ชั้น,
เพลงร้องเช้ือ 2 ช้ัน,เพลงร้องเชื้อ 1 ชั้น และเพลงเสมอ วงดนตรีประกอบการแสดงสามารถใช้
วงป่ีพาทยเ์ ครอ่ื งหา้ วงปี่พาทย์เครือ่ งคู่ หรือวงป่พี าทยเ์ ครือ่ งใหญ่ อุปกรณ์ประกอบการแสดงแบ่ง
ได้ 4 ส่วน คือ อาวุธของนางจันทน์ ใช้ดาบกระจก,ห้องสรงน้า,ห้องแต่งตัว และห้องพระ
ฉากประกอบการแสดงใช้เป็นฉากห้องแต่งตัวโดยแบ่งเวทีเป็น 3 ส่วนคือ คือ ด้านขวาของเวที
เป็นห้องสรงนา้ ตรงกลางของเวทีเป็นห้องแต่งตัว และด้านซ้ายของเวทีเป็นห้องพระ กระบวนท่า
รานางจันทน์แต่งตัวมีท้ังหมด 67 ท่า เป็นกระบวนท่าราแบบมีโครงสร้าง เช่น การราตีบทตาม
ทานองดนตรี การราตีบทตามคาร้อง ท่าราที่เป็นจารีต และเป็นกระบวนท่าราในลักษณะท่ารา
แบบคู่ มีความสัมพันธ์ของท่ารากับเครื่องแต่งกาย คือ ท่าราเป็นตัวกาหนดเครื่องแต่งกาย เช่น
ท่าห่มผ้าเริ่มจากการห่มไหล่ขวาและไหล่ซ้าย วิธีการใช้ดาบ จะปรากฏการใช้ดาบในเพลงเสมอ
หลังการไหว้พระ จะใช้ดาบในลักษณะการควงดาบหรือการถือดาบด้วยการใช้น้ิวโป้งทาบเพ่ือให้
ต้งั ตรง การพาดดาบใหอ้ ยใู่ นรอ่ งศอก และการพลกิ ดาบโดยใชน้ ้วิ โปง้ ดนั ไวใ้ หต้ ง้ั ตรง เป็นต้น

อาจารย์ทปี่ รกึ ษา

นางสาวนพภาภรณ์ คาสระน้อย

คณะผู้วจิ ัย

นางสาวณฏั ฐณชิ า ภาคาหาญ นางสาวปทั มาภรณ์ บญุ เกิด นางสาวปิยธิดา มีศิริ
รหัสนกั ศกึ ษา 3035601019 รหัสนักศึกษา 3035601023 รหสั นกั ศึกษา 3035601017

นางสาวเพญ็ นภา อภเิ ดช นายสมพล เสี่ยงวงษ์
รหสั นกั ศกึ ษา 3035601012 รหสั นกั ศกึ ษา 3035601006



งานวิจัย เร่ือง การแสดงลิเกสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม
มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างสรรค์การแสดงลิเกเพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม วิธีการ
สร้างสรรค์ประกอบด้วย การศึกษาค้นคว้าข้อมูล การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ และ
ศิลปินลิเก จากนั้นจึงทาการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสร้างสรรค์ต่อยอดจากองค์ความรู้เดิม
ในการสร้างสรรค์ คณะผู้วิจัยได้นาวรรณคดี เรื่อง พระอภัยมณี ตอน สุดสาครเสียทีชี
เปลือย บทประพันธ์ของสุนทรภู่ มาจัดแสดง สร้างสรรค์เคร่ืองแต่งกาย จากการ
แตง่ กายของลิเกปัจจุบัน จากภาพจิตรกรรมฝาผนัง วัดใหญ่อินทราราม จังหวัดชลบุรี
และอ้างอิงจากบทประพันธ์ของสุนทรภู่ สร้างสรรค์ดนตรีประกอบการแสดง ด้วยการ
นาดนตรีไทยมาบรรเลงร่วมกับเคร่ืองดนตรีสากล ได้ทาการ ปรับ ลด หรือ ผสานเสียง
ใหเ้ ป็นระดับเสียงสากล บนั ทึกเปน็ เพลงหรือซาวดส์ าหรบั ประกอบการแสดง

การแสดงลิเกสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เรื่องพระอภัยมณี
ตอนสุดสาครเสียทีชีเปลือย มีการสอดแทรกประเด็นเพื่อการพัฒนาเยาวชน ให้เกิด
ความตระหนัก ในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างเพ่ือน การให้เกียรติ
ซึ่งกันและกัน ความสามัคคีในหมู่คณะ การเช่ือฟังคาสอนของผู้ใหญ่ และการไม่
หลงเช่ือคาพูดของผู้อื่น ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาชาติ(พ.ศ.2561-2580
ฉบับราชกิจจานุเบกษา ) นอกจากน้ันยังสามารถนาไปเป็นสื่อการศึกษา
เพื่อการอนรุ กั ษ์ สบื ทอดศลิ ปะการแสดงลิเกไดอ้ กี ดว้ ย

อาจารย์ที่ปรกึ ษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สขุ สนั ติ แวงวรรณ

คณะผูว้ ิจัย

นาย ธิติวฒุ ิ หัตถศาสตร์ นางสาว นันทนัช กวินทิพยเ์ มธี นางสาว มนัสนันท์ แก้วสระแสน
รหสั นกั ศึกษา 3035601002 รหัสนักศึกษา3035601030 รหัสนกั ศึกษา 3035601010

นาย มนสั ทองแท้ นายสรรขัย ใจสงิ ห์ นางสาว วนารี ระงับภัย
รหัสนักศกึ ษา 3035601018 รหสั นักศึกษา 3035601014 รหสั นกั ศึกษา 3035601027



การวิจัยครั้งน้ี มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาของเพลงชุดสิบสองภาษา และศึกษา
โครงสร้าง รูปแบบของเพลงชุดสิบสองภาษา ทางครูฐิระพล น้อยนิตย์ โดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ
จากการศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมข้อมูลเอกสารทางวชิ าการ รวมทง้ั การศึกษาข้อมูลภาคสนามดว้ ยการสัมภาษณ์
การบนั ทึกเสียง การบนั ทกึ ภาพ นาขอ้ มลู มาวิเคราะห์ และนาเสนอวด้วยวิธีการพรรณนาวเิ คราะห์
ผลการศกึ ษาพบว่า
1. เพลงชุดสิบสองภ าษาทางค รู ฐิระพล น้อยนิตย์ ไ ด้เรียบเรียงเพลงชุดสิบสองภ าษาข้ึน
เมื่อปี พ.ศ. 2552 โดยมีแนวคิด แรงบันดาลใจจากการเดินทางไปยังประเทศต่าง ๆ ในอาเซียน จึงนาภาษา
และประสบการณ์ท่ีได้ไปศึกษาดูงาน นามาประพันธ์บทเพลงขึ้นใหม่ โดยมีการนาเพลงที่เป็นของเดิม
มาประพันธ์ข้ึน และเรียบเรียงบทเพลงใหม่ ประกอบด้วย โหมโรงรามะนา ภาษาจีน ภาษาเขมร ภาษาตลุง
ภาษาพมา่ ภาษาฝรง่ั ภาษาแขก ภาษามอญ ภาษาไทย ภาษาลาว ภาษาญวน ภาษาเงี้ยว และภาษาข่า
2. การศึกษาโครงสร้าง รูปแบบ พบว่าเพลงชุดสิบสองภาษาของทางครู ฐิระพล น้อยนิตย์
ประกอบดว้ ย

