The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wichuda1345, 2022-03-24 00:15:50

การใช้แผนผังมโนทัศน์เพื่อส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจร่วมกับการ จัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนก าแพงวิทยา

ครูปาลิตา

รายงานวจิ ยั ในชั้นเรียน

การใชแ้ ผนผังมโนทศั นเ์ พอ่ื สง่ เสริมการอา่ นภาษาอังกฤษเพอ่ื ความเขา้ ใจร่วมกับการ
จัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model

สาหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนกาแพงวทิ ยา

นางปาลิตา อาดลุ เบบ
ตาแหน่ง ครู

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ
โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอละงู จังหวดั สตลู
สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตลู

ชื่อเรอ่ื ง การใชแ้ ผนผังมโนทศั น์เพื่อสง่ เสริมการอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจร่วมกับการ
จัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3
โรงเรยี นกาแพงวิทยา

ผวู้ ิจัย ปาลติ า อาดลุ เบบ
กลุ่มสาระฯ ภาษาต่างประเทศ
ปีการศึกษา 2564

บทคดั ย่อ

การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือเปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจของ
นักเรียนก่อนและหลังการเรียนรู้โดยการใช้แผนผังมโนทัศน์ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ MACRO
Model ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3

2) เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผนผังมโนทัศน์ร่วมกับการ
จดั การเรียนการสอนแบบ MACRO Model ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี เป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอ
ละงู จังหวดั สตูล ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 1 ห้องเรียน ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีท่ี 3/6 จานวน 38 คน โดยสุ่มแบบเจาะจง ใช้เวลาทดลองท้ังส้ิน 6 คาบ คาบละ 50 นาที โดยใช้
แผนการวิจยั แบบ One-group Pretest-Posttest Design เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) กิจกรรม
การสอนอา่ นภาษาอังกฤษโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ร่วมกับการสอนแบบ MACRO Model 2) แบบทดสอบก่อน
และหลังเรียนวัดความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ 3) แผนการจัดการเรียนรู้ และ 4)
แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้แผนผังมโนทัศน์ในการสอนอ่านภาษาอังกฤษ วิเคราะห์
ข้อมูลโดยค่าเฉล่ีย (Mean) คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) การทดสอบ t-test (paired samples t-test)

ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการประเมินทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนกลุ่ม
ตัวอย่างหลังจากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนผังมโนทัศน์เพ่ือส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความ
เข้าใจร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model มีคะแนนเฉล่ียหลังการจัดกิจกรรมสูงกว่าก่อน
การจัดกิจกรรม และเม่ือทดสอบคะแนนเฉล่ียด้วยสถิติ t-test พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังหลังการจัด
กิจกรรมสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) นักเรียน กลุ่มตัวอย่างมี
ความคิดเห็นท่ีดีต่อการใช้แผนผังมโนทัศน์เพ่ือส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจในทุกด้าน ได้แก่
ด้านรปู แบบ ดา้ นเน้อื หาบทอ่าน ดา้ นกจิ กรรมการสอนและด้านคณุ ประโยชน์

บทคดั ย่อ

สารบญั

หนา้

บทคัดย่อภาษาไทย.......................................................................................................................... ก

สารบัญ ........................................................................................................................................... ข

บทที่ 1 บทนา............................................................................................................................. ..... 1
1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา..................................................................... 1
1.2 วตั ถปุ ระสงคใ์ นการวจิ ัย............................................................................................... 3
1.3 คาถามการวิจยั ........................................................................................................... 3
1.4 สมมติฐานในการวจิ ยั ................................................................................................... 3
1.5 ขอบเขตของการวิจยั ...................................................................................................... 4
1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ............................................................................................................ 4
1.7 ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั จากการวิจยั .......................................................................................... 5

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง............................................................................................. 6
2.1 การอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ............................................................................... 6
2.2 การสอนอ่านภาษาองั กฤษเพื่อความเข้าใจ (Teaching English Reading for................
comprehension).............................................................................................................. 13
2.3 แผนผงั มโนทศั น์ (Concept Mapping)........................................................................... 14
2.4 รูปแบบการสอนแบบ MACRO Model........................................................................... 19
2.5 งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง........................................................................................................... 22

บทท่ี 3 วิธกี ารดาเนินการวิจัย.............................................................................................................. 25
3.1 ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง.............................................................................................. 25
3.2 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการเก็บข้อมลู ........................................................................................... 25
3.3 ขน้ั ตอนการสร้างเคร่ืองมือ ............................................................................................... 25
3.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู ...................................................................................................... 26
3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มูล............................................................................................................ 27

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล............................................................................................................... 28
4.1 ความสามารถทกั ษะการอ่านภาษาองั กฤษเพอ่ื ความเข้าใจ................................................ 28
4.2 การจัดการเรยี นร้โู ดยใช้แผนผงั มโนทัศนเ์ พื่อส่งเสรมิ การอา่ นภาษาองั กฤษเพอ่ื ความเข้าใจ 31

บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ..................................................................................... 35
5.1 สรุปผลการวิจัย................................................................................................................. 35
5.2 การอภิปรายผล................................................................................................................. 36
5.3 ข้อเสนอแนะ................................................................................................................... .. 37

ภาคผนวก................................................................................................................................................ 39

1

บทที่ 1

บทนา

1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา

ปัจจบุ ันภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาสากลทค่ี นทัว่ โลกใชใ้ นการติดตอ่ สอื่ สาร และท่ีสาคญั การศึกษาในทกุ
ระดับชั้นและทุกชนชาตลิ ว้ นแล้วแต่ใหค้ วามสาคญั กับภาษาองั กฤษ ดังน้นั การศึกษา ในประเทศไทยกม็ ุ่ง
เป้าหมายหลกั ในการพัฒนาเยาวชนไทยใหม้ ีทักษะการส่ือสารและการใช้ ภาษาองั กฤษใหด้ ขี ึ้น และเพ่ือให้
เยาวชนไทยได้มีการพัฒนาตนเองในการรับรู้หรือรับสารจากสือ่ การ เรยี นรตู้ า่ งๆ ทง้ั จากในและตา่ งประเทศจงึ
มีการพัฒนาทักษะการรับข้อมูลขา่ วสารโดยการเน้นทกั ษะ การอา่ น ซง่ึ สมุทร เซ็นเชาวนิช (2549) กล่าวว่า
คนทีอ่ ่านหนังสือเป็นย่อมมีหลักการหรอื แนวทาง ที่จะนาไปสคู่ วามสาเรจ็ ไดม้ ากกวา่ คนท่อี ่านไมไ่ ด้เพราะคนที่
อา่ นหนังสอื เปน็ สามารถอา่ นขอ้ ความต่างๆ ได้อยา่ งรวดเร็ว ตีความหรือเขา้ ใจสง่ิ ท่อี า่ นไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง จดจา
เรอื่ งราวท่ีอ่านได้และเมื่อถึงคราวจาเปน็ กส็ ามารถส่ือสารข้อมลู เหล่านั้นใหเ้ ปน็ ทเี่ ขา้ ใจได้ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั
สุพรรณี วราทร (2545) อธิบายถึงการอ่านว่า การอา่ นมีความสาคัญย่ิงต่อการพฒั นาทรัพยากรบุคคล
โดยเฉพาะในวยั เยาว์ ซ่ึงกาลงั มีพัฒนาการในด้านตา่ งๆ มคี วามสนใจในขอบเขตกว้าง ต้องการเรียนรแู้ ละ
แสวงหา ประสบการณใ์ หม่ซ่ึงจะเปน็ พน้ื ฐานชวี ติ ในอนาคต ดังน้นั สาหรบั เด็กแล้วการอา่ นจึงนับเป็นทกั ษะ
พ้ืนฐานในการเรยี นรสู้ ่งิ ทห่ี ลากหลาย ตามท่ี ครุรักษ์ ภริ มย์รักษ์ (2540) กล่าวสรปุ วา่ การอา่ นเป็น ทักษะที่มี
ความสาคัญอย่างยิ่งต่อชวี ิตของผูค้ นในสังคมโลกปจั จุบนั คอื ชว่ ยให้ผู้ที่เข้าถงึ การอ่าน สามารถดาเนนิ ชวี ิตได้
ตามทีต่ นต้องการ มีความเข้าใจและความสามารถอยูใ่ นสังคมโลกได้อย่างมี ความสุข แมส้ งั คมโลกจะเข้าถึง
สารสนเทศทก่ี ้าวหน้า การอา่ นกย็ ังคงมีความสาคัญอยู่ตลอดเวลา

จากความสาคัญดงั กลา่ วจะเห็นไดว้ ่า การอา่ นเปน็ ทกั ษะที่ผเู้ รยี นภาษาอังกฤษเป็นภาษาตา่ งประเทศ
ต้องการและจาเปน็ ต้องใช้และยังคงใชอ้ ยตู่ ลอดชีวติ เน่ืองจากทักษะการอ่านมคี วามสาคัญดังทก่ี ล่าวมาแสดง
ใหเ้ หน็ ว่าผู้เรยี นจาเปน็ ตอ้ งมี ทักษะการอา่ นเพื่อรับร้ขู ้อมูลข่าวสารจากสื่อและหนังสือเรยี นนาไปสู่การ
ถา่ ยทอดข้อมูล หลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ให้ความสาคัญในการเรยี นการ
สอนภาษาอังกฤษ โดยกาหนดคณุ ภาพผู้เรยี นเมอ่ื เรยี นจบระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นมที ักษะการใช้
ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟงั -พูด-อ่าน-เขยี น) ส่อื สารตามหวั เรื่องเกยี่ วกับตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น
สิง่ แวดล้อม อาหาร เครื่องด่ืม เวลาวา่ งและนนั ทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซ้ือ-ขาย
(กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) ดงั นั้นทาให้ผูส้ อนจาเปน็ ตอ้ งศึกษาหาวธิ ีการสอนอ่านเพอื่ ให้ผู้เรยี นเกดิ ความ
เข้าใจในการอ่านและประสบความสาเร็จในการอา่ น โดยเฉพาะการอ่านเชงิ วชิ าการ เชน่ การอ่านหนงั สือเรียน
สอดคล้องกบั การทาขอ้ สอบของผ้เู รียน ถ้าผู้เรียนมีความเข้าใจในการอา่ นจะทาใหส้ ามารถทาข้อสอบได้ดีขน้ึ
ซึ่งเปน็ สงิ่ ทส่ี าคัญสาหรับผเู้ รียน ในระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เพราะมีการทดสอบระดับชาติ (O-Net) ซง่ึ
ผู้เรียนต้องอา่ นและ ทาความเขา้ ใจข้อคาถาม และข้อสอบยงั ประกอบด้วยส่วนของข้อสอบดา้ นการอ่านเพื่อ
ความเขา้ ใจ ทาใหผ้ ้เู รียนต้องเขา้ ใจบทอ่านท้ังคาศพั ท์ ใจความสาคัญและองคป์ ระกอบอนื่ เพ่ือใหก้ ารทา
ข้อสอบ ประสบความสาเร็จ ด้วยเหตุนท้ี ักษะการอ่านจึงมีความสาคัญสาหรับผู้เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 เป็น
อย่างมาก อย่างไรกต็ าม จากการศกึ ษางานวจิ ัยต่างๆ พบวา่ ความสามารถในการอ่านของนักเรยี น ไทยอยู่
ระดับค่อนข้างตา่ ดงั เช่นผลการวิจยั ของ วณี า สงั ข์ทองจนี (2530) พบวา่ ความสามารถด้าน การอา่ น
ภาษาอังกฤษของนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ อยู่ในระดบั ตา่ และสอดคลอ้ งกับ ผลงานวิจยั ของ มณนิภา
ชตุ ิบุตร (2542) ได้ทาการศึกษาการเรียนร้จู ากการอ่านของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า การเรยี นรู้

2

จากการอ่านอยู่ในระดับปานกลาง ดว้ ยเหตุน้จี งึ มกี ารวจิ ัยด้านการอ่านภาษาอังกฤษอยา่ งตอ่ เน่ืองท่ีศึกษาโดย
มงุ่ พฒั นาการทักษะการอา่ นใหก้ บั นกั เรยี นไทย นอกจากนี้ McNamara (2009) กล่าวถึงปัญหาการสอนการ
อ่านสาหรบั ผู้เรยี นภาษาทสี่ องไวว้ ่า ผลของการอา่ นทีล่ ้มเหลวเป็นเพราะผู้เรียนขาดความรู้ด้านคาศัพท์และ
วธิ กี ารอา่ นท่เี หมาะสม ซง่ึ วธิ ีการสอนท่ีเหมาะสมสามารถช่วยผเู้ รียนเขา้ ใจในการอ่านได้ โดยเฉพาะการสอน
ในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ควรมกี ารแก้ไขปญั หาการสอนและหาแนวทางใหผ้ ้เู รยี นสรา้ งความเขา้ ใจในการ
อ่าน โดยสมทุ ร เซ็นเชาวนสิ (2542) มแี นวคิดวา่ การอ่านประโยคยาวๆ และสลับซบั ซอ้ นมักเป็นปญั หา
สาหรับผเู้ รยี นท่เี รยี นภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง เม่อื อ่านภาษาองั กฤษผเู้ รยี นมกั ไม่แนใ่ จ ในความหมาย
ปญั หาที่เกิดขนึ้ มักจะโยงในเรื่องของโครงสร้างประโยค คาศพั ท์ และเนอื้ หาทีเ่ กี่ยวพัน กับวัฒนธรรมและ
ประเพณที ่ผี ู้เรยี นไม่รู้

จากปัญหาดงั ทีก่ ล่าวมารว่ มกับสภาวะปัญหาการอ่านทีเ่ กิดข้ึนในปัจจบุ ัน จึงจาเป็นที่ งานวิจัยน้ี
ตอ้ งการพฒั นาทกั ษะการอา่ นของผูเ้ รียนให้มผี ลสัมฤทธ์ทิ ีด่ ีและมีประสิทธภิ าพมากข้นึ ดังนั้นงานวิจยั นี้จึง
พยายามคน้ หาวิธกี ารสอนและพฒั นาทกั ษะการอ่านภาษาอังกฤษเพอ่ื ความเข้าใจ ของผู้เรียนให้ดขี ้ึน จงึ ไดม้ ี
การศึกษาเอกสารเก่ียวกบั ทฤษฎีการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเขา้ ใจซ่ึงพบว่าผูส้ อนต้องเข้าใจกระบวนการ
และวิธีการสอนเพือ่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจในการอ่าน ซง่ึ เบ้ืองต้น ผูส้ อนตอ้ งมีการสรา้ งแรงจงู ใจ เพราะการสรา้ ง
แรงจูงใจจะชว่ ยใหน้ กั เรยี นท่เี ร่ิมเรยี นรกู้ ารอา่ นเกดิ ความสนใจ ผู้สอนควรให้ความสาคัญกับการสรา้ งแรงจูงใจ
หรอื เสริมแรงทางบวก โดยการกระตุ้น ผูเ้ รยี นดว้ ยรางวลั หรือการกลา่ วชม เพือ่ ดึงดดู ความสนใจให้ผู้เรียนเกิด
ความสนใจในการอา่ นมากขึน้ และกระบวนการอ่านเพื่อให้ผเู้ รยี นเกดิ ความเขา้ ใจง่ายขึน้ (Dornyei, 2001a)
นอกจากน้ีการสอนอา่ นระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ควรมีการสอนหลายวิธีเพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจในการอ่าน
ขึน้ อยู่กับวัตถปุ ระสงค์ ในการอ่านน้ันกลา่ วคือ กระบวนการอ่านในระดบั พ้นื ฐานไปสู่ระดับสูง (Bottom-up
Model) เป็นการอ่านท่ีเกดิ ความเขา้ ใจเกดิ ข้นึ โดยผู้อ่านเข้าใจความหมายเปน็ คาๆ หรอื แตล่ ะตัวอักษรท่ี อยู่
ในบทอ่าน และผ้อู า่ นนาคาแตล่ ะคามารวมเข้าดว้ ยกันเพื่อใหเ้ กดิ ความหมายในประโยคน้ัน เป็นการสรา้ ง
ความหมายจากหนว่ ยย่อยไปสหู่ นว่ ยใหญ่เพื่อให้เกิดความเขา้ ใจในเน้ือหามากขนึ้ และ สามารถหารายละเอยี ด
ของการอา่ นได้ง่ายขน้ึ และการสอนอ่านโดยกระบวนการอ่านในระดบั สูงไปสู่ พ้ืนฐาน (Top-down Model)
เปน็ การอ่านท่ีผู้อ่านเข้าใจเน้ือหาในบทอา่ นโดยอาศัยความรู้พนื้ ฐาน หรอื ประสบการณ์จากการอ่านมาแล้วนั้น
ซ่ึงผู้อ่านทาความเข้าในระดบั ประโยคแบบกวา้ งๆ ก่อนจะ ทาความเขา้ ใจในแตล่ ะคาของประโยคเพ่อื ใหไ้ ด้
รายละเอียด และเปน็ การปฏสิ ัมพนั ธข์ องผู้อา่ นและ บทอ่าน โดยผอู้ ่านผสมผสานระหว่างความรหู้ รือ
ประสบการณ์เดมิ ซึ่งแนวทางการสอนซ่ึงเป็นสว่ น สาคญั ท่ีผสู้ อนควรเขา้ ใจและนาการสอนทเี่ หมาะสมมาใช้
จัดเตรยี มการเรียนการสอน

ในงานวิจยั นไ้ี ด้เลง็ เห็นความสาคัญในการนาแผนผงั มโนทศั นม์ าใชใ้ นการสอนอา่ นเพื่อความเข้าใจ
เพราะว่าผูเ้ รียนจะได้สามารถเรียนร้แู บบ Bottom up โดยการนาคาศัพทท์ ีใ่ นจากการอ่านมาเติมใน ช่องว่างของ
แผนผังมโนทัศน์ และผู้เรียนเชอ่ื มโยงเนอื้ หาจากแผนผังมโนทศั นแ์ ละเขียนเปน็ ประโยค ได้ตามแบบการเรยี นรู้
Top down ดังทน่ี ักการศกึ ษาหลายท่านได้กล่าวถึงการเรยี นรู้ไดใ้ ช้แผนผัง มโนทศั น์ (Concept mapping) ไว้
อยา่ งหลากหลาย เชน่ สุวิทย์ มลู คา (2547)กล่าววา่ ผงั มโนทศั น์ คือ ความคิดความเข้าใจท่ีไดร้ ับมาจากการ
สงั เกต หรือประสบการณ์เกี่ยวกบั เรือ่ งใดเรื่องหนึ่ง นามาจัด ประเภทของขอ้ มูลหรือเหตกุ ารณ์ท่ีเหมือนหรือ
แตกตา่ งกันไว้ในกลุ่มหรือประเภทเดียวกนั โดยอาศัย เป็นตัวกระตนุ้ ให้ผูเ้ รียนมีการสะท้อนส่ิงที่ได้เรยี นรู้มาซึง่ มี
พนื้ ฐานความคิดความเขา้ ใจท่ีไดร้ ับมาจาก การสงั เกต หรอื ประสบการณ์เกย่ี วกับเรอื่ งใดเรอื่ งหนึ่ง นามาจัด
ประเภทของข้อมลู หรือเหตุการณ์ ทเ่ี หมือนหรอื แตกต่างกันไว้ในกลุ่มหรือประเภทเดียวกันโดยอาศัยคุณลกั ษณะ
รว่ มกนั เป็นเกณฑ์ โดยองคป์ ระกอบของแผนผงั มโนทัศนม์ ี 3 องคป์ ระกอบ คือ มโนทศั น์หลัก มโนทศั น์รอง มโน

3

ทัศนย์ อ่ ย โดยเช่ือมโยงมโนทัศนท์ ่ีมีความสัมพันธ์กนั ดว้ ยเส้น แสดงแนวคิดใหญ่และย่อยเข้าดว้ ยกนั ในลักษณะ
ของเส้น ภาพ กรอบหรือกลอ่ งแสดง ความสมั พันธข์ องข้อความโดยใชเ้ ส้นสายและคาเชือ่ มโยงแนวคิด ดว้ ยเหตุน้ี
จงึ เหน็ ไดว้ ่าการสอนอา่ น เพื่อความเขา้ ใจมีเทคนิคการสอนท่ีหลากหลายและสามารถทาใหก้ ารอ่านของผู้เรยี น
เกิดผลดีมาก ย่ิงข้ึน งานวิจยั จงึ มแี นวคิดท่จี ะใช้วิธกี ารสอนอา่ นโดยการใชแ้ ผนผงั มโนทศั นเ์ ปน็ เครื่องมือชว่ ยใน
การ พัฒนาทักษะการอา่ นภาษาองั กฤษเพราะแผนผงั มโนทัศนส์ ามารถชว่ ยให้ผู้เรยี นมีความรู้ในการอ่าน ท่ีดขี นึ้
และมที ักษะกระบวนการคิดอย่างมรี ะบบในการอ่านและสามารถเขา้ ใจเนื้อหาการอา่ นได้งา่ ย ขึ้นรวมถึงการเข้าใจ
รายละเอียดต่าง ๆ ในเรื่องและสามารถสรปุ เขา้ ใจเร่ืองที่อ่านไดด้ ีข้นึ

นอกจากน้เี พื่อใหก้ ารสอนการอ่านของผเู้ รยี นประสบความสาเร็จมากขึน้ ผู้วจิ ัยจงึ นารปู แบบการสอน
ทน่ี ักเรียนจะได้ฝกึ อ่านเพ่อื พัฒนาคาศัพท์ ทักษะการคดิ หา การคน้ พบคาตอบดว้ ยตนเอง เรยี กวา่ MACRO
Model โดยการใช้แผนผงั มโนทัศนร์ ่วมกบั การจดั การเรียนการสอนแบบ เพื่อชว่ ยพฒั นาผู้เรียนท้ังดา้ นทักษะ
การอ่านภาษาองั กฤษ ให้ดีข้นึ

1.2 วัตถปุ ระสงคใ์ นการวจิ ัย
1. เพอ่ื เปรียบเทยี บทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพือ่ ความเข้าใจของนกั เรียนก่อนและหลงั การใช้แผนผัง
มโนทัศน์เพ่ือส่งเสรมิ การอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจร่วมกบั การจดั การเรยี นการสอนแบบ MACRO Model
สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
2. เพ่ือศึกษาความคิดเหน็ ของนักเรียนที่มีต่อการจดั การเรียนรู้โดยการใช้แผนผงั มโนทศั น์เพอ่ื สง่ เสริม
การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจร่วมกับการจัดการเรยี นการสอนแบบ MACRO Model สาหรับนักเรียนชน้ั
มธั ยมศึกษาปที ี่ 3

1.3 คาถามการวจิ ยั
1. ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 หลงั การใชแ้ ผนผงั
มโนทศั นเ์ พื่อส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจร่วมกบั การจดั การเรียนการสอนแบบ MACRO Model
สาหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 สงู ขน้ึ กวา่ กอ่ นเรียนหรอื ไม่
2. นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกาแพงวิทยา มีความคดิ เหน็ ต่อการใช้แผนผังมโนทัศน์ร่วมกบั
การจดั การเรยี นการสอนแบบ MACRO Model เพือ่ ส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพอื่ ความเขา้ ใจอย่างไร

