The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปโครงการการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา กิจกรรม 3 นิเทศออนไลน์ พัฒนาทักษะดิจิทัล Online, On-Demand &In February จำนวน 3 กลุ่ม ครู 33 คน ระหว่างวันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pimporn Sarichun, 2022-02-22 03:25:51

สรุปโครงการการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา กิจกรรม 3

สรุปโครงการการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา กิจกรรม 3 นิเทศออนไลน์ พัฒนาทักษะดิจิทัล Online, On-Demand &In February จำนวน 3 กลุ่ม ครู 33 คน ระหว่างวันที่ 16-18 กุมภาพันธ์ 2565

คำนำ
เอกสารฉบบั นี้เป็นการสรปุ โครงการนิเทศ การพฒั นาทกั ษะดจิ ทิ ลั เพอื่ ใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นรู้
ของครูอาชวี ศึกษา กจิ กรรม 3 ประชุมพัฒนาทักษะดจิ ทิ ลั Online, On-Demand & In February เป็น
กิจกรรมลำดับถัดมาของโครงการฯ ท่ีได้ดำเนินการในปีงบประมาณ 2565 ระหว่างวันที่ 16-18 กุมภาพนั ธ์
2565 ทั้งหมด 3 กลุม่ เป็นกลมุ่ ตวั แทนครจู ากสถานศกึ ษาตา่ ง ๆ เป็นการประชุมออนไลน์ท้งั หมด ดว้ ย
ระบบ Ms Teams จำนวน 2 หลกั สูตร ประกอบดว้ ย หลกั สูตร การสรา้ งสื่อผสมผสานแอปพลิเคชนั มาจาก
2 สถานศกึ ษา หลกั สูตร การสรา้ งใบงาน เปน็ ตัวแทนครู จาก 21 สถานศึกษา จากกิจกรรมท้ังหมดได้ให้
ความรู้ในเร่ืองโปรแกรม/แอปพลิเคชันและให้คำปรกึ ษาแนะนำ แลกเปลย่ี นเรียนรเู้ พอ่ื จัดกจิ กรรมการเรียน
การสอนไปพร้อมกัน
ขอบพระคณุ ผบู้ ริหารสถานศึกษาท่ีสนับสนนุ ขับเคล่ือนใหเ้ กิดโครงการฯ น้ใี นสถานศึกษา คุณครูทีเ่ ข้า
การนิเทศรบั ความรู้และฝึกทักษะดจิ ิทลั ด้วยความต้งั ใจ อดทน ตรงตอ่ เวลา ครูประสานงานให้ทั้งสถานศกึ ษา
และศูนยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือได้ทำงานอย่างมรี ะบบและตามระเบยี บ

นางสาวพมิ พร ศะริจนั ทร์
กุมภาพนั ธ์ 2565

1

โครงการนเิ ทศ การพัฒนาทักษะดจิ ิทัลเพ่ือใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชวี ศึกษา
กจิ กรรม 3 ประชมุ พัฒนาทักษะดิจทิ ัล Online, On-Demand & In February

1. หน่วยงานรับผดิ ชอบ ศนู ย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนอื

ระยะเวลาดำเนินการ ธนั วาคม 2564 – กนั ยายน 2565

งบประมาณ 50,000 (ห้าหมนื่ บาทถว้ น)

2. ลกั ษณะโครงการ  โครงการตาม พ.ร.บ.งบประมาณ
 โครงการตามภาระงานปกติ
 โครงการพเิ ศษ (ไม่ใชง้ บประมาณ สอศ.)

3. ความสอดคล้อง/เช่ืองโยง/ภายใต้ ยุทธศาสตร์ นโยบาย จดุ เนน้ และมาตรการ
3.1 กระทรวงศึกษาธกิ าร
จดุ เนน้ การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั
3.2 สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
ประเดน็ 2 การยกระดบั พฒั นาคุณภาพการจัดการอาชวี ศึกษาโดยใชพ้ ้ืนที่เปน็ ฐาน ขอ้ 2.7

พัฒนาศักยภาพครูและบคุ ลากรอาชวี ศกึ ษาให้มีสมรรถนะ ในการใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการเรียนรทู้ ี่ทันสมัยใน
โลกดิจทิ ลั และโลกอนาคต

4. หลกั การและเหตุผล
การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยอี ยา่ งฉบั พลัน (Disruptive technology) ซง่ึ นอกจากจะสง่ ผลกระทบ ต่อ