1. เพลงโหมโรง ประกอบดว้ ย เพลงโหมโรงรามะนาทานอง 1, 2 และ 3
2. เพลงภาษาจนี ประกอบไปด้วย เพลงพรจนี ทานอง 1, 2, 3, 4, และเพลงจนี ฮอ่ แฮ่
3. เพลงภาษาเขมร ประกอบไปด้วย เพลงเขมรเหลือง สองชั้น, เพลงเขมรพายเรือ สองชั้น
เพลงเขมรเตอยเยอย ทานอง 1, 2 และเพลงเขมรพายเรอื ช้ันเดยี ว
4. เพลงภาษาตะลุง ประกอบไปด้วย เพลงตะลุงมโนราห์, เพลงกราวนอก, เพลงกระตั้ว ท่อน 1
ทานอง 1, เพลงกระตว้ั ท่อน 1 ทานอง 2, เพลงกระตั้ว ทอ่ น 2, ทอ่ น, 3, ทอ่ น 4 และทานองลกู หมด
5. เพลงภาษาพม่า ประกอบไปด้วย ทานองลูกนาพม่า ทานอง 1, 2, เพลงพม่า (ซีบอมบ่อ),
เพลงพมา่ ทุงเล ทานอง 1, เพลงพมา่ ทงุ เล ทานอง 2, เพลงพม่าเริงรมย์, เพลงเกร็ดสาเนียงพม่า และทานอง
ลูกหมด
6. เพลงภาษาฝร่ัง ประกอบไปด้วย เพลงเสมอฝร่ัง, เพลงมาร์ชสีนวล ,เพลงมาร์ชชิ่ง ทูจอร์เจีย,
เพลงฝร่ังยีเฮ็ม, เพลงมาร์ชสนี วลทอ่ น 3 และ4
7. เพลงภาษาแขก ประกอบไปด้วย เพลงอาหรับราตรี , เพลงแขกยิงนก, เพลงเลคดุง,
เพลงบรุ งุ กาก์กา และเพลงระสาซายังเง
8. เพลงภาษามอญ ประกอบไปด้วย เพลงเสมอมอญ, เพลงสองไม้มอญ, เพลงมอญกละ บทที่ 3,
เพลงมอญกละ บทที่ 2 และเพลงยกตะล่มุ
9. เพลงภาษาไทย ประกอบไปด้วย ทานองลูกนา, เพลงเตน้ การาเคียว 1 และเพลงเตน้ การาเคยี ว 2
10. เพลงภาษาลาว ประกอบไปด้วย เพลงลาวชมดง และเพลงชนั้ เดียว
11. เพลงภาษาณวน ประกอบไปด้วย เพลงญวนเกษม ช้ันเดียว, เพลงญวนเกษม สองช้ัน, เพลง
สรอ้ ยญวน และเพลงญวนทอดแห
12. เพลงภาษาเง้ียว ประกอบไปด้วย เพลงเง้ยี วเหนอื
13. เพลงภาษาขา่ ประกอบไปด้วย เพลงข่า 1, เพลงขา่ 2, เพลงสรอ้ ยขา่ และเพลงขา่

อาจารย์ทป่ี รึกษา

อาจารย์ชานาญ แก้วสว่าง อาจารย์วีรวฒั น์ เสนจันทร์ฒไิ ชย

คณะผวู้ ิจยั

นางสาวนุสรา สิงหช์ ยั นายประสพชยั ชชู ว่ ย นางสาวพมิ พ์ประภา มีบุญ
รหัสนักศกึ ษา 3035606001 รหสั นกั ศึกษา 3035606009 รหัสนกั ศกึ ษา 3035607002

นายพงศกร ฉายแสง นายสิรภพ เทพจินดา
รหสั นกั ศกึ ษา 3035606014 รหัสนักศกึ ษา 3035606010



งานวิจัยเร่ือง การสร้างสรรค์ ชุด เชิดฉ่ิงพระสุธนมโนห์รา มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพ่ือ
ศึกษาและวเิ คราะห์ องค์ประกอบ และกระบวนการสร้างสรรค์กระบวนท่ารา มีวิธีการดาเนินการ
วิจัยโดยใช้วิธีการศึกษาค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ ตารา สูจิบัตร งานวิจัย เอกสาร
ทางวิชาการ และสังเกตจากการชมวีดิทัศน์ การสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง และการฝึกปฏิบัติจากรอง
ศาสตราจารย์ผุสดี หลิมสกุล โดยมีผศ. ดร.พัชรินทร์ สันติอัชวรรณ และอาจารย์ ดร.พิมพ์วิภา
บรุ วัฒน์ เปน็ ผชู้ ่วยในการถ่ายทอดกระบวนท่ารา