1.4 สมมติฐานในการวิจยั
1. 1. ทกั ษะการอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 หลังการใช้
แผนผงั มโนทัศนเ์ พ่ือสง่ เสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเขา้ ใจร่วมกับการจดั การเรยี นการสอนแบบ
MACRO Model สาหรับนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 สงู กวา่ กอ่ นเรยี น
2. นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนกาแพงวิทยา มีความคดิ เห็นต่อการใช้แผนผังมโนทัศน์
ร่วมกับการจดั การเรยี นการสอนแบบ MACRO Model เพอื่ สง่ เสรมิ การอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเขา้ ใจใน
ระดบั เหน็ ด้วยมากถงึ มากทีส่ ุด

4

1.5 ขอบเขตของการวิจยั
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง

ประชากร ได้แก่ นกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นกาแพงวทิ ยา จานวน 8 ห้อง
รวมท้งั ส้ิน 312 คน ที่กาลังศึกษาอย่ใู นภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 กลมุ่ ตวั อยา่ ง ได้แก่ นักเรยี นที่กาลัง
ศึกษาอยชู่ ัน้ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกาแพงวิทยา จานวน 1 หอ้ งเรียน จานวน 38 คน ไดม้ าโดยวธิ กี าร
ส่มุ อยา่ งง่าย (Simple random sampling)

2. ตวั แปรท่ีศึกษา
ตวั แปรตน้ คอื การเรียนรู้โดยการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept mapping) ร่วมกบั

การจดั การเรยี นการสอนแบบ MACRO Model
ตัวแปรตาม ได้แก่
1. ทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน
2. ความคิดเห็นของนกั เรยี นท่ีมีต่อการใช้แผนผงั มโนทัศนเ์ พ่ือส่งเสริมการอ่าน

ภาษาองั กฤษเพื่อความเขา้ ใจร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model
3. เนอ้ื หาในการวิจยั
เน้ือหาทใ่ี ชใ้ นการสอนอ่าน งานวจิ ัยนไ้ี ด้คัดเลือกบทอ่านโดยการเลือกตามกรอบเนื้อหาการอ่านระดับช้นั
มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลกั สตู รสถานศกึ ษา
โรงเรียนกาแพงวทิ ยา มี ท้งั หมด 5 กรอบเนื้อหา คือ สุขภาพและสวสั ดกิ าร ลมฟา้ อากาศ การศึกษาและอาชีพ
การเดนิ ทางท่องเทยี่ ว ภาษา และวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยนาเน้อื หาการอ่านมาจากเว็บไซต์ทาง
อนิ เตอรเ์ น็ตที่มเี น้ือหา ซงึ่ มีระดบั ความยากง่ายเหมาะกบั ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามกรอบการเรยี นรขู้ อง
สหภาพยุโรป (CEFR) เพ่ือนามาจัดเตรียมแผนการเรียนรูก้ ารอ่านโดยการใชแ้ ผนผงั มโนทัศน์
4. ระยะเวลาการวิจัย
ระยะเวลาในการทดลองครง้ั นี้ใชเ้ วลารวม 6 ชั่วโมง โดยแบง่ เปน็ การทดสอบก่อนเรยี น 1 ช่ัวโมง
ทดสอบหลังเรยี น 1 ชัว่ โมงและดาเนนิ การทดลอง 4 ช่ัวโมง

1.6 นิยามศพั ท์เฉพาะ
1. การจดั การเรียนรโู้ ดยการใช้แผนผังมโนทัศน์หมายถึง กระบวนการสอนอ่าน ภาษาองั กฤษทีส่ รา้ ง
ขึ้นเพื่อพฒั นาทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษเพื่อความเขา้ ใจที่เน้นกจิ กรรมในการ สอนโดยใชแ้ ผนผงั มโนทศั น์
ซ่งึ มขี ้นั ตอนกจิ กรรมการสอนอา่ นประกอบด้วย ขนั้ ตอนที่ 1 ข้ันก่อนการ อา่ น กระตุ้นการอา่ นโดยใชค้ าถาม
นาและแนะนารปู แบบโครงสร้างของแผนผังมโนทศั น์ ขั้นตอนท่ี 2 ขน้ั การอ่านเร่ือง หาความหมายและ
เชื่อมโยงความคิดและเขยี นลงข้อมูลในแผนผังมโนทัศน์ ขน้ั ตอนท่ี 3 ขัน้ ประเมินการอ่านโดยการตอบคาถาม
และบอกใจความสาคญั จากการอา่ นและร่วมกนั สรปุ ความ เรื่องที่อ่าน เช่น ชอ่ื เรื่อง ตัวละคร เหตุการณ์ ลาดบั
เรอื่ ง เป็นตน้
2. แผนผังมโนทศั น(์ Concept mapping) หมายถึง เทคนิคการสอนอา่ นภาษาองั กฤษ เพื่อความ
เข้าใจโดยการนาแผนผังมโนทัศนใ์ นรปู แบบใยแมงมมุ (Spider Concept Map) และแบบ ชว่ งช้นั ความคิด
(Hierarchy Concept Map) มาใช้ในข้ันตอนการสอนอ่านเพ่อื เป็นแนวทางความคิด ให้กับผู้เรียนในการอา่ น
เร่ืองราวในบทอ่าน เชน่ เพอ่ื จาแนกหวั ขอ้ เรือ่ ง รายละเอยี ดเน้อื หาการอ่าน ลาดบั เรอื่ ง ตัวละคร สรปุ เรอ่ื ง

5

และรวบรวมขอ้ มลู การอา่ นลงในแผนผังมโนทศั น์ โดยการจัดเรยี ง แนวความคิดทัง้ หนว่ ยใหญแ่ ละหนว่ ยยอ่ ย
เข้าดว้ ยกนั โดยอาศัยความเขา้ ใจที่ได้จากการอา่ นคา ประโยค การคาดเดา การสังเกตและอาศัยประสบการณ์
เดิมรว่ มดว้ ย

3. ทกั ษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจ หมายถึง ความสามารถในการเขา้ ใจ ความหมายของ
คาศัพท์ และการเชื่อมโยงจากระดับคาเปน็ ระดับประโยคผ่านกระบวนการเขียน แผนผังมโนทศั น์ และอาศัย
ความรูเ้ ดมิ เช่อื มโยงกบั ความรู้ใหม่ ตลอดจนการจับใจความสาคัญจาก การอ่าน โดยผเู้ รยี นใช้ทักษะความ
เข้าใจเร่อื งจากการคาดเดาความหมายจากบริบท การแปล รวมท้งั ทักษะการอ่านเพื่อหารายละเอยี ดหลัก
และรายละเอยี ดย่อย ซงึ่ ผู้อา่ นสามารถตอบคาถามว่าเปน็ เรือ่ ง เกยี่ วกบั อะไรหรอื ผูเ้ ขยี นมีจุดประสงค์อะไร
และเนือ้ เร่ืองโดยสรุปแลว้ เป็นอย่างไร โดยวัดไดจ้ าก คะแนนการอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจทผี่ ู้เรยี นทา
แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านหลัง การเรียนรโู้ ดยการใชแ้ ผนผงั มโนทัศน์

4. รูปแบบการจัดการเรยี นรู้ MACRO model หมายถงึ รูปแบบการสอนทีป่ ระกอบดว้ ยการสร้าง
แรงจงู ใจ แรงบันดาลใจ ความสนใจและความต้องการในการเรยี นรู้ (Motivation) การเรยี นร้ทู ีผ่ เู้ รยี นได้มี
โอกาสได้ความรูโ้ ดยตรงจากการลงมือกระท้าด้วยตนเอง ด้วยวิธีการเรยี นรู้ที่หลากหลายจากแหลง่ เรียนรูต้ า่ งๆที่
หลากหลายเป็นการเรยี นรู้ท่ีเน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ (Active learning) ผู้เรียนสรปุ องคค์ วามรหู้ รอื สงั เคราะห์ส่งิ ที่
ได้เรยี นรู้ตามความคดิ และภาษาของตนเอง (Conclusion) ผเู้ รียนสอ่ื สารและนาเสนอผลการเรยี นร้ดู ว้ ยภาษา
วิธีการและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม (Reporting) ผเู้ รียนนาผลการเรยี นร้ทู ไ่ี ด้รบั ไปใช้ประโยชน์
เผยแพร่ความรู้ส่คู รอบครวั ชมุ ชน และสงั คม ดว้ ยวิธกี าร สือ่ หรอื เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม (Obtain)

5. ความคดิ เห็น หมายถึง การแสดงออกทางความรสู้ ึกนึกคิดของนักเรยี นท่ีมีตอ่ การสอน ทกั ษะการ
อ่านภาษาองั กฤษเพอื่ ความเข้าใจโดยการใชผ้ ังมโนทัศนว์ ัดไดจ้ ากแบบสอบถามความ คิดเห็น โดยแบง่ เปน็ 4
ด้าน คอื ดา้ นรูปแบบเนอ้ื หา ด้านเน้อื หาการอ่าน ด้านกจิ กรรมการสอนอา่ น และดา้ นคุณประโยชน์ท่ีได้รับ

6. นักเรยี น หมายถึง ผทู้ ีก่ าลังศกึ ษาในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ที่เรยี นรายวชิ าภาษาองั กฤษ
พ้ืนฐาน จานวน 30 คน โรงเรยี นกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู จังหวัดสตลู

1.7 ประโยชนท์ ่ีได้รบั จากการวจิ ยั
1. การจัดการเรียนรเู้ พื่อการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเขา้ ใจโดยการใช้แผนผงั มโน
ทัศน์รว่ มกับการจดั การเรยี นรู้ MACRO model เป็นอีกแนวทางหนง่ึ ในการพัฒนาทักษะการอา่ นของผูเ้ รียน
2. ผ้สู อนสามารถการจดั กจิ กรรมการสอนอา่ นภาษาอังกฤษโดยการใช้แผนผงั มโนทศั น์ได้ อย่าง
เหมาะสมและนาไปสกู่ ิจกรรมการสอนแนวทางการสอนใหม่ๆ อย่างหลากหลาย
3. ผู้เรยี นสามารถนาแผนผงั มโนทัศน์ไปประยุกต์ใชใ้ นการอ่านหนังสือเชิงวชิ าการ ภาษาอังกฤษ
สามารถสรปุ เรื่อง และจบั ใจความสาคญั ของเร่ืองได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
4. ผเู้ รยี นเกิดความสนใจในการเรียนและเกดิ ความเพลิดเพลินในการทากจิ กรรมการอา่ น โดยใช้
แผนผังมโนทศั น์การจดั การเรียนรู้ MACRO model

6

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การวจิ ยั เรอ่ื งการใชแ้ ผนผังมโนทศั น์เพื่อส่งเสรมิ การอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเขา้ ใจร่วมกบั การจัดการ
เรยี นการสอนแบบ MACRO Model สาหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 เป็นการศึกษาเพอ่ื เปรยี บเทยี บผล
การอ่านภาษาอังกฤษของนักเรยี นกอ่ นและหลงั การเรียนรู้โดยใช้แผนผังมโนทัศน์เพือ่ ส่งเสริมการอ่าน
ภาษาองั กฤษเพื่อความเข้าใจรว่ มกับการจัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model เพอื่ ศกึ ษาความคิดเห็นของ
นักเรยี นตอ่ การใชแ้ ผนผังมโนทัศนเ์ พื่อสง่ เสริมการอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจร่วมกับการจดั การเรียนการ
สอนแบบ MACRO Model โดยไดม้ ีการศึกษาเอกสารแนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกยี่ วข้อง เพ่ือใช้เป็น
แนวทางในการดาเนินการวจิ ัย ดังตอ่ ไปนี้

2.1 การอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจ
2.2 การสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจ
2.3 แผนผังมโนทศั น์ (Concept Mapping)
2.4 รูปแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบ MACRO Model
2.5 งานวิจัยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

2.1 การอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ
การอา่ นนบั ว่าเปน็ ทกั ษะการรับสารท่สี าคญั อีกหนึง่ ทักษะ การอ่านเป็นทกั ษะที่เชอ่ื มโยง ไปสูท่ กั ษะ
อืน่ ๆทัง้ การพูด และเขียน ซึ่งการอ่านเพื่อความเขา้ ใจนาไปสู่การเข้าใจความหมายของ ตัวอกั ษรและสามารถ
สอ่ื สารได้อยา่ งถูกต้อง
2.1.1 ความหมายการอ่านเพอื่ ความเขา้ ใจ
กรอบแนวคิดความหมายของการอ่านเพ่ือความเขา้ ใจมีการนิยามไว้อย่างหลากหลาย โดยมีมมุ มองท่ี
นา่ สนใจหลายประเดน็ ดังต่อไปน้ี
ความหมายการอ่านจากการตีความ Goodman (1982) และ Read (2007) ใหค้ วามหมายไว้คือ เป็น
การอา่ นเนน้ กระบวนการท่ซี ับซอ้ นซ่งึ ผู้อา่ นต้องพยายามสร้างความหมาย จากตวั อกั ษร โดยการอ่านเป็น
กระบวนการคดิ ท่ผี ู้อา่ นต้องอาศัยสง่ิ ตา่ งๆที่ปรากฏในข้อความเป็นเคร่ืองช่วยในการเลือกความหมายที่เหมาะสม
ทใี่ หก้ บั ข้อความ และทักษะการอ่านเกย่ี วข้องกบั ความสามารถในการสรา้ งความหมายในเน้ือหาจงึ ต้องใชร้ ะดับ
ความรูแ้ ละทักษะที่ซบั ซอ้ น ซึ่งการสรา้ ง ความเขา้ ใจความหมายทซ่ี บั ซ้อนของประโยคมี 2 ลักษณะ คือ การสรา้ ง
ความหมายเชงิ กระบวนการ ตีความจากตวั อักษร และการสรา้ งความหมายจากโครงสรา้ งไวยากรณ์ในเรอ่ื งที่อ่าน
นอกจากน้ี พรสวรรค์ สีปอ้ (2550) กลา่ ววา่ การอา่ นเป็นกระบวนการเข้าใจความหมายภาษา การแปล
ความหมาย และการใช้วิจารณญาณในการตดั สินประเมินคา่ จากน้นั จึงสร้างความสัมพันธร์ ะหว่างคา และ
ความหมาย ซึ่งเปน็ สิ่งทย่ี ุง่ ยากซบั ซ้อน จึงต้องทาความเขา้ ใจและตคี วามข้อความเร่ืองท่ีอา่ นและ เชอื่ มโยงความรู้
และประสบการณเ์ ดิมเพ่ือสรา้ งความหมายในการอา่ น ความหมายการอ่านจากกระบวนการทางสติปัญญาและ
กระบวนการทางจิตวิทยา กล่าวคือ Harris and Sipay (1979) และ Smith (1988) มีแนวคดิ ทีค่ ล้ายกนั คอื การ
อา่ นเป็น กระบวนการทางสติปญั ญา คอื ผู้อ่านมีความสามารถในการอา่ น วิธีการและทกั ษะต่างๆ ในการจดจา
คาศัพทก์ ลุ่มคา และรู้ความหมายของคาศพั ท์น้ันๆ ตลอดจนการเรยี นร้ใู นการสรุปอา้ งองิ (inference) การ

7

ตีความ (interpretation) จนสามารถให้ความหมายและส่ือสารในสง่ิ ที่อ่าน และ กระบวนการทางจติ วิทยา คือ
ความรสู้ กึ ได้ แนวความคดิ พฤติกรรม แรงจงู ใจ ความตั้งใจ อารมณ์ การรบั ร้เู ช่ือมโยงกับประสบการณ์เดมิ
เพ่อื ใหเ้ กิดเข้าใจในเร่ืองท่ีอ่านได้อยา่ งแท้จริง ดังนัน้ การอ่าน จงึ เป็นกระบวนการท่ผี ู้อา่ นพยายามทาความเข้าใจ
ความหมายเร่ืองท่ีอ่าน

จากท่กี ลา่ วมาข้างต้นงานวจิ ัยน้ีสรุปไดว้ ่า การอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ คือ การสรา้ งความ
เข้าใจในประโยคที่ซับซอ้ นโดยการตคี วาม การแปลความหมายในเรื่องท่ีอา่ นโดยอาศัย ประสบการณเ์ ดมิ
และกระบวนทางสตปิ ัญญาการเรยี นรู้ กระบวนทางการคิด แรงจงู ใจทาให้เกดิ ความ เข้าใจข้อความทอ่ี า่ น
ดงั นน้ั การอา่ นเพ่ือความเข้าใจในงานวจิ ัยนี้ หมายถงึ การเขา้ ใจความหมายของ คาศัพท์ และการเชอื่ มโยง
จากระดบั คาเปน็ ระดบั ประโยคผ่านกระบวนการเขยี นแผนผังมโนทัศนแ์ ละอาศยั ความรเู้ ดมิ เช่อื มโยงกบั
ความรู้ใหม่

2.1.2 ความสาคัญของการอ่านเพอ่ื ความเขา้ ใจ

การอา่ นเป็นทกั ษะทสี่ าคัญและมีความจาเปน็ ในปจั จบุ ันไม่ว่าจะเปน็ การอ่านปา้ ย โฆษณา อา่ นข่าว
อา่ นนติ ยสารรวมไปถึงการอ่านหนังสือเรยี นซ่ึงจาเปน็ ท่ีสดุ ท่ผี ู้อา่ นต้องเขา้ ใจและ หาใจความสาคัญจากเรอ่ื งท่ี
อา่ น ซ่ึงมีนักการวิชาการหลายทา่ นให้ข้อคดิ ความสาคญั ดา้ นการอ่านเพ่ือ ความเข้าใจ ซงึ่ แยกออกเป็น
ประเด็นได้ดงั นี้

การอา่ นมคี วามสาคญั ในชีวิตประจาวนั Smith (1994) กลา่ วว่า การอา่ นเปน็ ส่งิ ท่ี จาเปน็ สาหรับ
มนุษยซ์ ึ่งเกิดขึน้ เปน็ ประจาในการดาเนนิ ชวี ิต เช่น การอา่ นจากโทรทัศน์ สัญลักษณ์ บนถนน อีเมล ฉลากยา
โภชนาการอาหาร ป้ายโฆษณา แบบฟอร์มต่างๆ และหนงั สืออ่านท่วั ๆ ไป การอา่ นจงึ เปน็ ทักษะทสี่ าคญั ท่ี
ผู้อา่ นต้องตีความหรือทาความหมายเขา้ ใจกับสื่อตา่ งๆ

การอา่ นงานวชิ าการ Harris and Sipay (1979) และ Smith (1994) กลา่ ววา่ การอ่านที่สาคญั อีก
ประเภทหน่งึ คือการอ่านงานทางวชิ าการ เพราะเป็นการอ่านเพื่อค้นควา้ ข้อมูล หารายละเอยี ด จบั ใจความ
สาคัญและวเิ คราะหข์ ้อมลู และสามารถส่ือความได้อย่างมีเหตผุ ล ซ่ึงแหล่งข้อมลู งานวิชาการ เช่น หนงั สือ
เรียน หนังสอื ราชการ รวมทั้งหลักสตู ร งานวิจยั เปน็ ต้น สง่ิ เหลา่ น้ีผ้อู า่ นจะต้องมีความรพู้ น้ื ฐานในการเป็น
อยา่ งดจี ะตอ้ งรคู้ วามหมายของคาศัพทแ์ ละประโยค ทซ่ี ับซ้อนรวมถึงการตคี วามได้ เพอ่ื หาความหมายในบท
อ่านได้อยา่ งถูกต้องและชัดเจน

จากการศึกษาความสาคัญการอา่ นเพื่อความเขา้ ใจสรปุ ไดว้ า่ การอา่ นมคี วามสาคัญในชีวติ ประจาวนั
เพราะการอ่านเกดิ ขึน้ ตลอดเวลาท้ังการอ่านส่อื ทวั่ ไปรวมถงึ การอา่ นหนงั สือเรียน และสาคัญกบั การอา่ นงานวิชา
เป็นสิ่งทส่ี าคัญสาหรับนกั การศกึ ษา ครู อาจารย์ นักวิชาการ ซงึ่ ผ้อู า่ น ตอ้ งมกี ารวเิ คราะห์และสังเคราะหข์ ้อมูล
เพือ่ ใหเ้ กิดความถูกต้องในเนื้อหาและแต่ละคนอาจจะมที ักษะ การอ่านท่แี ตกต่างกันไปขึน้ อยู่กบั ความร้พู ้นื ฐาน
หรอื ประสบการณ์รว่ มดว้ ยน่ันเอง

2.1.3 ประเภทของการอ่านเพอ่ื ความเขา้ ใจ

การอ่านนน้ั มีหลากหลายวิธขี ้ึนอยู่กับประเภทของการอ่านซึง่ การอ่านแตล่ ะประเภทสามารถเปน็
ตัวกาหนดจดุ ประสงค์ในการอ่านเพื่อใหเ้ กดิ ความหมายได้ซ่ึงมีนกั วชิ าการได้กล่าวถึงประเภทการอ่านซึ่ง
สามารถสรปุ เปน็ ประเดน็ ได้ดังนี้

ประเภทแรกเกี่ยวกบั การอ่านออกเสียง (Oral Reading) สถาบันภาษาอังกฤษ สานกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ (2558) และ นพเก้า ณ พัทลุง (2548) กล่าวถึงการ
อา่ นออกเสียงว่าเป็นการสอนภาษาอังกฤษแบบใหมส่ าหรบั นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสสู่ ากล ตอ้ ง
ฝกึ การอ่านเพ่ือฝกึ ความถูกต้อง (Accuracy) และความ คล่องแคลว่ (Fluency) ซง่ึ การฝึกใหผ้ ้เู รียนอ่านออก

8

เสยี งไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และคลอ่ งแคล่ว ควรฝกึ ฝน ไปตามลาดับขั้นและฝึกอยา่ งต่อเนื่องเพ่ือใหเ้ กดิ ความคุ้นเคย
ในการออกเสียง

ประเภทท่สี องเก่ียวกบั การอ่านเพื่อสารวจ (Survey Reading) กรมวิชาการ (2546) Grellet (1981)
และ Nuttall (2005) กลา่ วว่า เปน็ การอ่านเพ่ือหารายละเอียดของเร่ืองท่ีอ่าน เช่น ชือ่ เรอ่ื ง สารบัญ จานวน
หน้าทอี่ า่ น ไม่ได้ลงลึกถึงเนื้อหาที่

ประเภทที่สามการอ่านเพื่อจบั ใจความ (Skimming) Harmer (2007) Nuttall (2005) และ สถาบัน
ภาษาองั กฤษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (2558) กล่าววา่ เปน็ การ
อ่านเพื่อหารายละเอยี ดของเรื่องที่อา่ นและหาจบั ใจความสาคญั ของเรอื่ งท่ีอา่ นว่าเป็นเรอื่ งเก่ยี วกบั อะไร
ประเภทใด และมีลักษณะอย่างไร และเน้ือหาโดยรวมของเรอื่ งเปน็ อย่างไร

ประเภททสี่ ี่การอ่านเพื่อหารายละเอียด (Scanning) Harmer (2007) และ Nuttall (2005) กลา่ ว
วา่ เปน็ การอา่ นเพือ่ ใหไ้ ด้เรื่องราวและรายละเอยี ดในบางส่วนหรอื บางอย่างหรือการหา รายละเอียดเฉพาะ
ขอ้ มลู เฉพาะตามท่ีผอู้ ่านต้องการ เช่น หาขอ้ มูลเกี่ยวกบั ชอ่ื เวลา หรือวนั ที่ โดยไม่ จาเปน็ ต้องอ่านทกุ คาหรือ
ทุกบรรทัด จะเป็นข้อมูลท่ีปรากฏใหผ้ ้อู า่ นเห็นได้อยา่ งชดั เจนในบทอ่าน

