การเปล่ียนแปลงขนาด
ของประชากร
ครูวิชุดา พรหมคงบุญ
กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
โรงเรียนกาแพงวทิ ยา อ.ละงู จ.สตลู
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
สื บค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทาง
กายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงขนาดของประชากร
สิ่งมชี วี ติ ในระบบนิเวศ
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกับผู้อ่ืนได้
ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
1. นักเรียนมวี นิ ัย
2. นักเรียนใฝเ่ รียนรู้
3. นักเรียนมุง่ ม่นั ในการทางาน
ประชากร (population)
มาจากภาษาลาตินว่า populus
หมายถึง สิ่งมชี วี ิตชนิดเดียวกัน อาศัยอยูใ่ นท่ีเดียวกัน
ในระยะเวลาใดเวลาหน่ึง
ประชากร (population)
จงตอบว่าข้อใดบ้ ้างท่ถี ือวา่ เป็นประชากร
1. ประชากรปา่ ไม้ของไทย ปี 2541 ถกู ลักลอบตัดจานวนมาก
2. ประชากรบา้ นจดั สรรในกรุงเทพมหานคร ปี 2531 มี
อัตราการเพม่ิ สูงสุด
3. ประชากรต้นยางพาราของอาเภอควนโดน จังหวัดสตูล เมอ่ื ปี
พ.ศ. 2551
4. ประชากรยุงเพิม่ ข้ึนทกุ วัน
5. ประชากรนักเรียน ในโรงเรยี นกาแพงวทิ ยา จังหวดั สตูล
นั กเรียนสื บค้นข้อมูลเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงองค์ประกอบทางกายภาพ
และองค์ประกอบทางชวี ภาพท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
ส่ิงมีชวี ิตในระบบนิเวศ
ขนาดของประชากร
ปจั จยั ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
1. อัตราการเกิด (birth rate)
2. อัตราการตาย (death rate)
3. การอพยพ (migration)
การอพยพเข้า (immigration)
การอพยพออก (emigration)
การแพร่กระจายของประชากร
ปจั จัยจากัด ( limiting factor ) หมายถึง ปจั จยั บางประการ
ท่ีจาเป็นมากในการดารงชวี ติ ของส่ิงมีชวี ติ น้ันๆ หากขาด
ปจั จยั น้ีแล้วสิ่งมีชวี ติ ชนิดน้ันไมส่ ามารถดารงชวี ิตได้เลย
ปัจจัยจากัด
ปจั จยั ทาง ปัจจยั ทาง
กายภาพ ชวี ภาพ
การแพร่กระจายของประชากร
ปจั จัยทางกายภาพ : อุณหภมู ิ
การแพร่กระจายของประชากร
ปจั จัยทางกายภาพ : แสง
ปลาถา้ (อังกฤษ: Cave fish) คือปลาท่ีอาศัยอยู่
ในถา้ ท่ีมืดมิด โดยมากจะเปน็ ปลาที่มีผิวหนัง
สีขาวซดี เผอื กและตาบอดหรือตาเล็กมาก
เนื่องจากไม่ได้ใชส้ ายตาให้เปน็ ประโยชน์เลย
การแพร่กระจายของประชากร
ปัจจัยทางกายภาพ : ความสูงจากระดับนา้ ทะเล
การแพร่กระจายของประชากร
ปัจจยั ทางชวี ภาพ
ถกู นาเขา้ มาในประเทศไทยประมาณปี พ.ศ. 2498 โดย
ศาสตราจารย์ คมู า ผูเ้ ชย่ี วชาญพืชอาหารสัตวข์ อง FAO
ส่ังมาจากอินเดียเพอื่ ทดลองปลกู เป็นพชื อาหารสัตว์ แต่
เปน็ วชั พืชที่สาคัญนาความเสียหายมาสู่การเกษตรของ
ประเทศไทยเป็นอย่างมาก
หญา้ ขจรจบ หรอื หญา้ คอมมูนิสต์
(Pennisetum pedicellatum Trin.
การแพร่กระจายของประชากร
ปัจจยั ทางชวี ภาพ
เปน็ พืชน้าซ่งึ มถี ่ินดงั้ เดมิ อยใู่ นทวปี อเมรกิ าใต้ ได้มีการนา
ผกั ตบชวาเขา้ มาในประเทศไทยตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2444 จากเกาะ
ชวา อินโดนีเซยี โดยปลกู ไวท้ ่ีวงั สระปทมุ ในกรุงเทพฯ แต่จาก
การท่ีขยายพันธุ์ได้รวดเรว็ และเกิดนา้ ทว่ มวงั สระปทุม
ผกั ตบชวาจงึ หลดุ รอดออกมาและเกิดการแพรก่ ระจายไปทว่ั
จน กลายเปน็ วชั พชื นา้ ท่ีรุนแรง
ผกั ตบชวา
(Eichhornia crassipes)
การแพร่กระจายของประชากร
ปัจจัยทางชวี ภาพ
ปลาดดู ปลาซัคเกอร์ หอยเชอรร่ี
โดย WWF เผยวา่ ในชว่ งปี 1970-2014 ที่
ผา่ นมา โลกได้สูญเสียสัตวท์ ่ีมีกระดกู สันหลัง
ไปมากกวา่ 60% ไม่วา่ จะเปน็ สัตวเ์ ลี้ยงลกู ดว้ ย
นม นก ปลา สัตวค์ ร่ึงบกคร่ึงนา้ หรือแมแ้ ต่
สัตวเ์ ลื้อยคลาน โดยภูมิภาคลาตนิ อเมริกา
เป็นพื้นท่ีท่ีมจี านวนประชากรสัตวท์ ่ีมกี ระดกู
สันหลังล้มตายและสูญพันธุ์ไปมากทส่ี ุดถึง
89% เมือ่ เทียบกับชว่ งยุคทศวรรษ 1970
นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายถึงสาเหตทุ ี่ทาให้ขนาดของประชากรสิ่งมชี วี ติ ในขา่ วเปล่ียนแปลง
ไป และระบุองค์ประกอบทางกายภาพหรือองค์ประกอบทางชีวภาพที่ส่ งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรของสิ่งมชี วี ติ
นักเรียนสังเกตกราฟแสดงประชากรพารามีเซียม พร้อมช่วยกันอภิปรายวา่ ทาไมถึงเป็น
เชน่ นั้น
สรุ ป