ระบบเศรษฐกจิ แลว้ ยงั ส่งผลกระทบตอ่ การดำรงชีวิตของประชาชนในประเทศตา่ ง ๆ ทัว่ โลก ทีต่ อ้ งเผชิญกับ
เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในชีวติ ประจำวันมากมาย รวมไปถงึ ด้านการเรียนการสอนในสถานศึกษา ดังน้นั การศกึ ษา
ของไทยจำเปน็ ต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ วางแผนพฒั นาและ เตรียมกำลังคนท่ีจะเขา้ สู่
ตลาดงานเม่ือสำเร็จการศึกษาในระดับตา่ ง ๆ ปรับหลักสูตรและวิธี การเรยี นการสอนท่มี ีความยดื หยนุ่
หลากหลาย เพ่ือพฒั นาศักยภาพและขีดความสามารถจงึ ควรเรยี นรู้และเข้าใจเก่ียวกบั เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล เพ่อื ให้
ร้เู ทา่ ทันและนำไปใช้ให้เกิดประโยชนพ์ ร้อมรบั การเปลีย่ นแปลง (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560)
ประกอบกบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 เปน็ โรคอบุ ัติใหม่ (สำนัก
นายกรฐั มนตร,ี 2563) กระทรวง ศึกษาธกิ ารมีนโยบายและจดุ เน้น ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบรหิ ารจดั การ
อย่างมีคุณภาพและจดั การเรียนการสอนด้วยเคร่ืองมือปฏิบตั ิทีท่ ันสมัยและสอดคลอ้ งกับเทคโนโลยี
(กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2563) ซึง่ ตอ้ งอาศยั การพฒั นาความรู้และทักษะดิจิทลั ของครู เพอื่ ใชแ้ ละสรา้ ง
นวตั กรรมการเรยี นรู้ เปน็ ตวั กลางในการถา่ ยทอดเนือ้ หาจากผูส้ อนไปยังผู้เรยี น ชว่ ยผู้เรยี นเข้าใจเนอื้ ได้ง่าย ทุก
ที่ ทุกเวลา ตามความเหมาะสมของผเู้ รียนและสนุกสนานอยากเรียน สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
จึงให้ความสำคัญ กำหนดให้เป็นนโยบายและจดุ เน้น ได้แก่ การพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรอาชวี ศึกษาให้
มสี มรรถนะ ในการใชแ้ ละสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ท่ีทนั สมัยในโลกดจิ ทิ ัลและโลกอนาคต (สำนกั งาน
คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา, 2565) รวมถึงได้ออกแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์ฯ ให้