ผลการวิจัยพบว่า เป็นการแสดงประเภทราคู่ สร้างสรรค์ขึ้นใหม่เม่ือปีพุทธศักราช 2555
เป็นผลงานสร้างสรรค์นาฏศิลป์ไทยในเชิงอนุรักษ์ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปแบบการแสดง
ชดุ ศุภลกั ษณอ์ ุม้ สม ทเี่ ป็นการแสดงพระ-นางราคู่กัน อีกท้ังรองศาสตราจารย์ผุสดี หลิมสกุล เคย
ได้รับบทบาทแสดงเป็นนางมโนห์รา จึงเห็นว่าในตอนสุดท้ายของละครเรื่องมโนห์ราน้ันไม่มีการ
แสดงท่ีเป็นเอกลักษณ์ของพระสุธนและมโนห์รา จึงสร้างสรรค์การแสดง ชุด เชิดฉิ่งพระสุธน
มโนห์รา ขึ้นเป็นการแสดงประเภทราคู่ ระหว่างมนุษย์ผู้ชายกับนางกินรี ในลักษณะของการเหาะ
เหินเดินอากาศ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบได้แก่ 1.การวิเคราะห์แนวคิดการแสดงสร้างสรรค์
2. การวิเคราะห์แนวคิดการสร้างสรรค์กระบวนท่ารา ชุด เชิดฉิ่งพระสุธนมโนห์รา 2.1 กระบวน
ท่าราทม่ี าจากเพลงด้ังเดมิ ไดแ้ ก่ กระบวนทา่ ราท่ีมาจากเพลงแม่บท ประกอบด้วย กระบวนท่ารา
จากเพลงแม่บทใหญ่ และกระบวนท่าราจากเพลงแม่บทเล็ก 2.2 กระบวนท่าราที่มาจากการ
ตีความตามบทร้องแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ท่าราที่มาจากการตีบทตามคาร้องแบบมี
ความหมาย และท่าราท่ีมาจากการตีบทตามคาร้องแบบไม่มีความหมาย 2.3 ท่าราที่บอกถึง
สถานท่ี 2.4 ท่าราทกี่ ลา่ วถึงบุคคล 2.5 ความสัมพันธ์ของกระบวนท่าราในการราคู่ ประกอบด้วย
กระบวนท่าราแบบบทร้องเดียวกันราท่าเดียวกัน และกระบวนท่าราแบบบทร้องเดียวกันใช้ท่ารา
ตา่ งกนั

อาจารยท์ ป่ี รึกษา

ดร.นางสาวธติ ิมา อ่องทอง

คณะผ้วู จิ ยั

นายชยั รัตน์ มังกรทอง นางสาวปญั จพาณ์ ศรีแจ่ม นางสาวปารฉิ ตั ร แสงออ่ น
รหสั นกั ศึกษา 3035601004 รหสั นกั ศึกษา 3035601008 รหัสนักศกึ ษา 3035601029

นางสาวอภิรดา วายนต์ นางสาวอาทติ ยา มาตุ้ม
รหัสนกั ศกึ ษา 3035601007 รหัสนกั ศึกษา 3035601024



ลาตัดเป็นการแสดงท่ีมีระเบียบแบบแผนของการแสดงลาตัด และการแสดงท่ีจากัดเวลา
ซ่ึงในการแสดงท่ีจากัดเวลานั้น จะเป็นการยกส่วนใดส่วนหนึ่งของการแสดงเท่านั้น การแสดง
ลาตัดผู้ร้อง จะใช้น้าเสียงหนักเบา ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับเน้ือหาของเพลงลาตัด มีท่าทางการเคลื่อนไหว
การรา ได้ดัดแปลงมาจากทา่ ราของทางนาฏศิลป์ไทย

ผลการวิจัยพบว่าทานองรามะนาท่ีใช้ในคณะหวังเต๊ะ มีท้ังหมด 1๐ ทานอง ได้แก่
ทานองโหมโรง, ทานองพม่า, ทานองลาว, ทานองโยน, ทานองมอญ, ทานองจีน, ทานองฝรั่ง,
ทานองแขก, ทานองแขกลง และทานองสองไม้ ซึ่งในการแสดงลาตัดมีการนาทานองรามะนามา
ใช้ในการประกอบการแสดง ดังนี้ 1.การโหมโรง ใช้ทานอง โหมโรง ทานองพม่า ทานองลาว
ทานองโยน ทานองมอญ ทานองจีน ทานองฝรั่ง ทานองแขก ทานองแขกลง 2. การร้องทานอง
กลาง ใชท้ านองลาว และทานองพม่า 3. การร้องทานองกระพือ ใช้ทานองพม่า4. การร้องทานอง
ลาว ใช้ทานองโยน และทานองพม่า 5. การร้องทานองพม่า ใช้ทานองพม่า 6. การร้องทานอง
แขก ใช้ทานองลาว และทานองแขก 7. การร้องทานองมอญ ใช้ทานองมอญ 8. ทานองโศก ใช้
ทานองลาว และทานองแขก