จากการศึกษาประเภทของการอา่ นสรปุ ได้ว่าประเภทของการอ่านมีความแตกต่างกันตามวัตถปุ ระสงค์
ของแต่ละคน เช่น การอ่านเพือ่ ฝึกการอ่านเสยี งให้ถกู ต้อง การอ่านเพื่อหา ความหมายจากเร่ืองหรอื หา
ความสาคญั ของเรื่อง อา่ นหารายละเอียด ทั้งนี้ข้นึ อยู่กบั ความต้องการของ ผู้อ่านหรือขึน้ อยู่กบั ลกั ษณะของสื่อ
ท่อี า่ นเป็นหลัก ดงั น้ันแล้วในการเรยี นการสอนในงานวิจยั นี้ เน้นการอา่ นประเภทการอ่านแบบจับใจความ
สาคัญและหารายละเอียดเฉพาะของเรื่องที่อา่ นได้

2.1.4 ทกั ษะย่อยการอา่ นเพ่ือความเข้าใจระดับมธั ยมศึกษา

การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจอกี หนึ่งทักษะท่ีสาคัญในการรบั สาร ซ่งึ ผเู้ รยี นควรมคี วามเข้าใจ
ในขน้ั ตอนและวธิ กี ารอ่านเพื่อให้เกดิ ความเข้าใจในเนื้อหาทั้งรายละเอยี ด ทั่วไปและรายละเอียดแบบเจาะจง
ดังน้ันผู้สอนควรมีวิธกี ารสอนให้ผู้สอนเกดิ ความเข้าใจในทกั ษะตา่ งๆเพ่ือให้การอ่านเพ่ือความเข้าใจเกิด
ประสทิ ธิภาพมากขึ้น จึงมีการกลา่ วถึงทกั ษะย่อยในการอ่าน เพอื่ ให้เกิดความเขา้ ใจไวด้ ังน้ี

การเขา้ ใจความหมายจากบริบท (context) เป็นกระบวนการท่ีผู้อ่านสามารถหา ความหมายของคาา
ศพั ท์ทเี่ หมาะสมโดยการเดาคาาศัพทจ์ ากบรบิ ท Harmer (2007) และ Nunan (2004) กล่าวว่า การเข้าใจ
ความหมายจากบรบิ ทต้องอาศยั คานาม คากรยิ า จากเร่ือง ดงั น้ันผู้อ่าน จาเปน็ ตอ้ งใช้กระบวนการอ่านและคิด
เพอ่ื หาความหมายคาศัพท์ยากน้นั ให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ น้นั ๆ โดยผูอ้ า่ นควรมีการจาบนั ทกึ คาศัพท์ที่ไม่
คนุ้ เคยและหาความหมายได้ Nuttall (2005) ใหแ้ นวคิดคลอ้ งกนั คอื เปน็ การทาความเข้าใจความหมายของ
คาศัพท์โดยวิเคราะหร์ ูปคาโดยการใช้บรบิ ท หรอื การใช้พจนานุกรม การแปลความหมาย (Interpretation)
เปน็ การตีความหมายของอกั ษร นพเกา้ ณ พัทลงุ (2548) Boning (1995) และ Harmer (2007) กล่าวคือ
การตีความของเน้ือหาทาให้ สามารถเข้าใจและจบั ใจความสาคัญจากเร่ืองท่ีอา่ นไดซ้ ึ่ง Nuttall (2005) ให้
ความเหน็ คล้องกันว่า ทักษะการอ่านเพ่ือเขา้ ใจในเนือ้ หาหรือข้อความท่ีอา่ น เช่น การตีความ การแปลความ
โครงสร้าง ความสัมพนั ธ์ทางไวยากรณโ์ ดยอาศยั ตวั ชแ้ี นะต่าง ๆ ตลอดจนโครงสรา้ งทผ่ี ูเ้ ขยี นเขียนไว้

การจับใจความรวมๆ (gist) ของเร่ืองที่อา่ น คือการอ่านและสามารถในการ จบั ใจความในภาพรวม
โดยไมเ่ จาะจงเนือ้ หา ซ่ึง Boning (1995) และ Harmer (2007) กลา่ วว่า เป็นการอา่ นเพ่ือตอบคาถามวา่ เปน็
เรื่องเก่ยี วกับอะไรหรือผ้เู ขียนมีจุดประสงค์อะไร และเนอื้ เรื่อง โดยสรุปแลว้ เป็นอยา่ งไรซ่ึง Grellet (1981)
สนับสนุนคอื การทผ่ี ูอ้ า่ นเข้าใจใจความสาคญั ของเรื่อง จากรายละเอียดท่สี นับสนนุ ในเรื่องเป็นทักษะการอ่าน
เร่อื งแบบครา่ ว ๆ ไม่เจาะจงเน้ือหา

9

การหาใจความหลักหรือใจความสาคัญ (main idea) คอื ทักษะการอา่ นเรื่องโดย หาแก่นหรือ
เนื้อความท่เี ป็นสว่ นทเ่ี ด่นทีส่ ุดหรอื ท่สี ามารถครอบคลมุ เนื้อเร่อื งในประโยคอนื่ ๆ ท้งั หมด ซง่ึ Boning (1995)
Grellet (1981) Harmer (2007) และ Nuttall (2005) กล่าวว่า การอา่ นเพือ่ หา ใจความสาคญั เป็นทักษะ
การตีความเรื่องตลอดจนความสามารถในการถ่ายทอดเรือ่ งออกไปได้และยงั เปน็ การอา่ นเพอื่ หาขอ้ มูล
เฉพาะเจาะจง และทักษะการใช้ขอ้ มลู ประกอบ เช่น การอ้างองิ ภาพ แผนภูมิ กราฟ เป็นต้น

การเช่อื มโยงประสบการณ์และมโนทัศน์ (Connection of experience and concepts) กบั
ตัวอักษรทป่ี รากฏ Boning (1995) Harmer (2001) และ Nunan (2004) กล่าววา่ ประสบการณเ์ ดมิ เป็นพืน้
ฐานความร้ทู ี่ทาให้ผู้อ่านสามารถเชอื่ มโยงเนอ้ื หาไดง้ ่ายข้ึน ทาใหผ้ ้อู า่ น สามารถเข้าใจตวั อักษรไดง้ า่ ยกวา่ ผูท้ ่ี
ไมม่ ีความร้พู ื้นฐานมาก่อน และมโนทัศน์ คือ การทผ่ี เู้ รียนมี กระบวนการคดิ จากเน้ือหาท่ีอา่ นและสามารถ
ถา่ ยทอดกระบวนการเรียนรจู้ ากการอ่านไดท้ ้ังการพดู และการเขียน เช่น การแสดงความคดิ รวบยอดโดยการ
สร้างแผนผังมโนทศั น์ เป็นตน้ ซึง่ การเชือ่ มโยง ความคดิ เป็นการเรียนรทู้ ผ่ี ู้เรยี นสามารถเรียนรไู้ ดด้ ้วยตัวเอง
และสามารถเขา้ ใจเน้ือหาได้จาก กระบวนการคิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ การสรุปอา้ งอิงจากข้อความที่อ่าน
(inference) คือการเขยี นสรุปเรอ่ื งจากการอา่ น Boning (1995) Guszak (1978) Harmer (2001) และ
Nunan (2004) กล่าวว่า ผเู้ รยี นสามารถอ่าน เร่ืองแลว้ สรุปประเด็นสาคัญของเรอ่ื งท่ีอ่านที่โดยการเชอ่ื มโยง
รายละเอยี ดหลักกับรายละเอียดยอ่ ยได้ และสามารถลาดับเหตุการณเ์ ร่ืองได้

การเข้าใจโครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องภาษา (function) เปน็ ความเขา้ ใจในหนา้ ที่ หรือโครงสร้าง
ประโยคในเรื่องที่อ่าน Boning (1995) และ Harmer (2001) กลา่ ววา่ ผู้อา่ นต้องเขา้ ใจ โครงสร้างทางภาษา
เพือ่ ให้สามารถเข้าใจเนื้อหาได้มากขน้ึ เช่น หนา้ ท่ขี องคานาม คากรยิ า สรรพนาม คาคณุ ศัพท์และกรรมใน
ประโยค จากการศึกษาทักษะย่อยการอา่ นเพอ่ื ความเขา้ ใจสรปุ ได้ว่า การอา่ นเพ่ือให้เกดิ ความเข้าใจอย่างมี
ประสิทธิภาพต้องมที ักษะในการเข้าใจความหมายในบทอา่ น หรอื การจดคาศัพท์ท่ี ไมค่ นุ้ เคยเพื่อหา
ความหมาย รวมถงึ การเข้าใจหนา้ ท่ีของภาษากับบรบิ ทท่ใี ช้ ทาใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจ รายละเอียดในบทอ่านและ
สามารถเชือ่ มโยงความหมายของบทอ่านได้และสามารถจับใจความสาคัญ ของเร่ืองรวมถงึ ความสามารถใน
การวิเคราะห์และตีความเรอื่ งทอี่ ่านได้ซึ่งในงานวจิ ัยนี้เนน้ ศึกษา ทกั ษะยอ่ ย คือ การเข้าใจความหมายของคาา
ศพั ท์และเข้าใจโครงสรา้ งประโยคเพอ่ื สามารถนาไปเขียน สรปุ เนือ้ หาที่อ่านได้

2.1.5 หลักสตู รการอา่ นภาษาอังกฤษของกระทรวงศึกษาธกิ ารสาหรับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3
2.1.5.1 หลักสูตรภาษาองั กฤษตามหลักสูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พ.ศ. 2551

การจัดการเรียนการสอนในระดับมธั ยมศึกษามีความสาคัญสาหรบั ผเู้ รียน ดังนัน้ กระทรวงศกึ ษาธิการ
(2551) ได้มกี ารกาหนดเปา้ หมายการเรียนรู้เพ่ือให้การสอนเกดิ ประสิทธิภาพสาหรับผูเ้ รยี น
กระทรวงศกึ ษาธิการ (2551) ไดม้ กี ารกาหนดกรอบการสอนอ่านของ ผู้เรยี นในระดับมธั ยมศึกษาซ่งึ สามารถ
สรุปแยกเปน็ ประเดน็ สาคัญได้ 4 ประเดน็ ดงั น้ี เป้าหมายการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ไดก้ าหนดจุดมุ่งหมายไว้คือ มุ่งหวงั ให้ผเู้ รียนมเี จตคติที่ดตี ่อ
ภาษาตา่ งประเทศสามารถใช้ภาษาต่างประเทศ ส่อื สารในสถานการณ์ตา่ ง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบ อาชีพ
และศึกษาต่อในระดบั สงู ขน้ึ รวมทง้ั มคี วามรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวฒั นธรรมอัน หลากหลายของ
ประชาคมโลกและสามารถถา่ ยทอดความคิดและวฒั นธรรมไทยไปยังสังคมโลก ไดอ้ ย่างสร้างสรรค์
ประกอบด้วย4 สาระที่สาคญั และ 8 มาตรฐานการในการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ ดังน้ี

10

สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการส่อื สาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตคี วามเร่อื งท่ฟี ังและอ่านจากส่ือประเภทตา่ งๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมี

เหตผุ ล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทกั ษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลยี่ นข้อมูลข่าวสาร แสดงความรูส้ กึ และความ

คิดเหน็ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมลู ข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เห็นในเร่ืองตา่ งๆ โดยการพูด

และการเขยี น
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ ได้อยา่ ง

เหมาะสมกบั กาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เขา้ ใจความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา

กับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระท่ี 3 ภาษากับความสมั พันธก์ ับกลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่นื
มาตรฐาน ต 3.1 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเชอ่ื มโยงความรกู้ ับกลุม่ สาระการเรียนรู้อ่นื และเปน็ พืน้ ฐานใน

การพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน
สาระท่ี 4 ภาษากับความสมั พนั ธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใชภ้ าษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ท้ังในสถานศกึ ษา ชุมชน และสงั คม

มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาตา่ งประเทศเปน็ เครอ่ื งมอื พื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการ
แลกเปลยี่ นเรียนรกู้ บั สงั คมโลก

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และ

ตวั ชว้ี ัดในกล่มุ สาระภาษาตา่ งประเทศ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ดังนี้
สาระที่ 1 ภาษาเพ่ือการสือ่ สาร
มาตรฐาน ต 1.1 เขา้ ใจและตคี วามเรอื่ งทีฟ่ ังและอา่ นจากสื่อประเภทตา่ งๆ และแสดงความคิดเหน็ อย่างมีเหตผุ ล

ตวั ชวี้ ดั
1. ปฏิบัตติ ามคาขอร้อง คาแนะนา คาชแี้ จง และคาอธิบายท่ีฟงั และอา่ น
2. อ่านออกเสียงข้อความ ขา่ ว โฆษณา และบทร้อยกรองสั้น ๆ ถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่าน
3. ระบุและเขยี นสอ่ื ทไ่ี ม่ใช่ความเรยี งรูปแบบตา่ ง ๆ ใหส้ ัมพันธ์กับประโยค และข้อความทฟี่ งั

หรืออ่าน
4. เลอื ก/ระบุหวั ขอ้ เร่ือง ใจความสาคญั รายละเอยี ดสนบั สนุน และแสดงความคิดเห็น

เก่ยี วกับเรื่องท่ฟี ังและอา่ นจากสือ่ ประเภทต่าง ๆ พร้อมทง้ั ให้เหตุผลและยกตวั อย่าง
ประกอบ
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความ
คดิ เหน็ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ตวั ชีว้ ัด
1. สนทนาและเขียนโตต้ อบข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกลต้ ัว สถานการณ์ ขา่ ว เรื่อง
ที่อยู่ในความสนใจของสงั คม และส่อื สารอย่างต่อเน่ืองและเหมาะสม

11

2. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชแี้ จง และคาอธิบายอย่างเหมาะสม
3. พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความชว่ ยเหลือ ตอบรบั และปฏเิ สธการให้

ความชว่ ยเหลอื ในสถานการณ์ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม
4. พดู และเขยี นเพื่อขอและให้ข้อมูล อธิบาย เปรยี บเทียบ และแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับ

เร่ืองท่ีฟงั หรอื อา่ นอยา่ งเหมาะสม
5. พดู และเขยี นบรรยายความรู้สกึ และความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม

ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์ พร้อมทงั้ ใหเ้ หตผุ ลประกอบอย่างเหมาะสม
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอขอ้ มลู ขา่ วสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเหน็ ในเรอื่ งต่างๆ โดยการพูดและ

การเขียน
ตวั ชว้ี ดั
1. พดู และเขียนบรรยายเก่ียวกบั ตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตกุ ารณ์/เรื่อง/ประเดน็

ตา่ งๆ ทอี่ ยู่ในความสนใจของสังคม
2. พดู และเขยี นสรปุ ใจความสาคัญ/แกน่ สาระ หัวขอ้ เร่อื งท่ีได้จากการวิเคราะหเ์ รอื่ ง/ข่าว/

เหตุการณ/์ สถานการณ์ ทอ่ี ยใู่ นความสนใจของสงั คม
3. พูดและเขยี นแสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกับกจิ กรรม ประสบการณ์ และเหตกุ ารณ์ พร้อมทง้ั

ให้เหตผุ ลประกอบ
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหวา่ งภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่าง

เหมาะสมกับกาลเทศะ
ตวั ช้ีวดั
1. เลือกใช้ภาษา นา้ เสยี ง และกิริยาท่าทางเหมาะกบั บคุ คลและโอกาสตามมารยาทสงั คม

และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
2. อธิบายเก่ยี วกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนยี ม และประเพณขี องเจา้ ของภาษา
3. เข้ารว่ ม/จดั กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษากบั
ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
ตวั ช้ีวัด
1. เปรียบเทียบและอธบิ ายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสยี งประโยคชนิด

ตา่ ง ๆ และการลาดับคาตามโครงสรา้ งประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
2. เปรียบเทยี บและอธบิ ายความเหมือนและความแตกตา่ งระหว่างชีวติ ความเป็นอยู่และ

วฒั นธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม

สาระท่ี 3 ภาษากบั ความสัมพนั ธก์ บั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืน
มาตรฐาน ต 3.1 ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการเช่ือมโยงความรูก้ บั กลุ่มสาระการเรยี นรู้อน่ื และเป็นพ้นื ฐานใน

การพฒั นา แสวงหาความรู้ และเปดิ โลกทศั นข์ องตน
ตวั ชว้ี ัด
1. คน้ คว้า รวบรวม และสรปุ ข้อมูล/ขอ้ เท็จจรงิ ทเี่ ก่ยี วข้องกบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้อน่ื จาก

แหล่งเรยี นรู้ และนาเสนอด้วยการพดู และการเขยี น

12

สาระที่ 4 ภาษากับความสมั พนั ธ์กบั ชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทง้ั ในสถานศกึ ษา ชุมชน และสังคม

ตวั ช้วี ัด
1. ใช้ใชภ้ าษาสือ่ สารในสถานการณ์จริง/สถานการณจ์ าลองท่ีเกิดข้นึ ใน

หอ้ งเรยี น สถานศึกษา ชมุ ชน และสงั คม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาตา่ งประเทศเปน็ เครื่องมือพืน้ ฐานในการศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชพี และ

การแลกเปล่ียนเรยี นรกู้ บั สังคมโลก
ตัวช้วี ดั
2. ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ /คน้ คว้า รวบรวม และสรปุ ความร/ู้ ขอ้ มลู ต่าง ๆ จากสื่อ

และ แหล่งการเรยี นร้ตู ่าง ๆ ในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ
3. เผยแพร/่ ประชาสัมพนั ธข์ ้อมูล ขา่ วสารของโรงเรียน ชุมชน และทอ้ งถิ่นเปน็

ภาษาตา่ งประเทศ

กระทรวงศึกษาธกิ าร (2551) ไดก้ าหนดไว้ กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเข้าใจบทอา่ นหรือขอ้ ความทอี่ ่าน
ในหนงั สือและสื่อการเรียนรูอ้ ื่นๆและสามารถพฒั นาทักษะย่อยในการอ่านโดยนักเรยี นต้องสามารถ อา่ นออก
เสียงประโยค ขอ้ ความ นทิ าน และบทกลอนสั้น ๆ ไดอ้ ย่างถกู ต้องตามหลักการอ่าน และ นอกจากน้นี ักเรยี น
ตอ้ งสามารถตีความจากการเรยี นโดยการเลอื ก/ระบุประโยคและข้อความตรงตาม ความหมายของสัญลกั ษณ์
หรือเครื่องหมายท่ีอ่าน บอกใจความสาคัญได้ และนักเรียนสามารถตอบ คาถามจากการอ่าน และสามารถ
พัฒนาทักษะการอา่ นสู่ทกั ษะการพดู โดยการอา่ นและเลา่ หรือ พูดสื่อสารต่อไปยงั ผู้อนื่ ได้ นอกจากน้นี ักเรยี น
ตอ้ งสามารถอา่ นและถ่ายทอดสู่ทกั ษะการเขยี นแสดง ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเร่ืองต่างๆได้

กลยทุ ธใ์ นการอา่ นหรือกรอบความรใู้ นการอ่านภาษาอังกฤษในระดบั มัธยมศึกษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ (2551) กาหนดไว้คือ นักเรยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอ้ งสามารถ อา่ นและรู้ความหมาย
คาศัพทภ์ ายในวงคาศพั ทป์ ระมาณ 2,100 -2,250 คา (คาศัพทท์ ่ีเป็นนามธรรมมากขึน้ ) ในการกาหนดกรอบ
คาศัพท์เปน็ ไปตามเกณฑร์ ะดับความสามารถในการจาตามชว่ งวัยและสามารถ อ่านบทความสั้นๆ ได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

กรอบเน้ือหาสาระในการอ่านสาหรับระดบั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการ (2551)
กล่าวถึงสาระการอา่ นคอื ผเู้ รียนมีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พดู -อา่ น-เขยี น) สอ่ื สารตาม
หวั เรอื่ งเกี่ยวกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ส่ิงแวดล้อม อาหาร เครอ่ื งดม่ื เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพ
และสวสั ดกิ าร การซื้อ-ขาย ลมฟา้ อากาศ การศกึ ษาและอาชพี การเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี ว การบริการ สถานท่ี
ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการ (2551) เสนอกิจกรรมการสอนอา่ น
เพ่อื ให้นักเรยี นเกิดความเขา้ ใจในการอ่านมากขึน้ เช่น การจบั คู่ (Matching) คอื อา่ นแล้วจบั ค่คู าศัพท์ กบั
คาจากดั ความ หรอื จับคปู่ ระโยค เนอ้ื เรอ่ื งกับภาพ แผนภมู ิ การเรียง (Ordering) คอื อ่านแลว้ เรยี งภาพ
แผนภูมิ ตามเนอื้ เร่ืองที่อา่ น หรือ เรียงประโยค (Sentences) ตามลาดับเร่อื ง หรือเรียงเนื้อหาแต่ละตอน
(Paragraph) ตามลาดับของเนอื้ เร่อื ง การเตมิ (Completing)คือ อา่ นแลว้ เตมิ คา สานวน ประโยค ขอ้ ความ
ลงในภาพ แผนภมู ิ ตาราง ฯลฯ ตามเรื่องท่ีอ่าน Correcting คือ อา่ นแล้วแก้ไขคา สานวน ประโยค ข้อความ
ให้ถกู ต้องตามเนื้อเรื่อง ที่ได้อ่าน การเลือก (Deciding) คือ อา่ นแลว้ เลือกคาตอบที่ถกู ต้อง (Multiple
Choice) หรือเลือก ประโยคถูก/ผดิ (True/False)

13

สรปุ ได้วา่ ในงานวจิ ยั น้ี ผู้เรียนสามารถอา่ นบทอา่ นหรือเนื้อเรือ่ งสัน้ ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และสามารถ
เข้าใจความหมายคาศพั ท์ ระบปุ ระโยคใจความสาคญั จากเรอ่ื งที่อ่าน แลว้ เขยี นเตมิ ข้อความลงในแผนผังมโน
ทศั น์ได้อยา่ งถกู ต้อง สามารถตอบคาตอบถูก-ผดิ จากการอ่าน สามารถเขยี นสรปุ เน้ือเรอื่ งที่อ่านจากแผนผัง
มโนทศั น์ไดต้ ลอดจนอ่านแลว้ สามารถเลอื กคาตอบที่ถูกต้องได้

2.2 การสอนอ่านภาษาอังกฤษเพอ่ื ความเข้าใจ (Teaching English Reading
for Comprehension)

2.2.1 หลกั การสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจ

การสอนอา่ นสาหรับผเู้ รยี นในระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นควรมีการกระตนุ้ ใหน้ ักเรียน เกิดความสนใจ

และเห็นความสาคญั ในการอา่ น มกี ารอธิบายถึงหลักการสอนเพื่อใหก้ ารสอนอ่าน เพอื่ ประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ

และเป็นการสรา้ งแรงจูงใจผูเ้ รียนตระหนกั และสนใจการอ่านมากขนึ้ ซง่ึ นกั การศกึ ษาหลายท่านได้ให้หลักการ

สอนอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจอย่างหลากหลาย โดยสามารถสรปุ หลกั การสาคญั ได้ดงั น้ี

หลกั การสร้างแรงจูงใจในการอ่าน จะทาให้ผู้เรียนท่เี รม่ิ เรยี นรกู้ ารอ่าน ผ้สู อนควร ใหค้ วามสาคญั กับ