2

การจดั การเรียนการสอนเปน็ แบบตา่ ง ๆ เพ่ือให้ครูได้ใช้และสร้างนวตั กรรมให้เหมาะกับสถานการณ์ อาทิ การ
จดั การเรียนแบบผสมผสาน คือ การจัดการเรียนรทู้ ใ่ี ชใ้ นรูปแบบการเรยี นรู้ หลากหลาย ไม่ว่าจะเปน็ การเรียนรู้
ท่ีเกิดขน้ึ ในหอ้ งเรียน ผสมผสานกับการเรียนรนู้ อกห้องเรียนทค่ี รู และนักเรยี น นกั ศึกษาไม่ไดเ้ ผชญิ หน้ากนั
หรือการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ที่มีอยู่อยา่ งหลากหลาย ทั้งในรูปแบบ Online รูปแบบ On-Air และรูปแบบ On-Site
ซง่ึ มเี ปา้ หมายอย่ทู ี่การเรยี นรู้ของนักเรยี น ซง่ึ การจดั การเรียนการสอนออนไลนเ์ ป็นนวัตกรรมสำหรบั การ
พัฒนาศักยภาพของผูเ้ รียนแบบหน่งึ ทอี่ อกแบบและพัฒนาขึ้นโดยอาศัยความสามารถของเครอื ข่าย
อนิ เทอร์เน็ต รวมถึงฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ของคอมพิวเตอร์เพื่อนำเสนอเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
การปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งครแู ละผู้เรยี น ผา่ นแอปพลิเคชนั ทเ่ี หมาะสมในการส่ือสาร การปฏบิ ัตงิ าน และการ
ทำงานร่วมกันระหว่างผู้เรยี นกบั ครู หรอื ระหวา่ งผูเ้ รยี นกับผู้เรียนดว้ ยกัน เปน็ ตวั กลางท่ีคอยควบคมุ ให้การ
เรียนการสอนดำเนนิ ไป ประยุกตใ์ ช้ส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยี ใหผ้ ้เู รียนสามารถศึกษาค้นควา้ แสวงหาความรู้
เขา้ ใจด้วยตนเองจนเกดิ เป็นการเรยี นรู้อยา่ งมีความหมาย สามารถประยุกตใ์ ชด้ จิ ิทลั สนบั สนนุ การทำงานและ
ในชีวติ ประจำวนั ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เปน็ ทิศทางเดียวกนั กบั ครูในกลุม่ ภาคเหนือ สรุปโครงการนเิ ทศ
การพฒั นาทกั ษะดิจทิ ลั เพ่ือสร้างสอ่ื การเรียนรู้ Online และ On-Demand ของครอู าชีวศึกษา ปี 2564 เม่ือ
ได้รบั การนเิ ทศ ณ สถานศกึ ษาเดอื น มีนาคม-เมษายน และนเิ ทศออนไลน์เดอื น พฤศจิกายน 2563 มกราคม
เมษายน พฤษภาคม มถิ ุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม 2564 รวมทง้ั หมด 6 กิจกรรม ท่ไี ด้แสดงใหเ้ หน็ ว่า
ครูนำความรู้และทักษะดิจิทัลไปปรับปรงุ พฒั นาการสอน ได้ร้เู ทคนิคการสอน บูรณาการการใชด้ จิ ิทัลให้
เหมาะสมกับสถานการณร์ ะบาดฯ และรบั ความรู้ในเรอ่ื งการใชส้ อื่ ดจิ ิทัลแบบต่าง ๆ นำไปประยกุ ต์การจัดการ
เรยี นการสอน และพบวา่ เปน็ เร่อื งเข้าใจง่ายปฏบิ ัตไิ ด้จรงิ กระชับตรงจุดประสงค์ท่ตี ้องการ มีสอ่ื ท่ีหลากหลาย
ให้เลือกใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน ชว่ ยใหบ้ รรยากาศในห้องเรียนสนุกสนาน นำไปสรา้ งกจิ กรรมการเรียนรู้
เสรมิ ในช่วั โมงเรยี นได้ ซึ่งตรงกับความต้องการของครู ต่อยอดองค์ความรู้ และประสงคใ์ หด้ ำเนินโครงการให้
ตอ่ เน่อื ง ขยายเครือข่ายให้กับครูในสถานศึกษากลุ่มอื่น หรอื ครตู ่างสถานศึกษา ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นา
อาชีวศกึ ษาภาคเหนอื จึงไดจ้ ัด โครงการฯ น้ี

5. วตั ถปุ ระสงค์
5.1 เพ่ือนิเทศติดตามการใชท้ ักษะดจิ ิทัล เพื่อใชแ้ ละสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ ของครอู าชีวศึกษา
5.2 เพื่อสรุปผลการนิเทศติดตามการใช้ทักษะดิจิทัล เพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครู

อาชวี ศึกษา

6. เป้าหมาย และตวั ชีว้ ัดความสำเร็จ

6.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ
6.1.1 ครูที่รับการนิเทศ เป็นครูอาชีวศึกษา สถานศึกษาภาคเหนือ 10 แห่ง --- คน ที่มีอีเมล

office 365 Education นามสกุล ovecmail.org ของหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศกึ ษา

6.12 ครูที่เข้ารับการนิเทศการใช้ทักษะดิจิทัล เพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งส้ิน
จำนวน 100 ชิ้น

3

6.2 เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ
6.2.1 ครทู ่ีรับการนิเทศ มีความรู้ความเข้าใจในการใชท้ ักษะดจิ ิทลั เพื่อใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการ

เรยี นรู้
6.2.2 ครูที่รับการนิเทศ ใช้ทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ นำไปใช้ในการ

จดั การเรียนการสอนไดเ้ หมาะสมกบั เนอ้ื หาและกจิ กรรมการเรยี นรู้

6.3 ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ
6.3.1 ร้อยละ80 ของครูรับการนิเทศ มีความรู้ความเข้าใจการใช้ทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และสร้าง

นวตั กรรมการเรียนรู้
6.3.2 ร้อยละ 80 ของครูรบั การนเิ ทศ ใชท้ กั ษะดจิ ิทลั เพอ่ื ใช้และสรา้ งนวัตกรรมการเรียนรู้