รูปแบบการบรรเลงรามะนาประกอบการแสดงลาตัด รามะนาท่ีใช้ ปรากฏเพียง 3 เสียง
คอื เสยี งโจ๊ะ เสยี งทงิ และเสยี งทงั่ ซึ่งมีวิธีการบรรเลงแต่ละเสียง ดังน้ี เสียงโจ๊ะ จะบรรเลงโดยใช้
ขอ้ น้วิ มอื ท่ี 2 ลักษณะของนิ้วจะห่างกันเล็กน้อย เสียงทิง จะบรรเลงโดยใช้ข้อนิ้วมือท่ี 3 ลักษณะ
ของน้วิ จะเรยี งชดิ ติดกัน และเสียงทั่ง จะใช้บริเวณส่วนกลางของฝ่ามือตีลงไป ลักษณะของน้ิวจะ
เรียงชิดติดกัน ท้ัง 3 เสียงผู้บรรเลงจะตีบนขอบเส้นหวายที่นูนขึ้นมาจากหน้ากลองรามะนา การ
บรรเลงรามะนา ในการแสดงลาตัด จะต้องมีความสอดคล้องกับลาดับการแสดงลาตัด ตั้งแต่
เพลงโหมโรงจนถึงเพลงลา สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังการบรรเลงรามะนาเพียงอย่าง
เดยี ว การบรรเลงรามะนาประกอบการร้อง

อาจารย์ท่ปี รกึ ษา

นางสาวไผทพนั ธ์ พง่ึ บญุ ณ อยุธยา อาจารยช์ ัยทัต โสพระขรรค์

คณะผวู้ ิจยั

นายชยั พฒั น์ จันทรพ์ วง นายเทพพิทกั ษ์ ขนั ธบตุ ร นางสาววรางคณา จินดาไพศาล
รหสั นกั ศกึ ษา 3035606013 รหสั นักศึกษา 3035606003 รหสั นักศึกษา 3035607003

นายวลั ลภ สุพลา
รหสั นักศกึ ษา 3035607001

๑. คณะกรรมการฝ่ายอานวยการทป่ี รกึ ษา

รองศาสตราจารยส์ มภพ เขยี วมณี ประธานกรรมการท่ปี รกึ ษา

นางสาวสุพจี สุภาพ รองประธานกรรมการทป่ี รกึ ษา

นางชุตพิ ันธ์ุ ภ่เู จรญิ วนิชย์ รองประธานกรรมการทป่ี รึกษา

นายพินติ ร์ กลับทวี รองประธานกรรมการท่ีปรึกษา

นายสายันณ์ เถกิงศรี รองประธานกรรมการทป่ี รึกษา

นางสาวรัชฏาภรณ์ จันทร์ทอง รองประธานกรรมการทป่ี รกึ ษา

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุขสันติ แวงวรรณ กรรมการที่ปรกึ ษาและเลขานกุ าร

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เฉลมิ ชัย ภิรมย์รกั ษ์ กรรมการท่ีปรกึ ษาและผู้ช่วยเลขานุการ

มหี นา้ ที่ใหค้ าปรกึ ษาการจดั งาน อานวยความสะดวกและแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ เพ่ือใหก้ าร

ดาเนนิ การ

เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย

๒. คณะกรรมการฝา่ ยดาเนินงาน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลมิ ชยั ภริ มย์รักษ์ ประธานกรรมการ

ว่าท่ี ร.ต.ขวัญชัย ชะยเู ด็น รองประธานกรรมการ

นางสาววิรดี จนิ ตะไล กรรมการ

นางสาวนพภาภรณ์ คาสระน้อย กรรมการ

นายจารุวัฒน์ ศรโี สภา กรรมการ

ดร. ธิติมา ออ่ งทอง กรรมการ

นางสาวกนกโฉม สนุ ทรสมี ะ กรรมการ

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สขุ สนั ติ แวงวรรณ กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้าที่กาหนดวางแผนการดาเนนิ งาน เสนอแต่งตั้งคณะกรรมการฝ่ายตา่ งๆ พจิ ารณาจัดสรร