การสร้างแรงจูงใจหรือเสรมิ แรงทางบวก โดยการกระตนุ้ ผู้เรยี นดว้ ยรางวลั หรอื การ กลา่ วชม (Dornyei,

2001b) นอกจากน้ี Harmer (2001) มีการสนบั สนุนแนวคิดดงั กลา่ วคือ หลกั การ ในการสอนอ่านเพอ่ื กระตุ้น

ให้เกิดความสนใจในทักษะการอา่ นของผู้เรยี นได้กล่าวคอื ผ้สู อนควร กระตนุ้ ให้ผ้เู รียนเกิดทักษะการอ่าน

ผูส้ อนควรทาใหผ้ ้เู รียนต้องรสู้ กึ สนใจและอยากติดตามเรื่องท่อี า่ น ผู้สอนควรกระตนุ้ ให้นกั เรยี นมีการ

ตอบสนองจากเน้ือหาของเรื่องทอี่ า่ น ไมเ่ พยี งแต่เรื่องของภาษา เทา่ นนั้ ผสู้ อนควรมีการสง่ เสริมให้ผ้เู รียนคาด

เดาเรอ่ื งที่อา่ นเป็นปจั จยั สาคัญในการอา่ น ผู้สอนควร เลือกงานใหเ้ หมาะสมกบั เรือ่ งที่อ่าน

หลกั การหาใจความสาคญั Grellet (1981) กลา่ ววา่ การอ่านโดยหาใจความสาคญั ท่ีอยู่ในเนือ้ หาเพ่ือ

ช่วยให้รู้วา่ ควรอา่ นในส่วนใดของเน้ือเรือ่ ง การอา่ นหวั เรือ่ งสามารถช่วยให้รู้ ประโยคหลัก และประโยคย่อย

ของเนื้อหา การอา่ นสรปุ เพอื่ ช่วยให้เห็นถงึ ประโยคหลักของบทอา่ น และเปน็ จดุ สาคัญในการสอนอา่ น การ

อ่านยอ้ นกลับไปท่จี ุดเริ่มตน้ และอา่ นอีกครั้งพยายามอา่ น เพื่อตอบ ค าถามและเกดิ ความเข้าใจเน้ือหาอย่าง

ละเอยี ด

หลักจติ วทิ ยาในการสอน Salyor, Alexander, and Lewis (1981) กลา่ ววา่ หลกั การสอนอา่ นควร

มีการพฒั นาโดยการอาศยั หลักจติ วทิ ยา เช่น กระตุ้นการเรียนรขู้ องผู้เรยี น ด้วยการเสรมิ แรงกลา่ วชมเชย

รางวลั เป็นการสรา้ งกระบวนการทางจิตใจของผูเ้ รยี นใหม้ ีความสนใจ การอา่ น และเพ่ือเปล่ียนพฤติกรรมการ

เรียนรูข้ องผเู้ รยี นให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขนึ้

หลกั การสอนอ่านจากพืน้ ฐานสรู่ ะดบั สงู (Bottom-up Model) ซง่ึ N. Anderson (1999) ได้กลา่ ว

ไวว้ า่ การสอนอ่านสาหรับผ้เู รมิ่ เรียนควรเรมิ่ ต้นจากงา่ ยไปยาก เพ่ือใหเ้ กิดเรยี นรู้ ท่ีง่ายข้ึน มกี ารใช้คาศพั ท์

งา่ ยๆ ตามระดบั ช่วงช้นั สอดคล้องกับ Grabe (2000) และ Nunan (1995) กล่าววา่ กระบวนการอ่านใน

ระดบั พืน้ ฐานไปสู่ระดับสูง เป็นการอ่านท่เี กดิ ความเขา้ ใจเกิดขน้ึ โดย ผู้อา่ นเข้าใจความหมายเปน็ คาๆ หรือแต่

ละตัวอกั ษรท่ีอยใู่ นบทอา่ น ซึ่งผ้อู ่านนาคาแต่ละคามารวมเขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือใหเ้ กดิ ความหมายในประโยคน้ัน โดย

ผอู้ ่านต้องเรียนรูค้ าศัพทต์ ่างๆ ใหม้ ากข้นึ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเนอื้ หาและองค์ประกอบอ่นื ๆของบทอา่ น

น้นั ๆ หรอื กระบวนการอ่านใน ระดับพ้นื ฐานไปสู่ระดบั สงู เปน็ การอา่ นข้ันพนื้ ฐานทีเ่ นน้ ถอดรหสั สญั ลักษณ์

หรือตวั อกั ษร เม่อื ผู้อ่านไดย้ ินเสียงก็จะจับคู่ตวั อกั ษรกบั เสียงที่ไดย้ ินแล้วนามาผสมกันเป็นคา จนเกิดเป็น

ความหมาย ของคาแตล่ ะคา โดยไม่อาศัยบริบทและครผู ู้สอนไมต่ ้องให้นกั เรยี นจาตัวอกั ษรทุกตวั หรอื ทุก

14

คาศัพท์ ทุกคา แต่มีข้อเสียคอื ผู้อา่ นมักจะลืมคาหรือข้อความตอนต้นกอ่ นท่จี ะอา่ นจบประโยค
และ Silberstein (1994) กลา่ วสรปุ ว่า กระบวนการอา่ นในระดบั พ้ืนฐานไปสู่ระดับสงู นั้นว่าเปน็ กระบวนการ
สอนอ่านผู้อ่านใช้ความเข้าใจในภาษาทุกระดับตั้งแต่ ระดบั คาศัพท์ ระดับประโยค และระดับยอ่ หน้า เพ่ือใช้
สื่อสาร ซงึ่ เป็นการใช้ข้อมลู ทางภาษาศาสตร์ (linguistic input) ทรี่ ะบุไว้ในบทอ่าน

การสอนอา่ นในระดบั สงู ไปสรู่ ะดับพนื้ ฐาน (Top-down Model) เปน็ การอา่ นที่ ผู้อ่านมองเขา้ ใจ
เน้ือหาในบทอา่ นโดยอาศัยความรูพ้ ื้นฐานหรือประสบการณ์จากการอ่านมาแล้วนน้ั ซ่งึ ผ้อู ่านทาความเข้าใน
ระดบั ประโยคแบบกว้าง ๆ ก่อนจะทาความเข้าใจในแตล่ ะคาของประโยค เพือ่ ใหไ้ ด้รายละเอยี ดมากยิง่ ข้นึ ซึ่ง
Grabe (2000) และ Nunan (1995) กลา่ วว่า เป็นการปฏสิ ัมพันธ์ ของผอู้ ่านและบทอ่าน โดยผอู้ ่านผสมผสาน
ระหว่างความรู้หรอื ประสบการณ์เดิม ความคาดหวังทจ่ี ะ ได้อ่าน แรงจูงใจ ความสนใจและทศั นคติที่มีต่อบท
อ่านมากกว่าการถอดรหสั สญั ลกั ษณต์ วั อักษรหรือ เสยี ง ซ่งึ สอดคล้องกับ Silberstein (1994) สนบั สนุน การ
ใชค้ วามรู้หรือประสบการณ์ของตนคาดเดา เร่ืองท่ีอา่ น ซง่ึ ครูผู้สอนต้องเนน้ กจิ กรรมที่ให้ผเู้ รียนได้นาความรู้
เดิมของตนมาตีความเรื่องท่ีอ่าน เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเข้าใจ

จากการศึกษาหลักการสอนอ่านแต่ละประเดน็ ขา้ งต้นสามารถสรปุ ไดว้ า่ ผู้สอนควร ตระหนักถึง
หลักการสอนอา่ นภาษาองั กฤษเพื่อความเขา้ ใจ เพ่ือเป็นการเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการ เรียนรู้ใหด้ ีข้ึนเพอื่ ให้
ผเู้ รยี นได้รับการสอนอ่านทดี่ ีมีความเขา้ ใจง่ายขึน้ โดยผสู้ อนเนน้ การเรียนรูจ้ ากพื้นฐานสูร่ ะดับสูง (Bottom
up Model) เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนได้เรียนร้คู าศพั ท์หรือหน่วยย่อยสูก่ ารเรยี นรู้ ในหน่วยใหญ่ ผนวกกับการสอนอา่ นที่
ผ้เู รยี นสามารถเรยี นรูจ้ ากระดับสงู สู่ระดบั พ้ืนฐาน (Top down Model) โดยอาศัยประสบการณเ์ ดมิ หรอื
ความร้ทู ่ผี ู้เรียนมีอย่เู พื่อใหเ้ ขา้ ใจความหมายในบทอ่านง่ายขึ้น ท้ังนี้กระบวนการต่างๆจะสาเรจ็ ได้ข้นึ อยู่
จติ วิทยา สตปิ ญั ญา และอารมณ์ ของผสู้ อนด้วยเช่นกัน เพ่ือใหก้ ระบวนการเรยี นการสอนเกิดประสิทธภิ าพ
ผู้สอนจาตอ้ งมกี ารเสริมแรงผู้เรียนเพือ่ เปน็ การกระตุน้ ใหเ้ กิดการเรียนมากขน้ึ

2.3 แผนผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping)

2.3.1 ความหมายของแผนผังมโนทศั น์

การเรยี นรู้จากแผนผังมโนทัศนเ์ ป็นอกี เครือ่ งมอื หนึ่งที่สามารถช่วยให้ผเู้ รียนเข้าใจ การอ่านไดง้ ่ายข้ึน
ซง่ึ มนี ักการศึกษาหลายท่านไดใ้ ห้คานิยามเก่ียวกับแผนผังมโนทัศนไ์ วอ้ ยา่ ง หลากหลาย ดงั นี้

Novak and Canas (2006) กลา่ วว่า แผนผังมโนทศั น์ คือ แผนภาพแทนความคิด ท่ีแสดงใหเ้ หน็ ถงึ
ความสัมพันธ์ท่ีมีความหมายระหว่างความคิดรวบยอดตา่ ง ๆ โดยอยู่ในรปู ของ ข้อความ ทัง้ นข้ี ้อความอาจเปน็
กล่องความคดิ รวบยอดสองอัน หรือมากกวา่ น้ัน ซึง่ มาเชอ่ื มโยงกันดว้ ย ถ้อยคาที่แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสัมพนั ธ์
หรอื ความเกยี่ วข้องระหวา่ งความคดิ รวบยอดน้ัน ๆ ในขณะท่ี Strurm and Rankin-Ericson (2002) แนวคดิ
คล้ายกนั คือ แผนผงั มโนทศั น์เปน็ แผนทีแ่ นวคิด ซ่งึ เป็นเครอ่ื งมือกราฟิกสาหรบั จดั การและแสดงแนวความรู้
โดยใชใ้ นการจาแนกข้อมูลเป็นเสน้ กราฟ และสร้างขน้ึ เพื่อนาเสนอกรอบแนวคดิ และความสัมพันธข์ องเน้ือหา
จากเนื้อหา ซงึ่ สวุ ิทย์ มลู คา (2547) กลา่ วท่มี าวา่ เปน็ ความคดิ ความเข้าใจที่ได้นามาทาเป็นแผนผงั มโนทัศนม์ า
จากการสงั เกต หรือ ประสบการณเ์ กี่ยวกับเรอื่ งใดเร่ืองหน่งึ นามาจัดประเภทของขอ้ มลู หรือเหตกุ ารณท์ ี่
เหมือนหรอื แตกตา่ งกนั ไวใ้ นกลุ่มหรอื ประเภทเดยี วกันโดยอาศยั คุณลกั ษณะร่วมกันเป็นเกณฑ์
นอกจากน้ี Chang, Sung, and Chen (2002) Novak (2002) และ Vekiri (2002) มแี นวคดิ ตรงกนั ว่า
แผนผงั มโนทัศน์ คือ เน้ือหาซ่ึงอยูใ่ นรปู กล่องข้อความทีเ่ ขียนสรปุ เป็นแนวคิด เพื่อให้เป็นเร่อื งงา่ ยสาหรับ
ผอู้ า่ นโดยเฉพาะคนท่มี ีภาษาที่ไม่ดเี พื่อใหม้ ีทักษะในการอ่านและสามารถ ทาความเขา้ ใจในเนื้อหาได้งา่ ยข้ึน

15

จากการศึกษาความหมายแผนผังมโนทัศน์ สรปุ ได้ว่า แผนผังมโนทศั น์ หมายถึง แผนผังหรอื แผนทท่ี าง
ความคิดทีผ่ ู้เรียนไดเ้ ขยี นสรุปการอา่ นในรปู แบบงา่ ย ๆ ทส่ี ามารถบอกรายละเอยี ด ต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นเนื้อหาการ
อ่านนน้ั ๆ ได้ และแผนผงั มโนทศั น์เป็นกระบวนการเรียนรู้การอ่านโดยอาศยั ประสบการณ์เดมิ ของผู้อ่านใน
การเชอ่ื มโยงแนวความคดิ เดิมส่แู นวความคิดใหม่ได้อย่างเป็นระบบ

2.3.2 กระบวนการของแผนผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping)
กระบวนการแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) Buzan (1991) Novak (2005) และKane and
Trochim (2007) กล่าวว่า กระบวนการเรียนรทู้ ี่ชว่ ยในการคิดวเิ คราะหป์ ญั หา วเิ คราะห์ โครงสรา้ งใหม่ๆ
ดว้ ยการระดมสมอง (Brain storming) และมกี ารรวบรวมข้อมลู แบบกลุ่มดว้ ยการ แสดงความคิดเห็น และ
แผนผงั มโนทัศนย์ ังเปน็ เคร่ืองมือในการอานวยความสะดวกในการรวบรวม ข้อมูลหรือเน้ือหาจากการอา่ น ใน
ภาพที่ 1 แสดงให้เห็นกระบวนการของแผนผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping) ไดอ้ ยา่ งชัดเจน

รปู ภาพที่ 1 กระบวนการแผนผังมโนทัศน์(Concept Mapping)
ท่ีมา: Kane and Trochim (2007)

Kane and Trochim (2007) ไดก้ ล่าวถงึ ข้นั ตอนในกระบวนการทาผงั มโนทัศน์ (Concept
Mapping) สรปุ ได้ 6 ขนั้ ตอนดังนี้

ข้ันท่ี 1 ข้ันเรมิ่ ต้นของกระบวนการหรอื ข้นั การเตรียมการ (Preparing for Concept mapping) คือ
ผู้สอนวางแผนเตรยี มการสอนโดยตอ้ งทาการวเิ คราะห์ จากน้ันผูส้ อน อธิบายช้ีแจงการทาผังมโนทศั น์ การ
รวบรวมข้อมลู จากเนื้อหา

ขั้นที่ 2 ขน้ั ตอนการสรา้ งความคิด (Generating the Idea) คอื ผู้เรยี นแสดง ความคดิ เห็นของตนเอง
และสร้างสมั พันธข์ องข้อมูลโดยการวเิ คราะห์ขอ้ มลู และรวบรวมเปน็ แนวคดิ และผู้สอนกระต้นุ ผเู้ รยี นใหเ้ สนอ
ความคิดเหน็

ขัน้ ท่ี 3 ขัน้ การจดั โครงสรา้ งความคิดและข้อมูล (Structuring the Statements) คอื การจัดลาดบั
ข้ันตอนของความคดิ (Basic Ordering Ideas - BOIs)

16

ขัน้ ท่ี 4 ขั้นการวิเคราะหผ์ งั มโนทศั น์ (Concept mapping Analysis) คอื การลาดบั ขัน้ ตอนที่จะ
วเิ คราะหค์ ุณภาพของความคิด วิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ (Relationship) วเิ คราะห์ ประเด็นเชอ่ื มโยงหรือ
ประเด็นเกี่ยวข้อง

ขั้นท่ี 5 ขน้ั การตคี วามและแปลความหมาย (Interpreting the map) คอื ขน้ั ตอนในการทาความ
เข้าใจ และแปลผลของผังมโนทศั น์ ซึง่ เปน็ ขัน้ ตอนท่ีจะต้องนาผงั มโนทศั น์ มาเขยี นเพ่ือสื่อสารให้เป็นทีเ่ ข้าใจ
ได้โดยงา่ ย แตส่ ง่ิ ทีส่ าคัญคือการนามาเขียนแลว้ ผอู้ า่ นสามารถเข้าใจ ข้อมูลได้ และแก้ไขปรับปรงุ ในบางสว่ น

ข้ันท่ี 6 ขน้ั การอภปิ รายข้อมูล (Utilization) คอื การรายงานผลการทาแผนผัง มโนทัศน์และมีการ
วางแผนการประเมินแผนผังมโนทัศน์ หลงั จากมีการรายงานผลท่ไี ดจ้ ากทาหรือ การระดมสมอง และสามารถ
นาไปใชป้ ระโยชน์ โดยการนา Concept Mapping ไปประยกุ ต์ใช้ในการ ดาเนนิ งาน เช่น การนาไปใช้เปน็
กรอบแนวคิด (Conceptual framework) สรปุ งานได้

จากการศึกษากระบวนการแผนผังมโนทศั น์ทั้ง 6 ขนั้ สามารถสรุปไดว้ ่า การเขยี น ผังมโนทัศน์เปน็
เครือ่ งมือท่สี ามารถใช้จัดการระบบความรู้ท่ไี ด้รบั ให้เป็นแนวคดิ ทสี่ ามารถเขียนออกมา เป็นแผนภาพ แผนภูมิ
หรอื กรอบแนวคดิ ได้ โดยมีกระบวนการอย่างเป็นลาดับข้ันตอน ตงั้ แต่การ เตรยี มการ การสร้างความคิด การ
จัดโครงสรา้ งความคิด การวเิ คราะหผ์ ังมโนทัศนก์ ารตีความและ แปลความหมาย ไปจนถงึ การนาแผนผงั
มโนทศั น์ (Concept Mapping) ไปใชใ้ นการสรปุ เนือ้ หางาน

2.3.3 รูปแบบของแผนผังมโนทัศน์ (Types of concept mapping)
Novak and Canas (2006) มีการอ้างถงึ รปู แบบของแผนผังมโนทศั น์ (Concept Mapping) คอื ผัง
มโนทศั นม์ รี ปู แบบแตกต่างกนั ไปตามความถนัดและวัตถุประสงคข์ องการใชง้ านจงึ มี การจาแนกรปู แบบของผัง
มโนทศั นเ์ ปน็ 4 แบบ โดยแสดงให้เห็นในภาพที่ 2 ถงึ ภาพท่ี 5 ดังต่อไปน้ี
1. แบบใยแมงมุมหรือดาวกระจาย(Spider Concept Map) เป็นรูปแบบการจดั วาง หัวขอ้ หลกั ไว้
ตรงกลางและหวั ข้อย่อยอยรู่ อบ ๆ ดังแสดงในรปู ภาพที่ 2

รปู ภาพท่ี 2 แผนผังมโนทัศนแ์ บบใยแมงมุมหรือดาวกระจาย

2. แบบช่วงช้นั ของความคิด (Hierarchy Concept Map) เปน็ รูปแบบการจัดหัวข้อ สาคัญทสี่ ดุ ไว้
บนสุดและหวั ขอ้ รองหรือรายละเอยี ดเสรมิ วางรองลงมา ดงั แสดงในรูปภาพที่ 3

17

รูปภาพท่ี 3 แผนผังมโนทัศน์แบบช่วงชนั้ ของความคดิ
3. รปู แบบการวางหวั ข้องาน (Flowchart Concept Map) เปน็ การวางหัวขอ้ ก่อนหลังตามลาดับ
การทางานในเชงิ เสน้ ดังแสดงในรปู ภาพที่ 4

รปู ภาพท่ี 4 แผนผังมโนทัศน์แบบการวางหัวข้องาน
4. แบบเชิงระบบเชือ่ มโยง (System Concept Map) เปน็ รูปแบบการวางข้อมลู งานท่ีคลา้ ยในการ
Input และ Output ดงั แสดงในรปู ภาพที่ 5

18

รูปภาพที่ 5 แผนผงั มโนทศั น์แบบเชงิ ระบบเช่ือมโยง

จากการศึกษารปู แบบการใชแ้ ผนผงั มโนทศั น์สามารถสรปุ รูปแบบทสี่ ามารถเขา้ ใจได้งา่ ยๆ คอื การ
ระดมสมอง การใชน้ าเสนอข้อมลู การใชจ้ ัดระบบความคิดและช่วยความจา การใช้ วิเคราะหเ์ นื้อหาหรอื งาน
ต่างๆ และการใชส้ รปุ หรือสร้างองคค์ วามรู้ ซึ่งเป็นกระบวนการที่เหมาะสม ในการสอนเพื่อความเขา้ ใจเพื่อให้
ผเู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้อยา่ งมรี ะบบ ในงานวจิ ัยนมี้ ีการใชแ้ ผนผงั มโนทัศนเ์ พื่อวางโครงสร้างการรวบรวมข้อมูล
และรายละเอยี ดจากการอ่าน เพ่อื ให้ผ้อู ่านมีหมายเป้า ในการอ่านและสามารถจบั ประเด็นการอา่ นไดง้ ่ายขน้ึ
ซึ่งนาไปส่กู ารสรปุ เนื้อหาจากการอ่านไดด้ ว้ ยตนเอง

2.3.4 การสอนอา่ นโดยการใชแ้ ผนผังมโนทศั น์
จากทไ่ี ดศ้ กึ ษาแนวคิดทฤษฎี ขั้นตอนและกิจกรรมการสอนอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อ ความเขา้ ใจรว่ มกับ
การศกึ ษาเกีย่ วกับการใชแ้ ผนผังมโนทศั น์จะเหน็ ว่าการใชแ้ ผนผังมโนทศั น์สามารถ เป็นกิจกรรมการสอนอ่านที่
ดแี ละประสิทธิภาพทชี่ ่วยให้ผเู้ รยี นเกดิ ความเข้าใจในเนื้อหาการอ่านได้ ดังนัน้ งานวจิ ัยนี้จึงมีจุดมงุ่ หมายในการ
วเิ คราะห์กระบวนการสอนเพื่อนาในพัฒนาทักษะการอา่ นของ ผูเ้ รียนดงั ขนั้ การเรยี นรขู้ น้ั ตอนดังต่อไปนี้
ข้ันตอนท่ี 1 กจิ กรรมการนาเขา้ สบู่ ทเรยี น (Pre-Reading Activities) ผสู้ อนจะใช้ ภาพ ส่ือ วดิ ีโอเพอ่ื
ดึงดูดความสนใจของผู้เรยี นในการอา่ น จากนั้นผูส้ อนนาเสนอหัวข้อเร่ืองการอ่าน และกิจกรรมนาให้ผู้เรียนได้
มขี อ้ มลู บางสว่ นเพ่ือชว่ ยสร้างความเข้าใจในบรบิ ทก่อนเริม่ เน้ือหาท่ี กาหนดให้ โดยการสนทนา โต้ตอบ
ระหวา่ งผ้สู อนกับผเู้ รียน หรอื ระหวา่ งผูเ้ รยี นกบั ผูเ้ รียนเพ่ือทบทวน ความรูเ้ ดมิ และเตรยี มรับความรู้ใหมจ่ าก
การอ่าน ผู้สอนสอนคาศัพทย์ ากเพื่อใหน้ ักเรียนเขา้ ใจ ความหมายจากภาพและเดาจากบริบท
ขั้นตอนที่ 2 กิจกรรมระหวา่ งการอา่ น (While-Reading Activities) ผู้สอนสอน อ่านและวาง
โครงสรา้ งแผนผังมโนทัศนซ์ ง่ึ ใหผ้ เู้ รียนทาความเขา้ ใจโครงสรา้ งแผนผังมโนทัศน์และเนอ้ื หาในเร่ือง จากน้ันให้
ผ้เู รียนฝกึ ความเข้าใจของตัวเองด้วยการนาขอ้ มูลหรอื รายละเอียดที่ได้จากการอ่านเติมลงในแผนผังมโนทัศน์
ทต่ี ง้ั ไว้ โดยผสู้ อนควบคุมการอา่ นโดยการใช้คาถามช้ีนาเพื่อให้ผ้เู รยี นเกดิ ความอยากรใู้ นเรอ่ื งท่ีอ่านและ
พยายามหาความหมายและรายละเอยี ดต่างๆ ตามหวั ข้อ ทต่ี ั้งไวใ้ นแผนผงั มโนทศั น์ โดยมขี ั้นตอนดังนี้
1. ผู้สอนมีหนา้ ท่เี ป็นผู้จดั การห้องเรยี น โดยเป็นผู้แนะนาโครงสรา้ งแผนผงั มโนทัศนต์ ามหัวข้อเรอ่ื งท่ี
อ่าน โดยผ้สู อนเลือกรปู แบบการเขียนแผนผังมโนทัศน์แบบใยแมงมมุ หรือดาวกระจาย (Spider Concept