7. วิธีการดำเนินงาน/กิจกรรม

กจิ กรรมในการดำเนนิ การ ประกอบดว้ ย นเิ ทศออนไลน์ นิเทศสถานศึกษา สรปุ รายงานผลการนิเทศ

ตดิ ตาม

กจิ กรรม เดอื นท/ี่ ปงี บประมาณ 2565

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เมษ พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย

1. เสนอขออนุมัตโิ ครงการ

2. นิเทศคณะกรรมการทำงานวางแผนฯ

3. กำหนดแผนการนิเทศเป็นรายสถานศกึ ษา

4. นเิ ทศออนไลน์การสรา้ งเนื้อหา/คลปิ /

รูปภาพ/ภาพเคลื่อนไหวและอีบุ๊ก กจิ กรรม

การทบทวนเน้ือหาและแสดงความคดิ เห็น

5. นิเทศสถานศึกษา

6. สรปุ ผลเปน็ รายวิทยาลัยฯ แล้วเก็บสรปุ เป็น

ภาพรวม

8. งบประมาณ/ทรพั ยากร และแหลง่ ที่มา การดำเนินการ
กิจกรรมท่ี 1 นเิ ทศออนไลนฯ์ ผู้เขา้ รับการนเิ ทศประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ 2 คน ครู (จาก 10

สถานศกึ ษา) จำนวน 100 คน ระหวา่ งเดือนธนั วาคม 2564
กจิ กรรมที่ 2 ประชุมพฒั นาทักษะดจิ ิทลั เพ่ือใชแ้ ละสรา้ งนวตั กรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5

หลกั สตู ร ผู้เข้านเิ ทศเป็นตัวแทนของสถานศึกษา รวมตวั กัน 8-10 คน จำนวนสถานศกึ ษา 10 แห่ง ระหว่าง
วันที่ 17-28 มกราคม 2565 ช่วงเวลา 9.00-12.00 น. ดว้ ยวิธอี อนไลน์ โดยใชร้ ะบบ Ms Teams
วิทยากร 2 คน ได้แก่ ศึกษานิเทศก์ ครจู ากสถานศึกษา 67 คน ใชง้ บประมาณ

กจิ กรรมท่ี 3 ประชมุ พฒั นาทักษะดจิ ทิ ลั เพื่อใชแ้ ละสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5
หลกั สูตร ผูเ้ ข้าประชุมเป็นตวั แทนของสถานศกึ ษา รวมตวั กัน 8-10 คน จำนวนสถานศึกษา 10 แห่ง ระหว่าง

4

วนั ท่ี 16-18 กมุ ภาพนั ธ์ ช่วงเวลา 9.00-12.00 น. ดว้ ยวธิ อี อนไลน์ โดยใชร้ ะบบ Ms Teams วิทยากร 1
คน ไดแ้ ก่ ศึกษานิเทศก์ ครจู ากสถานศึกษา 33 คน ใช้งบประมาณ โดยมีรายละเอียดดังนี้

ท่ี รายการประมาณการค่าใช้จ่าย จำนวนเงนิ
1 ค่าวทิ ยากร 1 คน ๆ รวม 9 ช่ัวโมง ๆ ละ 600 บาท 5,400

รวมคา่ ใช้จ่ายทง้ั สนิ้ (ห้าพันสีร่ ้อยบาทถ้วน) 5,400

9. การตดิ ตามและประเมนิ ผลสำเรจ็ โครงการ/เครอื่ งมอื
9.1 ประเมนิ จากแบบประเมินความพงึ พอใจ
9.2 ประเมนิ จากการใช้และสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นรู้ โดยใชท้ ักษะดจิ ิทัล

10. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั
10.1 ครูได้รับการนิเทศติดตามและได้รับคำแนะนำในการใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ โดยใช้

ทกั ษะดิจิทลั
10.2 ครูมกี ารใชแ้ ละสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรู้ โดยใช้ทักษะดิจิทัล ในการจดั การเรยี นการสอน
10.3 ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรูแ้ ละมคี วามสามารถในการใช้ทักษะดจิ ทิ ลั

5

โครงการนเิ ทศ การพัฒนาทักษะดิจิทัลเพ่ือใชแ้ ละสร้างนวัตกรรมการเรยี นรู้ ของครอู าชวี ศกึ ษา
กิจกรรม 3 ประชมุ พัฒนาทักษะดจิ ิทัล Online, On-Demand & In February