งบประมาณจัดทารายละเอียดเชญิ คณะกรรมการดาเนนิ งานเข้ารว่ มประชุมการดาเนนิ งาน ปฏิบตั ิงานอื่น

ตามทปี่ ระธานคณะกรรมการอานวยการมอบหมาย

๓. คณะกรรมฝา่ ยสถานท่ี

นายชมาพล ชมุ่ ชศู าสตร์ ประธานกรรมการ

นายบัญชา ยอดสม รองประธานกรรมการ

นายมลตรี เขยี วมณี กรรมการ

นายวรรณศักดิ์ ศรีจันทร์ กรรมการ

นายชานาญ สวยคา้ ข้าว กรรมการ

นกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีชั้นปีที่ ๑ กรรมการ

นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีชั้นปที ่ี ๔ กรรมการ

นายสุทธิชยั อรณุ โน กรรมการและเลขานุการ

มีหน้าท่ีจัดสถานท่ี ประดับตกแต่งสถานท่ีสาหรับการนาเสนอผลงานวิจัยและ

สถานที่จัดนิทรรศการอานวยความสะดวกการใช้สถานท่ี จัดเตรียมท่ีนั่งสาหรับประธาน ครู

อาจารย์ นักศึกษาและผู้เข้าชมงาน การจัดวัสดุอุปกรณ์พร้อมใช้สาหรับจัดกิจกรรมและจัด

นิทรรศการ ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ตามท่ีประธานคณะกรรมการดาเนนิ งานมอบหมาย

๔. คณะกรรมการฝ่ายเอกสาร และสูจบิ ัตร

นายอภิวิชญ์ เหลา่ อนั ประธานกรรมการ

นายมนตรี สขุ กลดั รองประธานกรรมการ

นางนงลกั ษณ์ เขียวมณี กรรมการ

นักศึกษาระดับปริญญาตรชี ั้นปที ี่ ๔ กรรมการ

นายชัยทตั โสพระขรรค์ กรรมการและเลขานุการ

มีหน้าท่ีจัดหา รวบรวมเอกสารในการจัดแสดง จัดนิทรรศการจากและประสานกับ

ฝ่ายสถานทใ่ี นการจัดนิทรรศการ จัดทาเอกสาร สูจิบัตรและที่เก่ียวข้อง ปฏิบัติงานอ่ืนตามที่

ประธานคณะกรรมการดาเนินงานมอบหมาย

๕. คณะกรรมการฝ่ายปฏิคม

นางสาวนพภาภรณ์ คาสระนอ้ ย ประธานกรรมการ

นางสาวธติ มิ า อ่องทอง รองประธานกรรมการ

นางสาวเบญจมาภรณ์ คงสทิ ธ์ิ กรรมการ

นกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรีชัน้ ปที ่ี ๑ กรรมการ

นางกนกเลขา พนู สวัสดิ์ กรรมการและเลขานุการ

มหี นา้ ท่ตี อ้ นรับผู้เข้าร่วมงาน จัดลงทะเบียน จัดเตรียมอาหารและเคร่ืองดื่มสาหรับ

ครูอาจารย์กรรมการและเลขานุการปฏิบัติงานอื่นตามที่ประธานคณะกรรมการดาเนินงาน

มอบหมาย

๖. คณะกรรมการฝา่ ยโสตทัศนูปกรณ์

นางนงลกั ษณ์ เขยี วมณี ประธานกรรมการ

นายมลตรี เขียวมณี รองประธานกรรมการ

นายวรกติ ต์ิ หยกประดษิ ฐ์ กรรมการ

นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรชี น้ั ปที ่ี ๑ กรรมการ

นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรีช้นั ปีที่ ๔ กรรมการ

นายศภุ ชยั กองขวญั กรรมการและเลขานุการ

มีหน้าท่บี ันทึกภาพน่ิงและภาพเคลื่อนไหว จดั ระบบแสงเสยี งตลอดการนาเสนอผลงาน

ปฏิบัตงิ านอน่ื ตามทป่ี ระธานคณะกรรมการดาเนนิ งานมอบหมาย

๗.คณะกรรมการฝา่ ยประชาสัมพนั ธ์

นายอภวิ ชิ ญ์ เหล่าอัน ประธานกรรมการ

นายมนตรี สขุ กลัด รองประธานกรรมการ

นายวรรณศกั ด์ิ ศรีจนั ทร์ กรรมการ

นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีชน้ั ปที ี่ ๓ กรรมการ

นักศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรชี นั้ ปที ่ี ๔ กรรมการ