19

Map) ซึ่งเปน็ รูปแบบการจัดวางหวั ข้อหลักไวต้ รงกลางและ หวั ข้อยอ่ ยอยูร่ อบ ๆ เป็นรปู แบบทง่ี ่ายและแบบ
ชน้ั ความคดิ (Hierarchy concept map) เปน็ รูปแบบ การจดั วางหัวขอ้ หลักไวบ้ นสดุ และหัวขอ้ รองหรอื
รายละเอียดเสริมวางรองลงมา ซ่งึ ทงั้ 2 รูปแบบ เปน็ แผนผังมโนทัศนท์ เี่ หมาะสมสาหรบั นักเรยี นระดับ
มธั ยมศึกษา

2. ผเู้ รียนอา่ นเนือ้ หาและจับใจความเร่ืองที่อา่ นโดยเขยี นข้อมลู ลงในแผนผังมโนทัศน์ที่ผู้สอนตง้ั ไว้

3. ผู้เรียนจัดเรยี งระบบขอ้ มูลก่อนหลงั อยา่ งเป็นระบบและมีการเช่ือมโยงความคดิ รวบยอดเข้า
ดว้ ยกันเป็นลาดับก่อนหลังโดยใช้เสน้ และอาจมีการตกแต่งแผนผงั มโน ทศั น์เพ่ิมเตมิ หลงั การเรยี นร้เู สร็จสิ้น

4. ผูส้ อนถามคาถามนักเรยี นเพอื่ ทดสอบความเข้าใจการอ่านอกี คร้ังโดยหารายละเอยี ดการอ่าน

ข้ันตอนท่ี 3 กจิ กรรมหลงั การอ่าน (Post-Reading Activities) เป็นกจิ กรรมเพ่ือ ตรวจสอบความ
เขา้ ใจด้านคาศัพท์ ประโยค ตลอดจนเนือ้ หาโดยรวม โดยผสู้ อนให้ผ้เู รยี นทา แบบฝึกหัดถูก/ผิด เพือ่ ทดสอบ
ความเข้าใจเบ้ืองตน้ จากนั้นเขยี นใจความสาคัญและการเขียนสรุปความสาคัญเข้าใจดว้ ยตนเองจากการเขียน
แผนผังมโนทศั น์จากการรวบรวมรายละเอียดย่อย

จากการศึกษาเกย่ี วกบั การอ่านเพื่อความเข้าใจและการใช้แผนผังมโนทศั นใ์ นงานวจิ ยั นสี้ รุปไดว้ า่
แผนผงั มโนทัศนเ์ ป็นกิจกรรมเรยี นรทู้ ่สี ามารถส่งเสรมิ การอ่านของผ้เู รยี นใหเ้ กดิ ความเข้าใจไดง้ า่ ยยงิ่ ข้นึ
เน่อื งจากแผนผังมโนทศั นเ์ ป็นลักษณะแผนภาพและเสน้ สีสามารถดงึ ดูด ความสนใจของผูเ้ รียนได้ ดงั นน้ั ใน
งานวจิ ัยนี้ จงึ มุ่งเน้นการนารปู แบบการเขยี นแผนผงั มโนทัศนม์ าเปน็ เครอ่ื งมือในการสอนอ่านเพ่ือใชว้ างแผน
ภาพหรือวางโครงสร้างกรอบเนือ้ หาเพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถ เขียนสรุปรายละเอยี ดของเน้ือหาจากการอ่านได้
และเพื่อให้ผูเ้ รียนสามารถเข้าใจเนื้อหาไดง้ า่ ยข้ึน

2.4 รูปแบบการสอนการจัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model
ดิเรก วรรณเศยี ร (2560) ได้บรู ณาการแนวคิดที่เกยี่ วขอ้ งกับการจดั การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ทั้ง
หมดแลว้ นาเสนอ MACRO model เป็นแนวคิดดา้ นการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั เน้นให้ผู้เรียน
สรา้ งความรใู้ หมแ่ ละส่งิ ประดิษฐใ์ หม่ โดยการใช้กระบวนการทางปญั ญา(กระบวนการคิด) กระบวนการทาง
สังคม (กระบวนการกลุ่ม) ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธแ์ ละมีส่วนรว่ มในการเรยี น สามารถ
นาความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ได้ ผ้สู อนมบี ทบาทเปน็ ผู้อานวยความสะดวก จดั ประสบการณ์การเรียนรู้ใหผ้ ู้เรยี น การ
จัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญตอ้ งจัดให้สอดคลอ้ งกับความสนใจ ความสามารถและความถนัดของ
ผู้เรียน เนน้ การบูรณาการความรใู้ นศาสตร์สาขาต่างๆ ใช้วธิ กี ารสอน แหล่งความรทู้ ่หี ลากหลาย ทาใหส้ ามารถ
พฒั นาปัญญาอยา่ งหลากหลาย คือ พหุปัญญา รวมท้งั เน้นการวัดผลดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลายซง่ึ องค์ประกอบของ
MACRO Model มีดงั นี้
M motivation การสรา้ งแรงจงู ใจ แรงบนั ดาลใจ ความสนใจและความตอ้ งการในการเรยี นรู้
A active learning การเรียนร้ทู ่ีผเู้ รยี นได้มีโอกาสได้ความร้โู ดยตรงจากการลงมือกระทา้ ด้วยตนเอง
ด้วยวธิ กี ารเรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย
จากแหลง่ เรียนรู้ตา่ งๆท่ีหลากหลายเป็นการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั \
C conclusion ผ้เู รียนสรุปองคค์ วามรูห้ รือสงั เคราะห์ส่ิงที่ไดเ้ รียนรู้ตามความคดิ และภาษาของตนเอง
R reporting ผู้เรียนส่อื สารและนาเสนอผลการเรียนรดู้ ้วยภาษาวธิ กี ารและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี
เหมาะสม
O obtain ผ้เู รยี นนาผลการเรียนรูท้ ี่ไดร้ ับไปใช้ประโยชน์เผยแพร่ความรูส้ คู่ รอบครัว ชมุ ชน และสังคม
ด้วยวิธกี าร สอ่ื หรือเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม

20

2.4.1 ความสาคัญของ MACRO Model
1. ฝกึ ให้ผเู้ รียนกลา้ ต้งั ค่าถาม กลา้ คิด กล้าตัดสินใจ กลา้ แสดงออก เปลี่ยนการเรยี นจากแบบรบั ฟังอยา่ ง
เดียว (passive) เป็นการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง (active) การต้ังค่าถามเพราะเกิดข้อสงสัย เป็นจดุ เรมิ่ ต้นของ
Lifelong Learning ถามแบบสรา้ งสรรคก์ อ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ เปน็ การตงั้ ต้นหาค่าตอบอย่างถูกวธิ ี กระต้นุ ใหเ้ ดก็ มี
ความสนใจใฝ่รเู้ ปน็ การเรียนรู้และแก้ปัญหา

2. เป็นการสอนให้สามารถสืบคน้ ความรู้จากแหล่งข้อมูลที่มีมากมายในโลก ตามแนวคิดของปราชญ์
ชาวจนี ทว่ี ่า สอนชาวบา้ นหาปลา ดีกว่าเอาปลาไปให้ชาวบา้ น ทา่ ให้ผู้เรยี นเกดิ ทักษะในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ

3. การสรปุ ความรู้ โดยแสดงให้ผู้เรียนเห็นว่าความรูท้ ่ีตกผลกึ ของผ้เู รยี นเองเป็นความรู้ใหมท่ ่ผี ่าน
กระบวนการเรยี นรู้ที่ถูกต้อง ผเู้ รยี นจะจดจาความรูน้ ้ีได้นานกวา่ แบบท่องจา

4. กอ่ นสรุปองค์ความรู้ ครเู ปิดโอกาส ใหน้ ักเรยี นได้อภปิ รายกัน ดเู หตุผลที่มีทฤษฎีรองรับกอ่ นสรปุ
ซง่ึ จะเป็นการสง่ เสรมิ ทักษะการท่างานเป็นทีม ความร่วมมือ และวถิ ีชีวิตตามระบอบประชาธิปไตยดว้ ย ฝึกความ
เป็นผ้นู ่า ส่งเสริมคณุ ธรรมจริยธรรม

5.การสอ่ื สารและน่าเสนอเป็นสมรรถนะสาคัญท่จี าเปน็ ในระดับสากล ทาให้ผู้เรยี นได้มีพัฒนาการ
ทางดา้ นการสือ่ สาร ภาษา และมคี วามสามารถในการน่าเสนอ มีทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

6. ความรู้ทน่ี าไปใช้และเผยแพร่ เป็นการสง่ เสริมให้มกี ารพัฒนานวัตกรรมเพื่อใชใ้ นการพัฒนาประเทศ
ตอ่ ไป

2.4.2 แนวการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบ MACRO แบง่ เปน็ 5 ข้นั ตอนดงั น้ี
1. ขัน้ สรา้ งแรงจงู ใจ (Motivation)
ครูผู้สอนร่วมมือกับผู้เรียนในการกาหนดหรือต้งั ประเด็นความรู้ หรือหัวข้อเกย่ี วกบั การเรียนรูต้ ามแผนท่ี
ยึดโยงกับหลกั สตู ร ข้นั นี้ผู้เรยี นจะรับรถู้ ึงจดุ หมายและมแี รงจูงใจในการเรียนร้บู ทเรียน ผ้สู อนสามารถเลือกใช้
กิจกรรมตา่ ง ๆ ในการนาเข้าสูบ่ ทเรียนและการเรียนรู้ เช่น การเล่าเรือ่ งตา่ ง ๆ ใหผ้ ้เู รยี นซักถาม หรือตัง้ คาถาม
การฉายภาพนิ่งใหผ้ ูเ้ รยี นชมและติดตามการชวนสนทนา เพ่ือให้ผ้เู รียนต้ังประเด็นท่ีต้องการรู้ การกระตนุ้ ความ
สนใจดว้ ยเกม เพลงภาพ การอ่าน / ฟงั ข่าวจากหนังสือพิมพ์ การยกตัวอย่างประโยค คาพังเพย บทกวี จดุ ที่
สาคญั ในขั้นตอนน้คี ือ การตัง้ ประเด็นอภปิ ราย การใช้คาถามสรา้ งพลังความคดิ ประเด็นความรู้ หรอื หัวข้อ
เกี่ยวกบั การเรยี นรู้ในข้นั ตอนต่อไป ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ ล็งเห็นประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ ับจากการเรยี นรู้หรอื เกิดแรงบนั ดาลใจ
2. ขั้นการเรยี นร้โู ดยตรง (Active Learning)
ในการสอนคร้ังแรก ครูควรให้ความรู้พ้นื ฐานเก่ียวกับการสร้างองคค์ วามรู้ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี 1 แนวทางการ
สืบคน้ ความรู้เพ่ือให้ไดค้ วามรู้ทต่ี อ้ งการ สว่ นท่ี 2 ศาสตร์ สาขา แขนงความรูแ้ ละแหลง่ ความร้ทู ่ีเกีย่ วข้อง ส่วนที่
3 การเรียบเรยี งข้อมลู ข้อคน้ พบ ความคิด ความคิดเหน็ การให้เหตุผลโตแ้ ยง้ และสนับสนุน เพอื่ ให้ผ้เู รยี นเข้าใจ
ถงึ การกระบวนการสรา้ งองค์ความรใู้ นการจดั การเรียนรู้แต่ละคร้งั ครูผู้สอนควรมีเทคนิคการจัดการเรยี นรูท้ ี่
หลากหลายไดแ้ ก่ การอภปิ รายกลุ่มเพ่ือแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ การระดมพลังความคดิ การเรยี นรโู้ ดย
ใช้ 8 สถานการณ์จาลอง โดยเน้นกระบวนการคิดซึ่งเป็นหัวใจของขน้ั ตอนการเรยี นรู้ ผเู้ รยี นจะศกึ ษาคน้ ควา้ ตาม
ประเดน็ ความรู้หรือหวั ขอ้ ท่ตี กลงกัน ครผู ้สู อนจะกระตนุ้ ให้ผ้เู รียนดาเนนิ กจิ กรรมเพ่ือสบื ค้นขอ้ มลู จากแหลง่
เรยี นรู้ตา่ ง ๆ โดยใชว้ ิธีการ ค้นควา้ จากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง ๆ สัมภาษณ์ผรู้ ู้ ปฏิบตั กิ ารค้นหา (ทดลอง สบื เสาะ
สังเกต สารวจ) รว่ มมือเพือ่ เขียนคา่ อธิบาย แบง่ งานความรับผดิ ชอบภายในกลมุ่ โดยแหล่งความรู้มีท้ังภาษาไทย
และภาษาองั กฤษ
3.ข้ันสรปุ องค์ความรู้ (Conclusion)
ผู้เรยี นนาผลการอภิปรายและสาธิตที่เป็นผลจากการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหว่างกันมากาหนดเปน็ ความคดิ ใหม่

21

หรือความรู้ใหม่ โดยใชว้ ธิ ีการ เขยี นดว้ ยแผนผงั ความคดิ เขียนโครงงาน โครงการ เขียนบรรยาย เขยี นรายงาน
จดบนั ทกึ วาดภาพ แต่งคาประพนั ธ์ โดยสรุปเปน็ ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ฯลฯ ในขั้นตอนน้ีผู้สอนสามารถ
ประเมินความรู้และความคิดใหม่ ของผูเ้ รยี น โดยใชว้ ิธีการอภปิ ราย ตรวจสอบผลงานสอบถามความคิดของกลุม่
ทดสอบความรู้

4. ข้ันรายงานและนาเสนอ (Reporting)
ข้นั น้ีจะช่วยใหผ้ เู้ รียนได้มโี อกาสแสดงผลงานการสร้างความร้ขู องตนใหผ้ ูอ้ ืน่ รบั รู้ เปน็ การชว่ ยให้ผูเ้ รียนได้
ตรวจสอบความเขา้ ใจของตน ชว่ ยสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ แตห่ ากต้องมกี ารปฏบิ ัติตามความรู้ท่ี
ได้ ข้นั นี้จะเปน็ ขัน้ ปฏิบัติ และมกี ารแสดงผลงานทไ่ี ดป้ ฏบิ ัติดว้ ย ผู้เรยี นสามารถแสดงผลงานดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ
เชน่ การจัดนิทรรศการ การอภปิ ราย การแสดงบทบาทสมมติ เรยี งความ วาดภาพ การน่าเสนอด้วยเทคโนโลยี
สารสนเทศ อาจเปน็ ภาษาไทยหรอื ภาษาอังกฤษตามความเหมาะสม และอาจจดั ใหม้ ีการประเมินผลงานโดยมี
เกณฑ์ทเี่ หมาะสม

5. ขนั้ การเผยแพร่ความรู้ (Obtain)
เป็นการสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนได้ฝกึ ฝนการนาความร้คู วามเข้าใจของตนไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณต์ า่ งๆที่
หลากหลาย เพ่มิ ความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและความจาในเร่ืองนั้นๆ เปน็ การให้
โอกาสให้ผูเ้ รียนใช้ความรใู้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ ส่งเสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ หลังจากประยุกต์ใช้ความรู้แล้วควรท่า
การเผยแพร่ความรู้ไปยังครอบครัว ชมุ ชน และสังคม หรอื แมแ้ ต่ในเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์
โดยการเผยแพร่อาจจัดท่าเป็นเอกสาร จัดปา้ ยนเิ ทศ จดั กิจกรรม หรอื การเผยแพรผ่ า่ นส่ือสังคมออนไลน์ เชน่
websites FaceBook Line YouTube หรอื สอ่ื และวธิ กี ารอืน่ ๆ

ข้ันที่ 1-3 เปน็ กระบวนการของการสร้างความรู้
ขั้นที่ 4-5 เป็นข้ันตอนทช่ี ่วยใหผ้ เู้ รยี นไดน้ าเสนอและนาความรู้ไปใช้ รวมทัง้ เผยแพร่องค์ความรไู้ ปยงั
สาธารณชน

2.4.3 บทบาทผสู้ อนและผู้เรยี น
บทบาทของผูส้ อน
- ผ้สู อน คอื ผู้สนับสนุน (Supporter) และเป็นแหล่งความรู้ (Resource Person) ของผู้เรยี น
- ผู้สอนเตรียมเนือ้ หาวิชาใหส้ อดคล้องกบั ประสบการณ์เดมิ และความต้องการของผเู้ รียน โดยเลือกสง่ิ ที่
สอน (เนอื้ หา) และวิธีทีใ่ ช้สอน(เทคนิคการสอน) ใหเ้ หมาะสม
- ผ้สู อนคือผอู้ านวยความสะดวกและเปน็ แหลง่ ความรใู้ นการจัดการเรียนการสอน ช่วยเหลอื โดยไม่มี
เงือ่ นไข ผสู้ อนจะใหท้ กุ อยา่ งแก่ผู้เรียนไม่ว่าจะเปน็ ความเช่ยี วชาญ ความรูเ้ จตคตแิ ละการฝึกฝนโดยผู้เรียนมี
อสิ ระท่ีจะรบั หรือไม่รบั การให้นน้ั กไ็ ด้
บทบาทของผูเ้ รยี น
- ผเู้ รียนมบี ทบาทรบั ผดิ ชอบต่อการเรยี นรขู้ องตน ผูเ้ รียนเป็นผเู้ รยี นรู้
- ผเู้ รียนจะรับผดิ ชอบตัง้ แตเ่ ลือกและวางแผนสง่ิ ท่ีตนจะเรยี นหรอื เขา้ ไปมสี ่วนร่วมในการเลือกและจะ
เรมิ่ ต้นการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ด้วยการศกึ ษาคน้ ควา้ รบั ผิดชอบการเรียนตลอดจนประเมนิ ผลการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง
- ผเู้ รยี นมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรียนการสอน ผเู้ รยี นจะไดร้ ับความสนกุ สนานจากการเรียน หากได้
เขา้ ไปมีส่วนรว่ มในการเรียนรู้ได้ทางานรว่ มกนั กบั เพ่ือน ๆ ได้คน้ พบขอ้ คาถามและค่าตอบใหม่ๆ สิ่งใหม่ๆ
ประเดน็ ทีท่ ้าทายและความสามารถในเร่ืองใหม่ ๆ ท่ีเกิดขน้ึ รวมท้งั การบรรลผุ ลสาเรจ็ ของงานท่ีพวกเขาริเรมิ่
ด้วยตนเองและสามารถพัฒนาผ้เู รียนใหม้ ีกระบวนการคดิ วเิ คราะหท์ ดี่ ีข้ึน นอกจากนเี้ พ่ือใหผ้ เู้ รียน ประสบ
ความสาเรจ็ ในการอ่านข้อสอบ การอ่านสรปุ งาน การอา่ นหนังสอื เพ่ือใจความสาคญั การอา่ น สื่อต่างๆ และ

22

ผู้เรียนสามารถส่อื ความหมายไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม และมงุ่ พัฒนาวิธกี ารสอน อา่ นท่เี หมาะสมของผู้สอน
ในการนาขน้ั ตอนการสอนและกิจกรรมการสอนทเ่ี กดิ ประโยชน์กบั ผูเ้ รยี น และผ้เู รยี นสามารถเข้าใจในการบท
อ่านจากวิธีการสอนของผู้สอนไดแ้ ละผเู้ รียนสามารถนาวิธีการอ่านเพื่อความเข้าใจไปใชไ้ ด้จริงในห้องเรียนและใน
ชวี ิตประจาวันต่อไป

2.5 งานวิจยั ท่เี ก่ียวข้อง

2.5.1 งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ียวกับการสอนอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจโดยใชแ้ ผนผงั มโนทศั น์และ
รปู แบบการสอนแบบ MACRO Model

บุรินทร์ แกว้ ประพันธ์ (2564) ได้ทาการศึกษาเร่ืองการใช้โปรแกรม GeoGebra ประกอบการจดั
กจิ กรรมการเรียนร้แู บบ MACRO model เพื่อพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง สถิติ
สาหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธภิ าพของการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้ MACRO model เรือ่ ง สถติ โิ ดยใชโ้ ปรแกรม Geogebra สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ใหม้ ี
ประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 70/70 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของบทเรยี นออนไลนเ์ รอ่ื ง สถติ ิ โดยใช้
โปรแกรม Geogebra ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการเรียน กล่มุ ตัวอยา่ งทใี่ ชใ้ นการวิจยั ครั้ง
น้ี ไดแ้ ก่ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทก่ี าลังศึกษาอยใู่ นภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนหอวัง
ปทุมธานี จานวน 37 คน โดยใชว้ ธิ สี มุ่ ตัวอย่างแบบเจาะจง เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบดว้ ยแผนการ
จัดการเรียนรู้เร่อื ง สถิติ โดยใช้โปรแกรม GeoGebra ประกอบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ MACRO model
สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน 7 ชุด และแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น จานวน 20 ข้อ
มคี ่าความยากงา่ ยต้ังแต่ 0.28-0.79 ค่าอานาจจาแนกต้ังแต่ 0.24-0.75 และคา่ ความเชือ่ ม่ันท้ังฉบบั เทา่ กับ 0.74
สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบคา่ ที Paired
Samples Test ผลการวจิ ยั พบวา่ 1) ประสิทธิภาพของแผนการจดั การเรยี นรเู้ รื่องสถิตโิ ดยใชโ้ ปรแกรม
GeoGebra ประกอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ MACRO model สาหรับนกั เรยี น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 มี
ค่าเทา่ กบั E1/E2 = 84.05/85.13 2) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนคณติ ศาสตรห์ ลงั เรยี นด้วยเร่ืองสถิตโิ ดยใช้
โปรแกรม GeoGebra ประกอบการ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ MACRO model สาหรบั นักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติที่ระดบั 0.05