ขั้นตอนดำเนนิ การ
เนอื่ งจากเป็นโครงการทกี่ ำหนดงบประมาณ ดังน้ันจงึ ไดด้ ำเนินการข้นั ตอนตามระเบยี บท่ีกระทรวงการคลงั
กำหนด
กอ่ นการประชุมฯ
๑. ทำโครงการฯ มกี จิ กรรมภายใต้โครงการฯ ใหญ่ที่ดำเนินมาตัง้ แต่ ต้นงบประมาณ 2565 ตอ้ งเป็นโครงการ
การทไ่ี ด้นำเสนอต้ังแต่เร่ิมตน้
2. ทำหลกั สูตรเพือ่ จะจัดประชุม (พัฒนา, เพมิ่ ความร)ู้ หรือกำหนดเป็นการอบรมเพื่อพฒั นาหรอื เพิ่มความรู้
ใหก้ บั ครู แนวทางใชข้ อง ก.ค.ศ. เป็นแนวทางในการดำเนนิ การ ผสมผสานกับกิจกรรมท่ีคล้ายคลงึ กันของ
หลกั สูตรเดิม
3. ทำบันทกึ เสนอขออนุมัติดำเนนิ กิจกรรม ผ่านหัวหน้างาน จนถึงหวั หนา้ ส่วนราชการตามลำดับ
4. แจง้ ประกาศหลักสตู รต่าง ๆ ให้กับเครือขา่ ยจากกลุ่มเปา้ หมาย มีผปู้ ระสานงานจากสถานศึกษาดำเนินการ
ในเรอ่ื งต่าง ๆ เปน็ ตวั แทนให้ครูทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ
5. ทำหนังสอื แจ้งสถานศึกษาพรอ้ มแบบตอบรับเขา้ รว่ มโครงการ จำนวนครู 8-10 คน/ต่อกลุ่ม ส่วนทางผู้
ประสานงานให้ทำบนั ทกึ ขอเข้ารว่ มประชุม เพ่ือหนงั สือทั้งสองฝา่ ยจะได้ไปในทศิ ทางเดยี วกนั

6

6. ติดตามแบบตอบรบั และแจ้งยอดจำนวนครูเข้ารบั การอบรม ตามกำหนดวนั เวลา ทไ่ี ด้ระบกุ นั ไว้ครงั้ แรก
แบบตอบรับกับรายชอื่ ครูในวันอบรมต้องเป็นชื่อเดียวกัน หากตดิ ภารกิจต้องทำบันทึกแจ้งให้ทราบ สาเหตุ
7. ไดร้ ายชื่อครู ถา้ เป็นสถานศกึ ษาใหม่หรือครทู ี่ยังไม่เคยเข้ารว่ มโครงการ จะต้องจัดทำอีเมล ovecmail.org
เพื่อจะได้รายงานตวั สำหรับแอปพลิเคชนั หลกั สำหรบั การประชุมฯ ได้

ระหวา่ งการประชมุ ฯ
1. เตรียมพรอ้ มโดยการรายงานตัวทีก่ ลุ่ม social media เพ่อื พรอ้ มในเรื่องอเี มล แอปพลเิ คชัน การทำช้นิ งาน
ก่อนเริม่ กจิ กรรม
2. วันทป่ี ระชุม ให้รายงานตวั ในกลุ่ม ระบบออนไลน์ Ms Teams โดยใหแ้ สดงตวั พร้อมบัตรประจำตวั
ประชาชน/บตั รขา้ ราชการ แบบถา่ ยห่าง ๆ ไม่ระบุใหเ้ ห็นเลขทข่ี องบตั รฯ เวลาตอ้ งก่อนการเร่มิ ประชุมฯ
3. การลงทะเบียนเข้าประชมุ ฯ หากระบบในการออนไลน์เก็บรายละเอียดได้ ช่วงท้ายกใ็ ช้เป็นหลักฐาน
ประกอบดว้ ย (แตร่ ะบบออนไลน์ไม่สามารถจดั ทำไดต้ ้องหาวิธีการเพอื่ มีหลกั ฐานในการตรวจสอบ)
4. เก็บร่องรอยการเขา้ ระบบของครูทอี่ บรม ต้ังแต่เร่ิมตน้ จนจบการประชุม แบ่งเป็นสามช่วง (เริม่ ตามเวลา-
ระหว่าง-จบการประชุม)
5. ดำเนนิ การอบรมตามหลกั สูตร วนั เวลา ที่กำหนดโดยบนั ทึกการประชมุ ตลอดระยะเวลาท่ีประชมุ ฯ เก็บไว้
เป็นหลกั ฐานในการตรวจสอบ
6. ประเมินผลภาคปฏบิ ัติจากผลงานท่สี ง่ ตลอดการประชมุ
7. ประเมินผลภาคทฤษฎจี ากแบบประเมนิ ของแตล่ ะหลักสตู ร
8. ประเมนิ ความพึงพอใจต่อการร่วมโครงการฯ การจดั การและวิทยากร (วทิ ยากรต้องระบชุ ื่อแต่ละช่วง/
หวั ข้อ)