นายวรรณศกั ดิ์ ศรีจันทร์ กรรมการและเลขานุการ

มหี นา้ ที่ประชาสมั พนั ธก์ ารจัดงาน จดั ทาหนงั สอื เชิญ สอื่ ประชาสัมพันธ์ตา่ งๆ ปฏิบัตงิ านอ่นื

ตามที่ประธานคณะกรรมการดาเนนิ งานมอบหมาย

๘.คณะกรรมการฝา่ ยประเมนิ ผล

นายณัฐนิรันดร์ ปอศิริ ประธานกรรมการ

นางสพุ ัตรา สโุ พธ์ิพัฒน์ รองประธานกรรมการ

นายจิรวัฒน์ นติ บิ รมตั ถธ์ าดา กรรมการ

นกั ศึกษาระดับปริญญาตรชี นั้ ปที ่ี ๔ กรรมการ

ว่าทร่ี ้อยตรไี กรวฒุ ิ นันต๊ะเสน กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้าทีจ่ ดั ทาเครอื่ งมอื วิเคราะห์ข้อมลู ประเมินผลการจัดงาน จดั ทารายงานสรปุ ผลการจัด

งานปฏิบตั งิ านอ่นื ตามทปี่ ระธานคณะกรรมการดาเนินงานมอบหมาย

๙.คณะกรรมการฝ่ายยานพาหนะและรักษาความปลอดภยั

นายบัญชา ยอดสม ประธานกรรมการ

นายสาเริง ผ่องพฒุ ิ ว่าที่รอ้ ยตรธี นพล กลนั่ ใสสุข

รองประธานกรรมการ กรรมการ

นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรชี นั้ ปที ี่ ๑ กรรมการ

นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรีช้นั ปีท่ี ๔ กรรมการ

นายพันธศักดิ์ ฐานโพธิ์ กรรมการและเลขานุการ

มหี นา้ ทจ่ี ดั เตรยี มยานพาหนะเพอื่ รับส่งผเู้ ชย่ี วชาญ จดั เตรยี มสถานทอ่ี านวยความ

สะดวกสาหรับสถานทีจ่ อดยานพาหนะ ปฏิบัติงานอนื่ ตามทีป่ ระธานคณะกรรมการดาเนินงาน

มอบหมาย

๑๐. คณะกรรมการฝา่ ยเทคนคิ แสง เสียง

นายมลตรี เขียวมณี ประธานกรรมการ

นายศุภชัย กองขวญั รองประธานกรรมการ

นายมนสั วี กาญจนโพธิ์ กรรมการ

นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาตรีชน้ั ปที ่ี ๓ กรรมการ

นางนงลักษณ์ เขียวมณี กรรมการและเลขานกุ าร

มหี น้าทีป่ ระสานงานผเู้ ข้าร่วมนาเสนอผลงาน ผจู้ ดั ทาเทคนคิ ตา่ ง ๆ บนเวทีและบรเิ วณ

งาน จัดทาเทคนคิ แสง เสียงการนาเสนอผลงาน ปฏบิ ัตงิ านอนื่ ตามทีป่ ระธานคณะกรรมการ

ดาเนนิ งานมอบหมาย

๑๑. คณะกรรมการฝ่ายเหรัญญิก

นางสาวสุพตั รา โพธาราม ประธานกรรมการ

นางสาวกุลพิชาาย์ ก้านใบยา รองประธานกรรมการ

นางสาวจรรยา เติมประทปี กรรมการ

นางสาวดรุณี แป้นพูล กรรมการและเลขานกุ าร

มหี นา้ ทด่ี แู ลด้านการเงนิ เงินงบประมาณในการจดั งานการเบิกจ่ายเงิน ให้คาแนะนคณะ

กรรมการฝา่ ยตา่ งๆในการเบกิ จ่าย จัดทาบัญชสี รปุ การใชจ้ า่ ยเงนิ ในการจัดงาน ปฏบิ ัติงานอื่น

ตามที่ประธานคณะกรรมการดาเนนิ งานมอบหมาย


Click to View FlipBook Version