ศศธิ ร สรุ ยิ วงศ์ (2555) ได้ทาการวจิ ัยเรื่องการพฒั นาแบบฝึกทกั ษะการอ่าน จับใจความโดยใช้
แผนผงั ความคิดสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อพฒั นา แบบฝกึ ทกั ษะการอ่าน
จบั ใจความใช้แผนผงั ความคิดสาหรบั นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มี ประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน
80/80 และเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนก่อนและหลงั ใช้ แบบฝึก กลมุ่ ตวั อย่างเป็นนกั เรยี นช้นั
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรยี น เทศบาลวัดลมุ่ มหาชยั ชมุ พล อ.เมือง จ.ระยอง
จานวน 35 คน ซึง่ ได้มาจากการสุม่ แบบกลุ่ม (Cluster Sampling) จากจานวนนักเรียนทง้ั หมด 3 หอ้ งเรียน
ใชเ้ วลาในการทดลอง 15 ช่วั โมง สถิตทิ ีใ่ ช้ในการ วิเคราะห์ขอ้ มูลได้แก่ ค่าเฉล่ยี คา่ ร้อยละ คา่ ความเบย่ี งเบน
มาตรฐาน ทดสอบคา่ t-test (Dependent sample) ผลการวจิ ยั พบว่าแบบฝกึ ทักษะการอา่ นจับใจความโดย
ใช้แผนผังความคิดสาหรบั นกั เรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสทิ ธภิ าพ เทา่ กบั 83.42/85.71 ซึง่ สูงกวา่
เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ท่กี าหนดไว้และมีผลสัมฤทธ์ิหลังเรยี นด้วยแบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความโดยใช้
แผนผงั ความคิด สูงกวา่ กอ่ นเรียนอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01

23

นติ ยภัทร์ ธาราสุข (2557) ไดท้ าการศกึ ษาการพฒั นาแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะการอ่าน เพื่อความเข้าใจ
โดยใช้กลวิธีสตารท์ และแผนภมู คิ วามหมาย สาหรบั นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรยี นวดั ไทร (สินศึกษา
ลัย) โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือพัฒนาแบบฝกึ เสรมิ ทักษะการอ่านเพื่อความ เข้าใจ เพื่อเปรียบเทยี บความสามารถ
ในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ นเพ่ือความเข้าใจ
โดยใชโ้ ดยใชก้ ลวธิ สี ตาร์ทและแผนภูมคิ วามหมาย และ เพ่ือศกึ ษาความเห็นของนักเรยี นท่ีมตี ่อแบบฝึกเสริม
ทักษะการอ่านเพอ่ื ความเข้าใจโดยใช้กลวธิ ีสตาร์ท และแผนภูมิความหมายทสี่ รา้ งขน้ึ กลมุ่ ตวั อย่าง คือ
นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดไทร (สินศกึ ษาลัย) จานวน 30 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างงา่ ย
(Simple Random sampling) โดยใช้ ห้องเรียนเปน็ หนว่ ยส่มุ เครอ่ื งมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แบบฝกึ เสรมิ
ทกั ษะการอา่ นเพื่อความเข้าใจ โดยใชก้ ลวธิ สี ตาร์ทและแผนภมู คิ วามหมายมปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์75/75
แบบทดสอบวัด ความสามารถในการอ่านเพอื่ ความเขา้ ใจ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรยี น
ผลการวิจยั พบวา่ แบบฝึกเสริมทกั ษะการอา่ นเพื่อความเข้าใจ โดยใช้กลวิธสี ตารท์ และแผนภมู ิความหมาย มี
ประสทิ ธิภาพเทา่ กับ 76.46/75.75 ซ่งึ สูงกว่าเกณฑ์แสดงวา่ แบบฝกึ เสริมทักษะการอา่ นเพือ่ ความ เขา้ ใจมี
ประสทิ ธภิ าพอยู่ในเกณฑด์ ี ความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนหลงั การสอน โดยใชแ้ บบฝกึ
เสรมิ ทกั ษะการอ่านเพ่ือความเขา้ ใจโดยใช้กลวธิ ีสตารท์ และแผนภูมคิ วามหมาย สงู กว่า ความสามารถในการ
อ่านก่อนได้การสอนโดยใช้แบบฝึกเสรมิ ทักษะการอ่านเพ่ือความเข้าใจ โดยใช้ กลวิธสี ตาร์ทและแผนภมู ิ
ความหมาย อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 และความคดิ เห็นของ นกั เรียนทมี่ ตี ่อแบบฝึกเสรมิ ทักษะ
การอา่ นเพื่อความเขา้ ใจ โดยใช้กลวธิ ีสตาร์ทและแผนภูมิ ความหมาย อยใู่ นระดับดมี าก

สุพัตรา มูลละออง (2557) ได้ทาการศึกษาเก่ียวกับการพฒั นาแบบฝึกเสรมิ ทักษะ การอา่ นเพอ่ื ความ
เข้าใจโดยใช้การอ่านกลวธิ แี บบรว่ มมือและเทคนิคแผนผังกราฟกิ สาหรับนักเรียน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โดยมี
วตั ถุประสงค์เพอ่ื พัฒนาแบบฝึกเสรมิ ทักษะการอา่ นเพ่ือความเข้าใจโดยใช้ การอา่ นกลวิธีแบบร่วมมอื และ
เทคนคิ แผนผงั กราฟิก เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อ ความเขา้ ใจของนักเรยี น ก่อนและหลงั
การเรยี นโดยใช้แบบฝึกเสรมิ ทักษะการอา่ น และเพ่ือศึกษา ความคดิ เหน็ ของนักเรยี นทีม่ ีตอ่ แบบฝึกเสริม
ทักษะการอ่านเพอื่ ความเข้าโดยใช้การอ่านกลวธิ ีแบบ ร่วมมอื และเทคนิคแผนผงั กราฟิก กลุ่มตวั อยา่ ง คอื
นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 จานวน 30 คน โรงเรยี นสระยายโสมวทิ ยา ไดม้ าจากการสุ่มอยา่ งง่าย (Simple
Random sampling) โดยใช้ห้องเรียน เป็นหนว่ ยสมุ่ ทาการทดลองโดยใหน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะการ
อา่ นท่งี านวิจัยน้สี รา้ งข้นึ จานวนทงั้ สิ้น 18 คาบ เป็นเวลา 6 สปั ดาห์ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นการทดลองคอื แบบฝึก
เสรมิ ทักษะการ อา่ นเพอ่ื ความเขา้ ใจโดยใช้การอา่ นกลวิธแี บบร่วมมอื และเทคนิคแผนผงั กราฟิก แบบทดสอบ
วดั ความสามารถทางการอ่านเพอื่ ความเข้าใจภาษาอังกฤษก่อนและหลังการทดลอง และแบบสอบถาม ความ
คิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อแบบฝกึ เสริมทักษะการอ่านเพ่ือความเขา้ ใจ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลใช้ t-test เพ่ือ
เปรยี บเทียบความสามารถในการอา่ นเพื่อความเข้าใจของนักเรียนก่อนและหลังการเรยี น ดว้ ยแบบฝึกทกั ษะ
การอ่านและใช้คา่ เฉลี่ยตลอดจนสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานในการหาค่าระดับความ คิดเหน็ ของนักเรยี นท่ีมีต่อ
แบบฝกึ ทักษะการอา่ นท่สี ร้างขึ้น ผลการวจิ ยั พบวา่ ประสิทธภิ าพของแบบ ฝกึ เสริมทักษะการอ่านมีคา่ เทา่ กบั
81.63/85.08 เปน็ ไปตามเกณฑ์ ความสามารถในการอา่ นเพ่ือ ความเขา้ ใจของนักเรียนสูงข้ึนหลงั เรยี นด้วย
แบบฝกึ เสรมิ ทักษะการอา่ นอย่างมีนยั สาคัญทร่ี ะดับ .05 และนักเรียนมีความคดิ เหน็ ต่อแบบฝกึ เสรมิ ทักษะ
การอา่ นเพ่ือความเขา้ ใจโดยใชก้ ารอ่านกลวิธแี บบ รว่ มมือและเทคนิคแผนผังกราฟกิ อยู่ในระดับดีมาก

24

สภุ รัตน์ สทา้ นพล (2554) ได้ทาการศึกษาเร่ืองการใช้แผนภมู คิ วามหมายเพื่อ พัฒนาความสามารถ
ในการอ่านภาษาองั กฤษเพ่อื ความเขา้ ใจของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยมี จดุ มุ่งหมายเพอ่ื ศกึ ษาการใช้
แผนภมู คิ วามหมายเพื่อพฒั นาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนกั เรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรยี นเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการรัชดา กลมุ่ ตวั อยา่ ง คือ นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/5
โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกพฒั นาการ รัชดา ทเี่ รยี น วชิ าภาษาอังกฤษอ่านเขียน จานวน 34 คน โดยวธิ กี ารเลอื ก
แบบเจาะจง 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใชใ้ น การรวบรวมขอ้ มูล คอื แบบทดสอบวดั สามารถในการอ่าน
ภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจก่อนและหลงั ทดลอง และแบบสอบถามความคิดเหน็ ตอ่ การเรยี นการสอนการใช้
แผนภูมิความหมายเพื่อพฒั นา ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเขา้ ใจ โดยใช้สถิตกิ ารวิเคราะห์
ขอ้ มลู โดยการหาค่า ความแตกตา่ งระหว่างคะแนนทดสอบก่อนสอบและหลังสอบโดยใช้ Paired t-test และ
หาค่าเฉลี่ย mean, standard deviation ของเกณฑ์การให้คะแนนจากแบบสอบถามความคดิ เห็น จาก
ผลการวิจัย พบวา่ ความสามารถในการอ่านภาษาองั กฤษเพอื่ เข้าใจสงู ขึน้ หลงั จากได้รบั การเรยี นโดยใช้
แผนภมู ิ ความหมายเพ่อื พฒั นาความสามารถในการอา่ นอย่างมีนัยสาคญั ทางท่ีระดบั .01 ซง่ึ นักเรยี นมีความ
คิดเหน็ เชิงบวกต่อการเรยี นการสอนโดยใชแ้ ผนภูมคิ วามหมายชว่ ยใหน้ กั เรียนอ่านเนื้อเร่ืองได้เขา้ ใจ งา่ ยขน้ึ ซ่งึ
อยูใ่ นระดบั เห็นดว้ ยอยา่ งยิ่งโดยคะแนนเฉลย่ี เท่ากบั 4.53 ซง่ึ มีความเหมาะสมที่นามาใช้ใน การสอนอา่ น
ภาษาอังกฤษ

Attayib Omar (2015) ได้ศึกษาการพัฒนาการอา่ นเพอ่ื ความเขา้ ใจโดยใช้แผนผัง มโนทัศนด์ ว้ ย
โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ าหรับนักเรียนทเ่ี รียน ESP: English for Specific Purposes โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่ือ
ศกึ ษาผลกระทบการพฒั นาการอ่านเพ่ือความเขา้ ใจของนกั เรยี นโดยการใช้ แผนผงั มโนทัศน์ด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ กล่มุ ตัวอย่างคือนักเรยี นทลี่ งทะเบียนเรยี น ESP ในภาค เรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2013 เป็น
นักเรียนชาย จานวน 25 คน ใช้เวลาทดลอง 7 สัปดาห์ พบวา่ การใช้ แผนผังมโนทศั น์ด้วยโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์เพ่ือพฒั นาการอ่านเพ่ือความเข้าใจสาหรับนักเรยี นที่เรยี น ESP มผี ลในการอ่านในทางท่ีดขี ึ้นโดยมี
คา่ เฉลี่ยในการอ่านเพื่อความเขา้ ใจเพ่ิมขึ้นจาก 11.04 เป็น 15.64 หลังจากการทดลองเสรจ็ สิ้นนักเรียนมี
มุมมองในทางบวกในการอ่านและให้ความสนใจมากข้นึ นกั เรยี นมคี วามเห็นว่าการเรียนดว้ ยวิธีนีม้ ีความ
สะดวกในการเรียนทกั ษะอ่ืน ๆ ไมเ่ พียงแต่การอา่ น เท่านนั้ จากผลจากทดลองพบว่าการอา่ นโดยใช้แผนผงั
มโนทศั น์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอรไ์ ดผ้ ลดี และเป็นเทคนิคทเ่ี หมาะสมในการนามาสอนนักเรียน

Mazure (2001) ได้ศึกษาเรื่องผลการสอนอา่ นโดยใช้ผังกราฟิกเพื่อการระลึกถึงได้ และทัศนคติทีม่ ีตอ่
การเรียนของนักเรยี นโดยกลุ่มทดลองท่ีทาการสอนแผนผงั กราฟิก และกลุ่มควบคุม ทท่ี าการสอนด้วยวิธสี อน
แบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า การสอนอา่ นด้วยแผนผังกราฟิกชว่ ยให้ผู้เรียน มีความจดจาเนือ้ หาไดด้ ีและมี
ทศั นคติทดี่ ีต่อการเรียนสูงกวา่ การสอนอ่านดว้ ยวธิ ีสอนแบบปกติ ซึ่งมี ความสอดคลอ้ งกับ Millet (2001) ได้
ศึกษาเรื่องผลการใช้แผนผงั กราฟกิ ในการสอนอา่ นเพ่ือความ เขา้ ใจสาหรับเด็กชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โดยกลมุ่
ทดลองเรยี นโดยใชแ้ ผนผงั กราฟิก กลุ่มควบคุม ท่เี รยี นด้วยวธิ สี อนแบบปกติ ผลการวิจัยพบวา่ การสอนอา่ น
โดยใชผ้ ังกราฟิกชว่ ยให้ผเู้ รยี นมคี วามเขา้ ใจ ในการอ่านสงู กว่าการสอนอ่านด้วยวธิ สี อนแบบปกติอย่างมี
นัยสาคัญ

25

บทที่ 3
วธิ กี ารดาเนินการวิจัย

การวจิ ัยเรื่อง การใชแ้ ผนผังมโนทศั น์เพ่ือส่งเสริมการอา่ นภาษาองั กฤษเพื่อความเขา้ ใจรว่ มกบั การ
จดั การเรยี นการสอนแบบ MACRO Model สาหรับนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ผวู้ จิ ัยไดม้ วี ิธกี ารดาเนินการ
วิจัย ดังน้ี

1.ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
2. เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล
3. ขน้ั ตอนการสร้างและพฒั นาเคร่ืองมือ
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5. การวเิ คราะหข์ ้อมูล

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร ไดแ้ ก่ นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นกาแพงวิทยา

จานวน 8 หอ้ ง รวมท้งั หมด 312 คน ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
กลมุ่ ตวั อย่าง ไดแ้ ก่ นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นกาแพงวิทยา ที่กาลงั ศึกษาอยู่ใน

ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 จานวน 1 หอ้ งเรยี น ได้มาโดยวธิ กี ารสมุ่ อยา่ งง่าย (Simple random
sampling) จานวน 38 คน

2. เครอื่ งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1 แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจโดยใชผ้ งั มโนทัศน์ร่วมกับการจัดการ

เรยี นการสอนแบบ MACRO Model
2.2 แบบทดสอบวัดความสามารถทักษะการอ่านภาษาอังกฤษก่อนและหลังทดลอง
2.3 แบบสอบถามความคดิ เห็นของนักเรียนทมี่ ีต่อการสอนอ่านภาษาอังกฤษ เพอื่ ความเขา้ ใจโดยใช้

แผนผังมโนทัศน์ร่วมกบั การจัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model

3. ขนั้ ตอนการสรา้ งเครื่องมือ
1. แผนการจัดการเรียนรู้การอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจโดยใชผ้ ังมโนทัศน์รว่ มกบั การจดั การ

เรียนการสอนแบบ MACRO Model สาหรับนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน 1 แผน จานวน 6 ชว่ั โมง
ซ่ึงมขี ั้นตอนคือ

ขน้ั สร้าง
- การศึกษาเนือ้ หาเอกสารหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชน้ั
มัธยมศึกษาปที ี่ 3 เพือ่ พัฒนาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษโดย
- ศกึ ษาเอกสารข้นั ตอนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนผังมโนทัศน์
- ศกึ ษาการจัดการเรียนการสอนแบบ MACRO Model
-เขียนแผนการจัดการเรยี นรู้ให้ครอบคลมุ กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ของการวจิ ยั

26

-นาไปให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านประเมนิ
-ปรับกิจกรรมตามคาแนะนาของผเู้ ชยี่ วชาญ
ขัน้ นาไปใช้
-นาแผนการจัดการเรียนร้ทู ่ีปรับปรงุ แลว้ ไปใชส้ อนและเกบ็ ขอ้ มลู การวิจยั

2. แบบทดสอบวัดความสามารถทกั ษะการอา่ นภาษาอังกฤษก่อนและหลังทดลอง
ขัน้ สรา้ ง
- ศกึ ษาหลักสูตร เลอื กหวั ขอ้ เรอื่ ง/เนื้อหา
- สรา้ งแบบทดสอบวัดความสามารถทักษะการอ่าน คือ ข้อสอบแบบตวั เลอื กหรือข้อสอบ

แบบปรนยั เลอื กตอบ 4 ตัวเลือกจานวน 20 ขอ้ เพ่ือใช้ในการวดั ผลการอา่ นของนกั เรียน
-นาไปใหผ้ ู้เชี่ยวชาญ 3 ทา่ น ตรวจสอบพิจารณาความเหมาะสมของเน้ือหา (IOC)
-ปรบั ปรุงแกไ้ ขตามคาแนะนาของผูเ้ ช่ียวชาญ
ขน้ั นาไปใช้
-นาไปทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี นเพ่ือเก็บข้อมลู การวิจยั

2.3 แบบสอบถามความคดิ เห็นของนักเรียนท่ีมีตอ่ การสอนอา่ นภาษาอังกฤษ เพ่ือความเข้าใจโดยใช้
แผนผังมโนทศั น์รว่ มกับการจัดการเรยี นการสอนแบบ MACRO Model

ขั้นสรา้ ง
-ศึกษาแนวทางการสร้างแบบสอบถามตามแนวคดิ ของลิเคริ ์ท (Likert Scale)
-สรา้ งแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ จานวน 16 ขอ้
-นาไปใหผ้ ู้เชยี่ วชาญ 3 ทา่ น ตรวจสอบพิจารณาความเหมาะสมของเน้ือหา (IOC)
-ปรับปรงุ แก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชีย่ วชาญ
ขั้นนาไปใช้
-นาไปเกบ็ ขอ้ มูลการวิจยั

4. การเก็บรวบรวมข้อมลู
กระบวนการดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลตามข้ันตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี
-ขั้นก่อนการทดลอง ดาเนินการช้แี จงวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ัยและอธบิ ายวธิ กี าร เรียนโดย

การใชแ้ ผนผงั มโนทัศน์ให้กับนกั เรยี นและใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทักษะการอา่ นกอ่ นเรยี น
(Pre-test) จานวน 20 ข้อ ใชเ้ วลาในการทาแบบทดสอบครึ่งชวั่ โมง เม่อื แล้วเสรจ็ จงึ ตรวจและบันทึกคะแนน
ไว้

-ขั้นระหวา่ งการทดลอง ดาเนินการสอนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรูก้ ารอา่ น
ภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจโดยการใช้แผนผังมโนทศั น์ จานวน 5 บทเรียน บทเรียนละ 1 ชัว่ โมง รวมท้ังสิ้น 5
ชั่วโมง โดยการอธบิ ายรูปแบบแผนผงั มโนทัศน์ อธบิ ายคาศพั ท์ โครงสร้างทางภาษาและขน้ั ตอนการอ่านแบบ
ขา้ มเพอื่ หาข้อมลู บางส่วนท่ีเป็นประเดน็ สาคัญ (Skimming) และการอ่านแบบหาข้อมลู เฉพาะจากเนื้อหา
(Scanning) จากนั้นผ้สู อนประเมนิ ผลการอ่านอย่างไม่เป็นทางการของนักเรียนจากการตอบคาถามและการทา

27

กิจกรรมการเติมขอ้ มูลต่างๆ ลงในแผนผังมโนทัศน์ และแนะนาใหน้ ักเรียนนาข้อมลู จากการเขียน แผนผงั มโน
ทัศนม์ าเขียนใจความสาคญั จากบทอ่านดว้ ยตัวเอง

-ข้ันหลังการทดลอง
-นักเรียนทาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ ักษะการอ่านภาษาองั กฤษหลังเรยี น (Post-test) ซง่ึ
เปน็ แบบทดสอบฉบบั เดียวกบั แบบทดสอบก่อนเรยี น โดยเปน็ แบบทดสอบปรนยั 4 ตวั เลอื ก จานวน 20 ข้อ
ใช้เวลาในการสอบคร่งึ ชั่วโมง จากนน้ั นาแบบทดสอบมาตรวจใหค้ ะแนนโดยตอบถูกได้ 1 ตอบผิดได้ 0
-นักเรยี นทาแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชแ้ ผนผงั มโนทศั น์เพื่อ
ส่งเสริมการอา่ นภาษาอังกฤษเพ่อื ความเข้าใจ

3.6 การวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. การเปรียบเทียบทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยการใชแ้ ผนผังมโนทศั น์ ของ

นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นกาแพงวทิ ยาก่อนและหลงั เรยี น โดยใช้สถติ ิ t-test
2. วิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรยี นที่มีตอ่ การสอนอา่ นภาษาอังกฤษ เพอื่ ความ

เขา้ ใจโดยใชแ้ ผนผังมโนทัศน์ ซงึ่ เป็นมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ โดยนามาหาค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบน
มาตรฐาน แลว้ นาไปแปลความหมายค่าระดบั ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

เกณฑ์การประเมนิ ความหมาย
คา่ เฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถงึ เหน็ ด้วยมากทีส่ ุด
คา่ เฉลยี่ 3.51 - 4.50 หมายถงึ เหน็ ด้วยมาก
คา่ เฉลย่ี 2.51 - 3.50 หมายถึง เหน็ ดว้ ยปานกลาง
ค่าเฉล่ยี 1.51 - 2.50 หมายถงึ เห็นดว้ ยน้อย
คา่ เฉลย่ี 1.00 - 1.50 หมายถงึ เห็นดว้ ยน้อยทีส่ ุด

28

บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล

การวจิ ัยการใช้แผนผังมโนทศั น์เพอ่ื ส่งเสรมิ การอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเขา้ ใจรว่ มกับการจดั การ
เรยี นการสอนแบบ MACRO Model สาหรับนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นกาแพงวิทยา เปน็ การ
วจิ ัยเชงิ ทดลอง (Pre-Experimental research) โดยใชร้ ูปแบบ (One-Group Pretest-Posttest design) มี
วัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทยี บทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษเพ่ือความเขา้ ใจของนักเรยี นก่อนและหลัง
การเรียนร้โู ดยการใช้การใชแ้ ผนผังมโนทศั นเ์ พื่อสง่ เสริมการอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจร่วมกบั การ
จดั การเรียนการสอนแบบ MACRO Model สาหรับนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 และ 2) ศึกษาความคดิ เหน็
ของนักเรยี นท่ีมีตอ่ การจดั การเรียนรโู้ ดยการใชแ้ ผนผงั มโนทัศนเ์ พื่อสง่ เสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพ่อื ความ
เข้าใจรว่ มกับการจดั การเรยี นการสอนแบบ MACRO Model สาหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โดยข้อมลู
ทีไ่ ด้จากการวิเคราะหข์ ้อมูลจะนามาเสนอเปน็ ประเด็น ดงั นี้

4.1 ความสามารถทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพอ่ื ความเข้าใจ
เพือ่ ตอบวตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั ขอ้ ที่ 1 ใหน้ ักเรียนกลุ่มตวั อย่างทง้ั หมด 38 คน ทาแบบทดสอบวดั ผล