หลงั การประชุมฯ
1. บันทึกรายงานข้อสังเกตรายสถานศึกษาเผยแพร่ทาง social media เพื่อทำบันทึกเสนอฝ่าย บริหาร
ตามลำดับ โดยผู้ประสานงาน
2. สรปุ รายงานแบบสั้น ๆ ประกอบเอกสารในการตรวจสอบฯ
2. รับวฒุ ิบตั รออนไลนจ์ ากศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนือ
3. สรปุ รายงานผลการดำเนินโครงการฯ

7

Script หลกั สูตรสำหรบั การนเิ ทศ
เนอ่ื งจากเป็นกิจกรรมทค่ี ล้ายกับกิจกรรมตา่ ง ๆ กิจกรรม 2 /2565 บางหลกั สูตรสามารถใช้ร่วมกนั ได้และ
บางหลกั สูตรปรับเปลยี่ นแอปพลิเคชัน จึงต้องจัดทำขึน้ ใหม่ เป็น script จำนวน 4 เล่ม และเอกสารเตรยี มการ
กอ่ นเขา้ รว่ มประชุมเพ่ือเปน็ แนวทางในการเตรียมตวั และจัดเตรียมข้อมลู จำนว 4 เลม่

Script หลักสูตรสำหรับการนิเทศ
หลกั สูตร 1 การสรา้ งสอ่ื ผสมผสานแอปพลิเคชัน
หลกั สตู ร 2 การสรา้ งใบงาน
เป็นรายละเอียดของแต่ละหลักสตู ร จะดำเนนิ การอย่างไร ข้นั ตอนเรียงตามลำดบั ข้อสงั เกตของแต่ละแอป
พลิเคชัน การนำไปจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เอกสารช้นิ นไ้ี มไ่ ดแ้ จกให้กบั ผ้เู ข้ารว่ มนิเทศ แต่ให้กับผูน้ เิ ทศ
ร่วม ไวส้ ำหรับดำเนนิ การตามขั้นตอน สำหรบั คู่มอื เตรียมการกอ่ นเข้าประชมุ ฯ แจกให้กับผ้ปู ระสานงาน ส่งต่อ
ใหผ้ ู้เข้าร่วมประชุมฯ
กิจกรรมรายงานกอ่ นการประชมุ เพื่อเตรยี มพรอ้ มรบั การนเิ ทศฯ
ป้ายประกาศ เป็นการเตรียมความพร้อมสำหรบั ครูท่เี ขา้ รว่ มนิเทศ และสามารถติดตาม ตรวจสอบความพร้อม
ในเรือ่ งอีเมล การเตรียมข้อมูลสำหรบั บางแอปพลเิ คชนั ท่ีต้องเตรยี มการก่อนการนิเทศฯ การใช้ social
media ในการทำงาน การฝกึ แสดงความคดิ เหน็ การตอบกลับ

8

กจิ กรรมรายงานตวั ออนไลน์ก่อนการนเิ ทศสถานศกึ ษาเพ่ือเตรียมพร้อมรบั การนเิ ทศฯ
และกจิ กรรมหลกั สตู ร การสร้างใบงาน ในตวั ของเน้ือหาจะเป็นแบบทดสอบหลากหลายคำสง่ั จึงใหค้ รทู เี่ ข้า
ร่วมประชมุ ได้ทดสอบทกุ รูปแบบของคำส่ัง โดยเผยแพร่และใหค้ รูสง่ คำตอบในกลุ่ม ฝึกการใช้แบบทดสอบของ
แมแ่ บบคำสั่งต่าง ๆ รวมทงั้ หมด 7 แมแ่ บบ

9

ตารางประชุม
โครงการนิเทศ การพฒั นาทักษะดิจทิ ัลเพอื่ ใช้และสร้างนวตั กรรมการเรยี นรู้ ของครอู าชวี ศกึ ษา

กิจกรรม 3 ประชุมพฒั นาทกั ษะดิจิทัล Online, On-Demand & In February

ออนไลน์ ด้วยระบบ Ms Teams
ระหวา่ ง 16-18 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 เวลา 9.00-12.00 น. และ 13.00-16.00 น.

จดั โดย ศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ

วัน/เดอื น/ปี เวลา สถานศึกษา ผูป้ ระสานงาน หลักสตู ร วิทยากร

16 กุมภาพันธ์ 09.00-12.00 กลุ่ม N/A 1 นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์ 5 นางสาวพมิ พร ศะรจิ นั ทร์
2565 13.00-16.00 4 นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์
17 กุมภาพนั ธ์ 09.00-12.00 วทิ ยาลยั เทคนิคพะเยา นางสาวกนกวรรณ กองกิจ 5 นางสาวพมิ พร ศะรจิ นั ทร์
2565 วทิ ยาลัยการอาชพี บ้านตาก นางสาวธญั ลกั ษณ์ หมีโชติ
18 กุมภาพันธ์
2565 กลุ่ม N/A 2 นางสาวพมิ พร ศะรจิ ันทร์

หมายเหตุ :
หลกั สูตร 4 การสรา้ งส่อื ผสมผสานแอปพลเิ คชนั
หลกั สูตร 5 การสร้างใบงาน
กลมุ่ N/A หมายถงึ ตวั แทนครูจากสถานศึกษาต่าง ๆ ทเ่ี ข้ารว่ มโครงการฯ จากการทดสอบ สือ่ การสรา้ งใบงาน
อยา่ งต่อเน่อื ง

10

โครงการนเิ ทศ การพฒั นาทักษะดจิ ิทัลเพอื่ ใชแ้ ละสรา้ งนวตั กรรมการเรียนรู้ ของครูอาชวี ศกึ ษา
กจิ กรรม 3 ประชมุ พฒั นาทักษะดจิ ทิ ลั Online, On-Demand & In February

ออนไลน์ ดว้ ยระบบ Ms Teams
ระหว่าง 16-18 กุมภาพนั ธ์ 2565 เวลา 9.00-12.00 น. และ 13.00-16.00 น.

จัดโดย ศนู ย์ส่งเสรมิ และพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนือ

จำนวนครู แยกตามกิจกรรมหลักสตู ร

ช่ือหลักสตู ร จำนวน ชอื่ สถานศึกษา จำนวนครู
สถานศกึ ษา/กลุ่ม
หลักสตู ร 4 วทิ ยาลยั เทคนิคพะเยา 7
2 วิทยาลยั การอาชพี บ้านตาก 4
การสร้างส่ือผสมผสานแอปพลเิ คชนั 11

หลักสตู ร 5 21 วิทยาลยั สารพดั ช่างเชยี งใหม่ 1
วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสโุ ขทยั 1
การสร้างใบงาน วิทยาลัยเทคนิคสุโขทยั 1
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีพะเยา 1
วทิ ยาลยั การอาชีพวิเชยี รบุรี 2
วทิ ยาลยั เทคนิคแพร่ 1
วทิ ยาลยั การอาชีพจอมทอง 1
วิทยาลยั การอาชีพฝาง 1
วิทยาลยั เทคนคิ เชียงราย 1
วทิ ยาลยั เทคนิคพทั ลุง 1
วิทยาลยั อาชีวศึกษาอุบลราชธานี 1
วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบรู ณ์ 1
วิทยาลยั สารพดั ช่างเพชรบูรณ์ 1
1
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชยี งใหม่ 1
1
วทิ ยาลยั เทคนคิ เชียงคำ 1
วทิ ยาลยั เทคนคิ สารภี 1
วิทยาลัยการอาชีพลอง 1
วิทยาลัยเทคนิคสรุ นารี 1
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเเพร่ 1
วิทยาลัยเทคนิคพะเยา 22
วิทยาลยั เทคนคิ กำแพงเพชร 33

รวมทัง้ หมด 23

11

ภาพผูเ้ ข้ารบั การประชุมแต่ละหลักสูตรแยกรายสถานศึกษา
รายช่อื สถานศึกษาที่เข้ารับการนิเทศฯ