สัมฤทธ์ทิ ักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจก่อนและหลังการทดลอง ซงึ่ เป็นแบบทดสอบการอ่านชุด
เดียวกัน จานวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม 20 คะแนน จากนั้นจงึ นาคะแนน ท่ีได้มาจากการทดสอบทั้งสองคร้ังมา
เปรียบเทียบทกั ษะการอ่านเพ่ือความเข้าใจของกลมุ่ ตวั อยา่ งและหาผลต่างของคะแนนจากการทดสอบก่อน
และหลังการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้โดยใช้แผนผัง มโนทศั น์

ผลการวิเคราะหค์ ะแนนแสดงให้เห็นว่าคะแนนทกั ษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความ เข้าใจของ
นักเรียนกลุม่ ตัวอยา่ งจานวน 30 คน กลมุ่ ตัวอยา่ งมีทักษะการอ่านหลังการทดลองสงู ขน้ึ โดยมคี ะแนนกอ่ น
เรียนต่าสดุ เท่ากบั 4 คะแนน คะแนนสงู สุดเทา่ กับ 13 คะแนน ในขณะทคี่ ะแนน หลังเรียนตา่ สุดเทา่ กับ 14
คะแนน คะแนนสูงสุดเทา่ กบั 20 คะแนน คะแนนผลตา่ งสูงสดุ เทา่ กับ 11 คะแนน คะแนนผลตา่ งตา่ สดุ 4
คะแนน

29

ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ระหว่างก่อนและหลงั การเรยี นรู้ด้วยแผนผังมโนทัศน์
การทดสอบ คะแนนเต็ม Mean S.D. t df Sig

ก่อนเรยี น 20 9.80 2.41 -25.793 38 .000

หลังเรียน 20 17.17 1.70

*มนี ัยสาคัญทางคา่ สถิติทรี่ ะดับ .01

จากตารางท่ี 1 แสดงใหเ้ หน็ ว่า คา่ เฉลี่ยทกั ษะการอ่านภาษาองั กฤษของกลุ่มตัวอย่างหลัง การทดลองสงู กวา่
ก่อนการทดลองอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ .01 ซง่ึ ค่าเฉล่ียทักษะการอา่ นหลงั การ ทดลอง (Mean = 17.17,
S.D. = 1.70) สูงกวา่ ค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนการทดลอง (Mean = 9.80, S.D. = 2.41) คา่ สถติ ิ t เท่ากับ
-25.793 สรุปว่า ทกั ษะการอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจของกลมุ่ ตัวอยา่ งหลังการทดลองสูงกว่ากอ่ นการ
ทดลองโดยใช้แผนผงั มโนทัศน์เพื่อสง่ เสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ

ตารางที่ 2 การลาดับผลต่างคะแนนทักษะการอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจก่อนและหลังการใช้ แผนผัง
มโนทศั นเ์ พื่อส่งเสริมการอ่านเพอื่ ความเข้าใจ

นักเรยี นคนที่ คะแนนเต็ม (20) ผลต่าง (D) ร้อยละ

กอ่ นเรียน หลงั เรียน ผลตา่ ง (D)

1 4 15 11 55.00

2 5 15 10 50.00

3 11 20 9 45.00

4 11 20 9 45.00

5 5 14 9 45.00

6 10 19 9 45.00

7 9 17 8 40.00

8 9 17 8 40.00

9 11 19 8 40.00

10 9 17 8 40.00

30

11 8 16 8 40.00

12 11 19 8 40.00

13 7 15 8 40.00

14 8 16 8 40.00

15 11 18 7 35.00

16 10 17 7 35.00

17 11 18 7 35.00

18 9 16 7 35.00

19 11 18 7 35.00

20 10 17 7 35.00

21 13 20 7 35.00

22 8 15 7 35.00

23 10 17 7 35.00

24 13 19 6 30.00

25 12 18 6 30.00

26 8 14 6 30.00

27 12 18 6 30.00

28 12 17 5 25.00

29 13 17 4 20.00

30 13 17 4 20.00

23 10 17 7 35.00

24 13 19 6 30.00

25 12 18 6 30.00

31

26 8 14 6 30.00

27 12 18 6 30.00

28 12 17 5 25.00

29 13 17 4 20.00

30 10 17 7 35.00

31 13 19 6 30.00

32 12 18 6 30.00

33 8 14 6 30.00

34 12 18 6 30.00

35 12 17 5 25.00

36 13 17 4 20.00

37 13 17 4 20.00

38 12 17 5 25.00

จากตารางท่ี 2 แสดงให้เหน็ ว่าผลการวิเคราะห์ค่าผลตา่ ง (D) ทีไ่ ดจ้ ากการทดสอบก่อน และหลงั การใชแ้ ผนผงั
มโนทศั นเ์ พื่อสง่ เสริมการอา่ นเพอ่ื ความเขา้ ใจ โดยการทาแบบทดสอบก่อนและหลงั เรียน คะแนนเตม็ 20
คะแนน พบว่าคา่ เฉล่ยี ก่อนเรียนเท่ากับ 9.80 คา่ เฉล่ียหลังเรยี นเทา่ กับ 17.17 และมีค่าเฉลยี่ ผลต่างเทา่ กบั
7.37 ซ่ึงทาให้เหน็ วา่ นักเรยี นมคี ่าคะแนนเฉลยี่ หลงั เรียนสงู ข้นึ กวา่ ก่อนเรยี น โดยมีนกั เรียน 2 คน (รอ้ ยละ
6.67) ทไ่ี ดค้ ะแนนหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรยี นมากกวา่ ร้อยละ 50 และมีนกั เรยี น 3 คน (รอ้ ยละ 10) ทีไ่ ด้
คะแนนหลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรียนน้อยกว่ารอ้ ยละ 25 (คดิ เปน็ ร้อยละ 83.33 ของกล่มุ ตวั อย่างทง้ั หมด)

4.2 การจัดการเรียนรโู้ ดยใชแ้ ผนผังมโนทัศนเ์ พ่อื สง่ เสริมการอ่านภาษาองั กฤษเพื่อความเข้าใจ
เพือ่ ตอบวัตถปุ ระสงค์ขอ้ ท่ี 2 หลงั จากทาการทดลองโดยการใช้แผนผังมโนทศั น์เพื่อ สง่ เสรมิ การอ่าน

ภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ ทัง้ 5 บทเรยี น นกั เรียนกลุ่มตัวอย่างทง้ั 30 คน ทาแบบสอบถามความคดิ เห็นที่
มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผนผังมโนทัศนเ์ พ่ือส่งเสริมการอ่าน ภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ พบว่า
นักเรยี นมีความคดิ เหน็ ต่อการจดั การเรียนรูโ้ ดยการใชแ้ ผนผัง มโนทัศนเ์ พื่อส่งเสรมิ การอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อ
ความเขา้ ใจทัง้ 4 ด้านอยูใ่ นระดับเห็นดว้ ยมากที่สุด (Mean = 4.59, S.D. = 0.51) โดยแบง่ การนาเสนอข้อมูล
ออกเปน็ ลักษณะการจัดการเรียนรู้ ดงั น้ี

32

4.2.1 รูปแบบเน้อื หาของการจดั การเรียนรู้โดยการใช้แผนผังมโนทศั น์เพอื่ ส่งเสริมการ อา่ น
ภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจ จากการตอบแบบสอบถามความคิดเหน็ หลังการทดลอง พบวา่ นกั เรียนเห็นดว้ ย
มากท่ีสุดกับหัวขอ้ ย่อยทั้งสามประการของรปู แบบเน้อื หาการจดั การเรยี นรูโ้ ดยการใชแ้ ผนผังมโนทัศน์ เพื่อ
สง่ เสรมิ การอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเขา้ ใจ ซึง่ มีผลดังน้ีคือ ขนาดตัวอักษรอา่ นงา่ ยและชัดเจน (Mean =
4.63, S.D. = 0.49) การน าเสนอกจิ กรรมแต่ละข้ันตอนมีความชัดเจนและเข้าใจง่าย (Mean = 4.57, S.D. =
0.57) และรปู ภาพประกอบมีความเหมาะสมกับเน้ือหา (Mean = 4.53, S.D. = 0.51) ดังแสดงในตารางท่ี 7

ตารางที่ 3 ความคดิ เหน็ ของนักเรยี นที่มรี ปู แบบเนอื้ หาของการจดั การเรียนรโู้ ดยการใชแ้ ผนผงั มโนทศั นเ์ พื่อ
ส่งเสรมิ การอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ

เนือ้ หาการประเมิน Mean S.D. ระดบั ความคิดเห็น

ดา้ นรปู แบบเน้อื หา รวม 4.58 0.52 เหน็ ดว้ ยมากท่สี ดุ

ขนาดตัวอักษรอ่านงา่ ยและชัดเจน 4.63 0.49 เห็นด้วยมากทีส่ ดุ

รปู แบบแผนผงั มโนทศั นม์ ีความชดั เจนเข้าใจง่าย 4.57 0.57 เหน็ ดว้ ยมากทสี่ ุด

รูปภาพประกอบมีความเหมาะสมกบั เน้ือหา 4.53 0.51 เหน็ ด้วยมากทส่ี ุด

4.2.2 เน้อื หาบทอ่าน

ผลการวเิ คราะหค์ วามแบบสอบถามความคิดเหน็ ของนักเรยี นกลมุ่ ตวั อย่าง พบว่า นกั เรียนเห็นดว้ ย
มากทีส่ ดุ ว่าเนื้อหาบทอ่านมีความสอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (Mean = 4.60, S.D. = 0.50) ปรมิ าณ
เน้ือหาเหมาะสมกับจานวนชั่วโมงเรียน (Mean = 4.60, S.D. = 0.56) และความยากง่ายของเนอ้ื หา
เหมาะสมกบั ระดับช้นั (Mean = 4.53, S.D. = 0.51) ดงั แสดงในตารางที่ 8

ตารางที่ 4 ความคดิ เหน็ ของนักเรยี นทีม่ ีต่อเน้ือหาของการจัดการเรยี นรู้โดยการใชแ้ ผนผังมโนทศั น์ เพ่ือ
ส่งเสรมิ การอ่านภาษาอังกฤษเพอื่ ความเข้าใจ

เนอื้ หาการประเมิน Mean S.D. ระดบั ความคิดเห็น

ด้านเนือ้ หา รวม 4.58 0.52 เหน็ ดว้ ยมากท่สี ดุ

ปรมิ าณเน้อื หาเหมาะสมกบั จานวนชั่วโมงเรยี น 4.60 0.56 เหน็ ด้วยมากทส่ี ดุ

เนอื้ หามคี วามสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรยี นรู้ 4.60 0.50 เห็นดว้ ยมากทส่ี ดุ

ความยากง่ายของเนอ้ื หาเหมาะสมกับระดบั ช้ัน 4.53 0.51 เห็นดว้ ยมากที่สุด

33

4.2.3 กจิ กรรมการสอนอ่าน

ผลการวิเคราะห์ความคดิ เห็นของนักเรียนกลุ่มตวั อย่าง พบวา่ นกั เรยี นเหน็ ด้วยใน ระดับมากท่ีสุดทงั้
5 ประการ คอื กจิ กรรมแผนผงั มโนทัศน์ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ (Mean = 4.63, S.D. = 0.46) กจิ กรรมข้ัน
กอ่ นอา่ นน่าสนใจและช่วยให้ผูเ้ รยี นเข้าใจเร่ืองได้งา่ ยขน้ึ (Mean = 4.63, S.D. = 0.49) และการใช้แผนผัง
มโนทศั น์ชว่ ยใหต้ อบคาถามจากเรื่องท่ีอา่ นได้ดี (Mean = 4.63, S.D. = 0.49) การใช้แผนผังมโนทศั น์ชว่ ยให้
เชอื่ มโยงความเข้าใจเน้ือหาจากเรอื่ งทอ่ี ่านไดด้ ี (Mean = 4.57, S.D. = 0.57) กจิ กรรมขั้นการอา่ นการใช้
แผนผังมโนทัศนช์ ่วยให้เขา้ ใจการอ่านได้ ง่ายข้ึน (Mean = 4.57, S.D. = 0.50) อยา่ งไรก็ตามนักเรียนเห็นดว้ ย
ในระดบั มาก 1 ประการ คือ กิจกรรมหลังการอา่ นการใชแ้ ผนผงั มโนทัศน์ชว่ ยใหส้ ามารถเขยี น main idea
จากเร่ืองท่ีอ่านได้ดี (Mean = 4.40, S.D.= 0.50) ดังแสดงในตารางที่ 9

ตารางที่ 5 ความคดิ เห็นของนักเรียนทม่ี ีต่อกิจกรรมการสอนอ่านโดยการใชแ้ ผนผังมโนทัศนเ์ พื่อ ส่งเสริมการ
อ่านภาษาองั กฤษเพือ่ ความเข้าใจ

เนอ้ื หาการประเมนิ Mean S.D. ระดบั ความคิดเหน็

ด้านกิจกรรมสอนการอ่าน รวม 4.57 0.50 เห็นดว้ ยมากทส่ี ุด

กิจกรรมแผนผงั มโนทัศนต์ รงตามวัตถปุ ระสงค์ 4.63 0.49 เหน็ ด้วยมากท่สี ดุ

กจิ กรรมข้ันก่อนอ่านน่าสนใจและช่วยให้ผเู้ รียน เข้าใจเรือ่ งไดง้ ่ายข้นึ 4.63 0.49 เห็นด้วยมากทีส่ ดุ

การใช้แผนผังมโนทศั นช์ ว่ ยใหต้ อบคาถามจาก เร่ืองที่อ่านได้ดี 4.63 0.49 เห็นด้วยมากที่สุด

การใชแ้ ผนผังมโนทัศนช์ ่วยใหเ้ ชอื่ มโยงความ เข้าใจเนือ้ หาจากเรื่องท่ีอ่านไดด้ ี 4.57 0.57 เห็นด้วยมากทส่ี ุด

กจิ กรรมขั้นการอ่านการใชแ้ ผนผังมโนทัศนช์ ่วยให้ เขา้ ใจการอ่านได้งา่ ยข้นึ 4.57 0.50 เห็นดว้ ยมากทีส่ ดุ
4.40 0.50 เหน็ ด้วยมาก
กจิ กรรมหลงั การอา่ นการใช้แผนผังมโนทศั นช์ ว่ ย ให้สามารถเขยี น main
idea จากเรือ่ งทอี่ ่านได้ดี

4.2.4 คุณประโยชน์

ผลการวิเคราะห์ความคิดเหน็ ของนักเรียนกลุ่มตวั อย่าง พบวา่ นกั เรียนเหน็ ด้วยใน ระดับมากทส่ี ุดต่อ
ด้านคณุ ประโยชน์ ท้ัง 4 ประการ คือ กจิ กรรมแผนผงั มโนทัศนก์ ระตุน้ ใหผ้ ู้เรียน สนใจเน้อื หาการอ่านมากข้นึ
(Mean = 4.77, S.D. = 0.43) แผนผังมโนทศั น์ชว่ ยผู้เรยี นมีความสนใจ เรียนมากขนึ้ (Mean = 4.67, S.D. =
0.48) กจิ กรรมแผนผังมโนทัศน์ช่วยเพ่มิ ความสามารถในการ อ่านไดด้ ี(Mean = 4.60, S.D. = 0.50) และการ
ใช้แผนผงั มโนทศั น์ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นทาแบบทดสอบหลัง เรียนไดด้ ขี ้นึ (Mean = 4.53, S.D. = 0.63) ดังแสดงใน
ตารางที่ 10

34

ตารางท่ี 6 ความคิดเหน็ ของนักเรียนทีม่ ตี ่อคุณประโยชน์ของการใช้แผนผังมโนทศั น์เพื่อส่งเสรมิ การ อา่ น
ภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจ

เนื้อหาการประเมิน Mean S.D. ระดับความคดิ เห็น

ด้านคณุ ประโยชน์ รวม 4.64 0.51 เหน็ ดว้ ยมากที่สดุ

กิจกรรมแผนผงั มโนทัศนก์ ระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นสนใจ เนื้อหาการอ่านมากขึน้ 4.77 0.43 เห็นดว้ ยมากทีส่ ดุ

แผนผงั มนทัศนช์ ว่ ยผู้เรยี นมคี วามสนใจเรยี น มากข้ึน 4.67 0.48 เหน็ ด้วยมากท่ีสดุ

กิจกรรมแผนผงั มโนทัศนช์ ่วยเพมิ่ ความสามารถ ในการอ่านได้ดี 4.60 0.50 เหน็ ดว้ ยมากทส่ี ุด

การใช้แผนผังมโนทศั นช์ ว่ ยใหผ้ ้เู รียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนไดด้ ีข้ึน 4.53 0.63 เห็นด้วยมากที่สดุ

35

บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การวิจยั เรอื่ ง การใชแ้ ผนผังมโนทศั นเ์ พื่อส่งเสริมการอา่ นภาษาองั กฤษเพ่ือความเขา้ ใจ สาหรบั
นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนกาแพงวทิ ยา เป็นการวจิ ยั เชิงทดลอง (experimental research)
โดยใชร้ ปู แบบ (One-Group Pretest-Posttest design) กลมุ่ ตวั อย่างที่ ใชใ้ นการวิจัยครั้งนค้ี อื นักเรยี นชั้น
มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนกาแพงวิทยา จานวน 38 คน ไดม้ าจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random
sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหนว่ ยสุ่ม สามารถสรปุ ผลการวิจัยไดด้ งั นี้

5.1 สรปุ ผลการวิจัย
การวิจยั คร้ังนีม้ ีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ 1) เปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพือ่ ความ เขา้ ใจของ

นกั เรียนก่อนและหลงั การเรยี นรโู้ ดยการใชแ้ ผนผังมโนทัศน์ร่วมกบั การจดั การเรยี นการสอนแบบ MACRO
Model และ 2) ศึกษาความคิดเห็นของ นักเรยี น ท่มี ีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แผนผังมโนทศั น์รว่ มกบั การ
จัดการเรยี นการสอนแบบ MACRO Model ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรยี นกาแพงวิทยา

การวจิ ัยคร้ังนใี้ ช้เวลาในการทดลองท้ังหมด 6 ช่วั โมง โดยแบง่ เปน็ การทดสอบก่อนเรียน คร่ึงชั่วโมง
ทดสอบหลังเรยี นคร่งึ ชว่ั โมงและดาเนินการทดลอง 5 ช่ัวโมง รวมทัง้ ส้ิน 6 ชวั่ โมง กอ่ นเริ่ม ทดลองงานวิจยั นี้
ใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านก่อนเรียนจานวน 20 ข้อ ซ่ึงเป็นแบบทดสอบวดั
ความสามารถทางการอา่ นแบบปรนัย โดยใช้การเรียนการสอนดว้ ยบทเรียนการใช้ แผนผงั มโนทศั นเ์ พ่ือ
สง่ เสริมการอ่านเพ่ือความเขา้ ใจจานวน 5 บทเรยี น หลงั จากนนั้ จงึ ใหน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบวดั ความสามารถ
ทางการอา่ นหลังเรยี น ซ่ึงเป็นแบบทดสอบฉบบั เดียวกนั กับแบบทดสอบก่อนเรยี น แล้วนาผลคะแนนท่ีไดไ้ ป
คานวณเพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางการอา่ นภาษาอังกฤษ เพื่อความเขา้ ใจของนักเรยี นก่อนและหลงั
การเรียนรู้โดยใช้แผนผังมโนทัศน์ โดยใช้สถิติ t-test แบบ จับคู่ (Paired Samples t-test) และนาข้อมูลจาก
แบบสอบถามความคดิ เห็นของนักเรียนทม่ี ีต่อการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้แผนผังมโนทศั น์มาวเิ คราะหห์ าคา่ เฉลยี่
(Mean) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนาไปแปลความหมายค่าระดบั ตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไว้

กลุม่ ตัวอยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัย ได้แก่ นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โรงเรียนกาแพงวิทยา จานวน 38
คน การวจิ ยั น้ี โดยงานวจิ ัยนี้ทาหนา้ ท่เี ป็นประเมินความสามารถทางการอ่าน ภาษาอังกฤษเพือ่ ความเข้าใจ
ของนักเรยี นกลมุ่ ตวั อยา่ ง เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นชว่ งระหวา่ งการทดลอง คือ แผนการจดั การเรียนรู้การอ่าน
ภาษาองั กฤษโดยใช้แผนผังมโนทัศน์สาหรับนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน 1 แผน และเคร่ืองมือชว่ ง
หลังการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านเพ่ือความเขา้ ใจหลงั เรยี นแบบปรนัย จานวน 20 ข้อ และ
แบบสอบถามความคดิ เหน็ ของนักเรียนที่มีการเรยี นรู้โดยใช้แผนผงั มโนทศั น์เพื่อส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษ
เพอื่ ความเขา้ ใจ สาหรบั นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดยแบง่ เปน็ 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านรปู แบบ ด้านเนื้อหาบท
อ่าน ด้านกิจกรรมการสอนอ่าน และ ด้านคุณประโยชน์

จากการศึกษาและวเิ คราะห์ข้อมูลการวจิ ยั สามารถสรปุ ผลได้วา่ จากคาถามการวิจยั ข้อท่ี 1 พบวา่
ความสามารถในการอา่ นภาษาอังกฤษของนักเรียนหลังการเรียนการสอนโดยใชแ้ ผนการจดั การเรียนร้โู ดยใช้
แผนผังมโนทศั น์เพ่ือสง่ เสรมิ การอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจสงู กวา่ ก่อนการเรียนการสอนโดยใช้
แผนการจดั การเรยี นรู้โดยใชแ้ ผนผงั มโนทัศน์เพื่อสง่ เสรมิ การอ่าน ภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจ และจาก
คาถามการวิจัยข้อที่ 2 พบว่า นักเรยี นกลุ่มตวั อยา่ งเหน็ ด้วยกบั การเรยี นการสอนโดยใชแ้ ผนผังมโนทศั น์เพื่อ

36

สง่ เสริมการอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือความเขา้ ใจ โดยเฉลี่ย (Mean = 4.59, S.D. = 0.51) แสดงวา่ นกั เรยี นมี
ความคิดเหน็ ต่อการใช้แผนผงั มโนทัศนเ์ พื่อส่งเสริม การอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจโดยภาพรวมอยใู่ น
ระดบั ความเหน็ ด้วยมากทส่ี ุดทกุ ด้าน ในบทน้ี จะได้อภิปรายประเดน็ สาคญั ท่ีไดจ้ ากการทดลอง โดยจาแนก
เปน็ 3 ประเด็นหลกั ไดแ้ ก่ ความสามารถ การอ่านภาษาองั กฤษเพื่อความเขา้ ใจ ลักษณะเนื้อหาบทอ่าน
ภาษาองั กฤษเพ่ือความเขา้ ใจสาหรบั ระดบั มัธยมศึกษา คุณประโยชน์และความสาคัญของการใช้แผนผังมโน
ทศั น์

5.2 การอภิปรายผล

5.2.1 ความสามารถการอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจสาหรบั นักเรยี นระดบั มธั ยมศึกษา
จากผลการวเิ คราะห์ค่าเฉลี่ยพบวา่ ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนกั เรียนหลงั การทดลอง

สงู กวา่ กอ่ นการทดลองอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01 ท้ังนี้อาจอธิบาย ไดว้ า่ คะแนนทกั ษะการอ่าน
ภาษาองั กฤษของนักเรยี นหลงั เรยี นสูงข้นึ เพราะ (1) กิจกรรมแผนผงั มโนทัศนส์ ามารถช่วยกระตุ้นให้นกั เรยี น
เกิดความสนใจในการอ่านและจะทาให้นกั เรียนสามารถอ่าน ได้ผลดขี ึน้ และ (2) ยังสามารถพฒั นาทักษะการ
อ่านภาษาอังกฤษเพือ่ ความเข้าใจแกผ่ เู้ รียนใหเ้ ขา้ ใจ ท้ังในดา้ นหวั ข้อเรื่อง รายละเอียดต่างๆ ของเน้อื หาบท
อา่ น คาศพั ท์ ตลอดจนความเข้าใจถงึ ใจความ สาคญั ของเรื่องที่อา่ น ซ่ึงในงานวจิ ัยนี้มกี ารจัดทาแผนการ
จดั การเรยี นรู้โดยใชแ้ ผนผงั มโนทศั น์ เพื่อส่งเสริมการอา่ นภาษาอังกฤษเพื่อความเขา้ ใจ มีเนอ้ื หาของบทอ่านท่ี
คดั เลอื กตามความเหมาะสมของเนอื้ หา โครงสรา้ งทางภาษา ระดับความยากงา่ ยของภาษา และกจิ กรรมการ
สอนและขน้ั ตอนการสอนอา่ นมคี วามเหมาะสมกบั ระดับชนั้ ของผเู้ รียนตามกระทรวงศึกษาธกิ ารกาหนด ทาให้
ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรูอ้ ยา่ งมีเปา้ หมายและเกิดประโยชนส์ งู สุดต่อผู้เรียน และได้ออกแบบข้ันตอนการจดั กิจกรรม
การสอนอ่านภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจแตล่ ะบท โดยนากจิ กรรมการสอนอ่านโดยใชแ้ ผนผังมโนทัศนม์ าใช้
ในข้นั ระหว่างการอ่าน (While-reading) เพ่ือช่วยส่งเสรมิ ให้นกั เรียนเขา้ ใจเนอ้ื หาการอ่านได้ง่ายด้วยการเติม
ข้อมูลตา่ งๆ ลงในแผนผงั มโนทศั น์และ ฝึกวิเคราะหเ์ นือ้ หาและสามารถนาไปเขียนใจความสาคญั ของเน้ือหา
การอา่ น ซ่งึ สอดคล้องกบั งานวิจัย ของ ถิรนันท์ ปานศุภวชั ร (2559) ที่พบวา่ นักเรยี นเข้าใจโครงสร้าง
ข้อความและสามารถเขยี นหรือเตมิ ขอ้ มูลลงในผงั กราฟกิ ของแตล่ ะบทได้ทันทีซ่งึ การเรียนร้โู ดยผังกราฟิก
สามารถพฒั นา ความสามารถทางการอ่านอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และยังสอดคลอ้ งกบั แนวคิดของ Vekiri
(2002) เน้อื หาซ่ึงอย่ใู นรปู กล่องข้อความทเ่ี ขียนสรุปเปน็ แนวคิดเพ่ือให้เป็นเร่อื งงา่ ยสาหรับผ้อู ่านโดยเฉพาะ ผู้
ทมี่ ีทักษะการอา่ นไม่ดนี กั เพ่ือให้มที ักษะในการอ่านและสามารถทาความเข้าใจในเนื้อหาได้งา่ ยข้นึ และในข้ัน
หลงั การอา่ น (Post-reading) เป็นกจิ กรรมเพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจดา้ นคาศัพท์ ประโยคตลอดจนเน้ือหา
โดยรวม โดยผสู้ อนให้ผู้เรยี นทาแบบฝึกหดั ถูก/ผิด เพื่อทดสอบความเขา้ ใจเบื้องตน้ และชแ้ี นะแนวทางการ
เขียนใจความสาคัญของเรื่องทอ่ี า่ นโดยยึดรายละเอยี ดเนื้อหาจากการเขียน แผนผงั มโนทัศน์เพ่ือเป็นการฝึก
วิเคราะหเ์ น้อื หาจากเรื่องท่ีอ่านโดยผูเ้ รียนสามารถใช้แผนผังมโนทศั น์ ในการสรปุ ใจความสาคัญจากเร่อื งท่ี
อา่ นได้ สอดคล้องกบั งานวจิ ยั ของ ชลธิดา หงส์เหม (2560) ทพี่ บว่า การใช้แผนท่ีความคิดสามารถสรปุ เรอื่ งท่ี
อา่ น และวเิ คราะห์ แสดงความคิดเหน็ จากเร่ืองท่ีอา่ นได้ดี ซึ่งสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของ Richards and
Rodgers (2004) และ พรสวรรค์ สีปอ้ (2550) มีความเห็น วา่ ผ้เู รียนสามารถแสดงความคิดเห็นของตน ที่
ไดร้ บั จากการอา่ นหรอื ประสบการณ์ การคดิ แกป้ ญั หาได้ และสามารถอ่านแลว้ เพ่อื ถ่ายโอนขอ้ มลู รวมถึงการ
จับใจความสาคญั ของเรือ่ ง สรุปเรื่องได้

37

นอกจากนผี้ ลการวเิ คราะหจ์ ากแบบสอบถามความคิดเหน็ ของนกั เรยี นทม่ี ตี ่อ ประเด็นด้านกจิ กรรม
การสอนอา่ นภาษาองั กฤษเพ่ือความเข้าใจ พบว่า นักเรียนเหน็ ด้วยมากที่สุด อาจเน่ืองมาจากกิจกรรมการ
สอนอา่ นเป็นกิจกรรม ที่นักเรียนได้ฝึกการอา่ น การตอบคาถามและ ลงมือปฏบิ ตั จิ ริงโดยการทาแผนผังมโน
ทัศน์ มกี าร วางแผนงาน การคดิ วเิ คราะห์เนื้อหา และการเขยี น เนื้อหาทเ่ี ขา้ ใจลงในแผนผังมโนทศั น์ ซ่งึ เป็น
พฒั นา กระบวนการอ่านอย่างเป็นระบบ

อย่างไรก็ตาม จากผลการวิเคราะหพ์ บว่านักเรียนมคี วามคิดเหน็ ตอ่ ดา้ นกิจกรรม หลงั การอา่ นการใช้
แผนผังมโนทัศน์ช่วยให้สามารถเขยี น main idea จากเรอ่ื งทีอ่ ่านได้ดมี ีค่าเฉลีย่ อย่ใู น ระดับต่าทีส่ ุดแมจ้ ะอยู่
ในระดับเห็นดว้ ยมากทีส่ ุด (Mean = 4.40, S.D.= 0.50) ก็ตามน้ัน อาจเนื่องมาจากนักเรยี นหลายคนยังมอง
ภาพรวมจากแผนผังมโนทัศน์ไมไ่ ด้และไม่สามารถวิเคราะห์ ตีความเร่ืองจากแผนผังมโนทศั นไ์ ด้ เน่อื งจาก
ทักษะการเขียนเป็นเรื่องยากสาหรับนกั เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นทาให้ต้องใชเ้ วลามากในการอธบิ าย
เพิม่ เติมและฝึกการตีความการอ่านจากแผนผงั มโนทัศนเ์ พ่ือนาไปเขียนใจความสาคัญ (main idea) ต่อไป

5.4 ขอ้ เสนอแนะ
การอา่ นมกี ารจาแนกกจิ กรรมไว้หลากหลายประเภท เชน่ การต้ังคาถาม การให้ คาดเดา การหา

ความชดั เจน การสรปุ เรื่องทอ่ี ่าน และการระบุใจความสาคัญ การอ่านหาประโยค หวั ข้อเรอื่ ง การสรุปและ
เขยี นใจความสาคญั (Main Idea) และการหาขอ้ มูลรายละเอียดจากเรื่อง ผสู้ อนควรเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นได้
ทากิจกรรมกลมุ่ เพื่อเกดิ ปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างนักเรยี นกบั นักเรียน และเปดิ โอกาสใหซ้ กั ถามระหว่างกจิ กรรมการ
อา่ นเพื่อใหเ้ กดิ ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งครกู ับนักเรียน เช่น ระดมสมองเป็นกลมุ่ การต้ังคาถาม การลาดับเร่ืองที่
อ่าน การเขียนแผนผังมโนทศั นภ์ ายในกลุม่ เพ่ือใหน้ กั เรียนไดเ้ ข้าใจบทอ่านมากยงิ่ ขึน้ จากผ้สู อนจึงใช้แผนผงั
มโนทศั น์ท่ีไม่มีขอ้ มูลการอ่านใหก้ บั นักเรยี นเพ่ือใชใ้ นการอ่านแลว้ เติมข้อมูลจากการอ่าน ซงึ่ จะชว่ ยให้เข้าใจ
การอา่ นไดเ้ ร็วขนึ้ ผเู้ รยี น สามารถอ่านแล้วเติมข้อมลู ได้ง่ายขน้ึ

นอกจากนค้ี วรเพ่ิมกจิ กรรม ทหี่ ลากหลาย เชน่ กจิ กรรมการพูดอภปิ ราย การพดู แสดงความคิดเหน็
เกี่ยวกบั เร่ืองที่อ่าน การเขยี น สรุปเรือ่ งเปน็ กลมุ่ เพื่อให้ผู้เรยี นเกิดทกั ษะเรียนรู้ทค่ี รบทุกดา้ นโดยการใช้
แผนผงั มโนทัศนส์ ามารถ ชว่ ยใหผ้ ้เู รียนจบั ใจความสาคญั จากเรอื่ งท่อี า่ นโดยดูจากองคป์ ระกอบหลักๆใน
แผนผงั ผงั มโนทัศน์ แลว้ นามาเขยี นใจความสาคัญ

นอกจากน้ีผ้สู อนควรเตรยี มสื่อ อปุ กรณ์ การเรียนการสอนให้สอดคล้อง วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ เช่น
รปู ภาพ วดี โี อ เพือ่ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความสนใจในการเรียนรู้

5.3.2 สื่อการเรยี นการสอน
การสอนการอ่านโดยใชแ้ ผนผังมโนทัศน์ ผูส้ อนควรมสี ื่อหรืออปุ กรณ์ต่างๆ เพ่ือกระตนุ้ ผู้เรยี นให้เกดิ
ความสนใจมากข้ึน
การเพ่ิมสีสันในแผนผงั มโนทัศนใ์ หม้ ากขน้ึ เพ่ือดงึ ดดู ความสนใจของนักเรียนใหม้ าก ขึ้น เช่น ตวั อยา่ ง
แผนผังมโนทัศนท์ ีส่ วยๆ มสี ีสันสวยงาม นอกจากนี้ผสู้ อนยงั ต้องดึงดูดความสนใจ การเรยี นรดู้ ว้ ยรูปภาพ
คาศัพท์ท่หี ลากหลาย สสี ันสวยงามและเชื่อมโยงคาถาม เพือ่ นาเข้าสู่บทเรยี น ในเน้ือหาทจี่ ะสอน ซึ่งจะเปน็
การเพิ่มสสี ันในการ เขียนแผนภมู ใิ หม้ สี สี นั สดใส ทาให้สามารถจดจาเน้ือหาได้งา่ ยขน้ึ

38

บรรณานกุ รม

กรมวชิ าการ. (2546). คมู่ ือการจดั การเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์
องคก์ ารรบั สง่ สนิ ค้าและพัสดุภณั ฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศักราช 2551: สาระการ
เรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ครุ ุสภา.

ครุรกั ษ์ ภริ มยร์ กั ษ์. (2540). นกั เล่านิทานสร้างนักอ่าน. กรงุ เทพฯ: สารพฒั นาหลักสูตร.
จาเนยี ร เล็กสุมา. (2552). การพฒั นาความสามารถในการอ่านจับใจความจากนิทานส่งเสรมิ คุณธรรม

ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 ด้วยการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้เทคนคิ การสรา้ งแผนท่ี
ความคิด. (วิทยานพิ นธป์ ริญญาศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต), มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.
ชลธดิ า หงส์เหม. (2560). การพัฒนาความสามารถในการอ่านเชิงวเิ คราะห์ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปี
ท่ี 2 โดยวธิ ีสอนแบบ SQ4R ร่วมกบั แผนที่ความคิด. Veridian e-Journal Silpakorn
University ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(3), 347.
ดเิ รก วรรณเศียร. (2559). เอกสารประกอบการสอน MACRO model : รปู แบบการจัดการเรียนรสู้ าหรบั
ศตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต. From http://regis.dusit.ac.th/images/news/
1421308421_MACRO/
ถิรนนั ท์ ปานศภุ วัชร. (2559). การพฒั นาแบบฝึกการอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเขา้ ใจโดยการเรียนการ
สอน โครงสรา้ งขอ้ ความรว่ มกบั ผงั กราฟิก สาหรบั นักศกึ ษาชั้นปที ่ี 2 คณะศกึ ษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจนั ทร์. Veridian e-Journal Silpakorn
University ฉบับภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศลิ ปะ, 9(3), 453.
นพเก้า ณ พทั ลุง. (2548). การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษระดบั ประถมศกึ ษา: ภารกิจเอกสาร
และตารา มหาวทิ ยาลัยทักษณิ .
นติ ยภัทร์ ธาราสุข. (2557). การพัฒนาแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะการอ่านเพ่ือความเข้าใจ โดยใชก้ ลวิธีสตาร์ท
(START) และแผนภูมคิ วามหมาย สาหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นวดั ไทร (สิน
ศึกษาลัย). (วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต), มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2545). การวจิ ัยเบ้ืองต้น (6 ed.). กรงุ เทพฯ: สวุ รี ิยาสาส์น.
บญุ ญริน บุญาบรริ กั ษ์. (2556). การพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะการอา่ นเพ่ือความเข้าใจโดยกลวธิ ี
โครงสร้างเรื่องเล่าผ่านนิทานภาพเคลื่อนไหว สาหรบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นวดั
สร้อยทอง สานักงานเขตบางซื่อกรงุ เทพมหานคร. (วิทยานพิ นธป์ ริญญาศึกษาศาสตร์
มหาบัณฑิต), มหาวิทยาลยั ศิลปากร.

บุรนิ ทร์ แกว้ ประพันธ์ (2564) การใช้โปรแกรม GeoGebra ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้แู บบ
MACRO model เพอื่ พฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ าคณติ ศาสตรเ์ ร่อื ง สถิติสาหรับ นักเรยี นชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 สบื คน้ เมือ่ 15 มนี าคม 2565, จาก https://hwp.ac.th/wp-
content/uploads/2021/11/CAR_Burin-1-64.pdf

ประเทนิ มหาขันธ์. (2530). การสอนอา่ นเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.์

39

ปิยาภรณ์ โคตรชมภู. (2555). การพฒั นาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดย
กลวิธกี ารสอนอา่ นแบบ DR-TA สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5. (วิทยานพิ นธ์ ศศ.ม.),
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธานี.

พรสวรรค์ สีปอ้ . (2550). สุดยอดวิธสี อนภาษาอังกฤษ นาไปสู่การจัดการเรียนรูข้ องครยู ุคใหม่.
กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทัศน์.

มณนิภา ชุติบุตร. (2542). รายงานการวจิ ยั เรอ่ื ง ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ กบั การพัฒนาหลักสตู รและการ
จัดการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ: กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร.

วิสาข์ จัตวิ ตั ร์. (2543). การสอนอา่ นภาษาองั กฤษ (Teaching English Reading Comprehension).
นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วีณา สงั ขท์ องจนี . (2530). ระดับความสามารถด้านการอ่านภาษาองั กฤษของนักเรียนระดับมธั ยมศกึ ษา
ตอนต้น.” (วิทยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต ), จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ศศธิ ร สรุ ยิ วงศ.์ (2555). การพัฒนาแบบฝึกทกั ษะการอา่ นจับใจความโดยใช้แผนผังความคดิ สาหรับ
นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม ภาควชิ าการ
อาชวี ศึกษาและพัฒนาสังคม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา, 8(1), 103-114.

สถาบนั ภาษาอังกฤษ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). คู่มอื
การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษแนวใหมร่ ะดบั ประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การ
สงเคราะหท์ หารผ่านศึก.

สมทุ ร เซน็ เชาวนิช. (2549). เทคนิคการอา่ นภาษาอังกฤษเพือ่ ความเข้าใจ. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.

สมทุ ร เซน็ เชาวนสิ . (2542). เทคนิคการอา่ นภาษาอังกฤษเพ่ือความเข้าใจ. กรงุ เทพฯ:
มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์.

สุพรรณี วราทร. (2545). การอ่านอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สพุ ัตรา มูลละออง. (2557). การพฒั นาแบบฝึกเสรมิ ทักษะการอ่านเพ่ือความเขา้ ใจโดยใช้การอ่านกลวิธี

แบบร่วมมือและเทคนิคแผนผงั กราฟกิ สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3. (วทิ ยานิพนธ์
ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑติ ), มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.
สภุ รัตน์ สทา้ นพล. (2554). การใชแ้ ผนภูมิความหมายเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ
เพอ่ื ความเขา้ ใจของนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5. (วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาศลิ ปศาสตรมหา
บณั ฑิต), มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

สุวทิ ย์ มูลคา. (2547). 21 วิธีจัดการเรยี นรู้: เพื่อพฒั นากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ: ภาพพมิ พ์.
อจั ฉริยา หนองห้าง. (2555). การพัฒนาทกั ษะการอา่ นภาษาองั กฤษเพื่อความเขา้ ใจโดยใช้หนังสอื อา่ น

เพ่ิมเติม สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3. (วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบัณฑติ ),
มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม.

Aebersold, J., & Field, M. (1997). From reader to reading teacher: Issues and strategies
for second language classrooms. Cambridge: Cambridge University Press.

Alderson, J. C. (2000). Assessing Reading. Cambridge: Cambridge University Press.
Anderson, N. (1999). Exploring Second Language Reading: Issues and strategies. Canada:

Heinle and Heinle Publisher.

40

Anderson, N. J. (1991). Individual differences in strategy use in second language reading
and testing. Modern Language Journal, 75(4), 460-472.

Attayib Omar, A.-M. (2015). Improving reading comprehension by computer-based
concept maps: a case study of ESP students at Umm-Alqura University.” British
journal of education 3, 4 (April): 1-20. Retrieved from
http://www.eajournals.org/wp-content/uploads/Improving-readingcomprehension-
by-using-computer-based-concept-maps.pdf

Boning, R. (1995). Multiple reading skills (Book D). Taiwan: McGraw-Hill, Inc.
Chang, K., Sung, Y., & Chen, I. (2002). The Effect of Concept Mapping to Enhance Text

Comprehension and Summarization. Journal of Experimental Education, 71, 5-
23.

Dornyei, Z. (2001a). Motivation: Applied linguistics in action. New York: Longman.
Dornyei, Z. (2001b). Motivational strategies in the language classroom. Cambridge:

Cambridge University Press.
Goodman, K. S. (1982). Language and Literacy. Boston: Routledge and Kogan Paul.
Grabe, W. (2000). Reading research and its implications for reading assessment.” In A.

Kunnan (Ed.), Fairness and validation in language assessment (pp. 226-260).
Cambridge: Cambridge University Press.
Grellet, F. (1981). Developing Reading Skills. Cambridge: Cambridge University Press.
Harmer, J. (2001). The Practice of English Language Teaching. England: Pearson
Education.
Harmer, J. (2007). The Practice of English Language Teaching. England: Pearson
Education.
Harris, A. J., & Sipay, E. R. (1979). How to Teach Reading: A Competency-Based Program.
New York: Longman, Ind.

Kane, M., & Trochim, W. (2007). Concept mapping for planning and evaluation. Applied
social research methods series, 5.

Mazure, P. A. (2001). “The value of graphic organizers on recall and attitude of fifthgrade
social studies students (Thailand)”. [CD-ROM]. Abstract from ProQuest
File: Dissertation Abstracts Item: 1381194.

McNamara, D. S. (2009). The Importance of teaching reading strategies. Perspectives on
Language and Literacy, 3(2), 34-38, 40.

Novak, J. D. (2002). Meaningful learning: the essential factor for conceptual change in
limited or appropriate propositional hierarchies (LIPHs) leading to empowerment
of learners. Science Education, 86(4), 548-571.

Novak, J. D. (2005). Results and implications of a 12-year Longitudinal Study of Science
Concept Learning. Science Education, 35(1), 23-40.

41

Novak, J. D. (2010). Learning, Creating, and Using Knowledge: Concept maps as
facilitative tools in schools and corporations. Journal of e-Learning and
Knowledge Society, 6(3), 21-30.

Novak, J. D., & Canas, A. J. (2006). The Theory Underlying Concept Maps and How to
Construct Them (Technical Report No. IHMC CmapTools 2006-01). Pensacola,
FL: Institute for Huan and Machine Cognition.

Novak, J. D., & Gowin, D. B. (1984). Learning How to Learn. New York: Cambridge
University Press.

Nunan, D. (1995). Language Teaching Methodology. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
Nunan, D. (2004). Task-Based Language Teaching. Cambridge: Cambridge University

Press.
Nuttall, C. (2005). Teaching Reading Skills in a foreign language. Oxford: Oxford

University Press.

Read, C. (2007). 500 Activities for the primary classroom. Oxford: Macmillan.
Richards, J. C., & Rodgers, T. S. (2004). Approaches and Methods in Language Teaching.

Cambridge: Cambridge University Press.
Salyor, J. G., Alexander, W. M., & Lewis, A. J. (1981). Curriculum planning for better

teaching and learning. New York: Holt, Rinehart and Winston.
Silberstein, S. (1994). Techniques and Resources in Teaching Reading. Oxford: Oxford

University Press.
Smith, F. (1985). Reading (2nd ed.). London: Cambridge.
Smith, F. (1988). Understanding reading (4th ed.). New Jersey: Lawrence Erbaum

Associates, Publishers.

Smith, F. (1994). Understanding Reading (5th ed.). Hillsdale, N.J.: Lawrence Erlbaum.
Strurm, J. M., & Rankin-Ericson, J. L. (2002). Effects of hand-drawn and computergenerated

concept mapping on the expository writing of middle school
students with learning disabilities. Learning Disabilities Research & Practice, 17,
124-139.
Vekiri, I. (2002). What Is the Value of Graphical Displays in Learning? Educational
Psychology Review, 14, 261-312.

42

ภาคผนวก

43

ภาคผนวก ก

รายช่อื ผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบเคร่ืองมอื การวิจยั

44

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครอื่ งมือการวจิ ัย

1. นางนรศิ รา หยีมะเหรบ็
ครูชานาญการ
ครผู ู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรยี นกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู จังหวดั สตลู

2. นางสาจติ ร ทพิ ยร์ องพล
ครชู านาญการ
ครผู สู้ อนวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนกาแพงวิทยา อาเภอละงู จงั หวัดสตลู

3. นางสาวจนั ทรา พัทคง
ครชู านาญการ
ครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ โรงเรียนกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู จังหวัดสตูล

45

ภาคผนวก ข
เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

46

ภาคผนวก ค
การหาคุณภาพเคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

47

การคานวณและการแปลผลค่า IOC
ที่มตี ่อแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการอา่ นเพอ่ื ความเข้าใจ รายวิชาภาษาอังกฤษ อ23102

แบบประเมนิ คา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) สาหรบั ผูเ้ ช่ียวชาญ
ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

ข้อสอบข้อท่ี คะแนนความเหน็ ของผู้เช่ยี วชาญ รวม ค่า IOC แปลผล

คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3

1 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

2 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

3 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

4 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

5 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

6 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

7 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

8 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

9 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

10 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

11 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

12 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

13 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

14 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

15 +1 +1 +1 3 1 ใชไ้ ด้

16 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

17 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

18 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

19 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้

20 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้


Click to View FlipBook Version