หลกั สูตร การสร้างสอ่ื ผสมผสานแอปพลเิ คชนั

วิทยาลยั เทคนคิ พะเยาและวทิ ยาลยั การอาชพี บา้ นตาก

หลกั สูตร การสรา้ งใบงาน

กลมุ่ กุมภาพันธ์ 16 กลุ่มกุมภาพนั ธ์ 18

12

ตัวอยา่ งแบบวฒุ บิ ตั ร
ลิงกว์ ฒุ ิบัตร https://bit.ly/3JE5ACv
วุฒบิ ตั รผูเ้ ข้าประชุมฯ และเกียรตบิ ตั รผ้ปู ระสานงาน

13

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจ
โครงการนเิ ทศ การพฒั นาทักษะดจิ ิทัลเพ่อื ใช้และสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรู้ ของครูอาชวี ศกึ ษา

กจิ กรรม 3 ประชุมพัฒนาทักษะดจิ ิทัล Online, On-Demand & In February

1. เพศ

9 คน
24 คน

2. ทำหนา้ ที่สอนในสถานศกึ ษา
• 1-2 ปี
• 3-5 ปี
• 6-10 ปี
• น้อยกวา่ 1 ปี
• มากกวา่ 10 ปี

3. ตำแหนง่ /วิทยฐานะ
• ครู
• ครูชำนาญการ
• ครชู ำนาญการพเิ ศษ
• ครผู ชู้ ว่ ย
• ครพู ิเศษสอน
• พนักงานราชการ
• ครเู กษียณ

14

เกณฑก์ ารแปลความหมายขอ้ มลู
การแปลความหมายขอ้ มูลเพื่อใหไ้ ด้ทราบถงึ ความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมประชุมโครงการนิเทศ การพฒั นาทักษะ

ดิจทิ ัลเพ่อื ใช้ และสร้างนวัตกรรมการเรยี นรู้ ของครูกิจกรรม 3 ประชุมพัฒนาทกั ษะดิจิทลั Online, On-Demand & In
February ออนไลน์ดว้ ยระบบ Ms Teams ได้ใช้ค่าเฉลี่ยตามวธิ ีการของ Likert ดังน้ี

4.50 -5.00 หมายถึง มากที่สุด
3.50 -4.49 หมายถึง มาก
2.50 -3.49 หมายถึง ปานกลาง
1.50 -2.49 หมายถงึ น้อย
1.00 -1.49 หมายถึง น้อยท่ีสุด
ความพงึ พอใจของเข้ารว่ มพัฒนาทกั ษะดิจทิ ัล Online, On-Demand & In February ออนไลนด์ ว้ ย Ms Teams

ตาราง 3 ค่าเฉลยี่ ( x̅) และค่าส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ความพึงพอใจในดา้ นการวางแผนและการเตรยี มการ

ความพึงพอใจ x̅ S.D ระดบั ความพงึ
พอใจ
ความพงึ พอใจต่อการประชุม
1. ความสะดวกในการตดิ ต่อประสานการเขา้ ร่วมประชมุ 4.82 0.27 มากทส่ี ุด
2. ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการประชมุ ฯ 4.79 0.10 มากทส่ี ุด
3. เนือ้ หาสาระของการประชุม 4.94 0.17 มากทส่ี ุด
4. เน้ือหาสามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง 4.94 0.17 มากที่สุด
5. กิจกรรมระหว่างประชมุ 4.88 0.23 มากทส่ี ดุ
ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร
1. การเตรียมความพร้อมของวทิ ยากร 4.94 0.17 มากทส่ี ุด
2. เทคนิคและถา่ ยทอดความร้คู วามเขา้ ใจให้ผเู้ ขา้ รว่ มการประชมุ 4.94 0.17 มากทสี่ ดุ
3. การใชส้ ่ือและเทคโนโลยี 4.94 0.17 มากที่สดุ
4. บุคลกิ ภาพทด่ี ี มีความเป็นกลั ยาณมติ ร 4.94 0.17 มากทสี่ ุด
5. ตอบขอ้ ซกั ถาม ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ได้อยา่ งครบถ้วนเป็นท่ีเขา้ ใจ 4.94 0.17 มากที่สดุ
4.91 0.18 มากท่สี ุด
ค่าเฉล่ยี รวมทั้งหมด

15

ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมนิเทศ
การจัดการเรียนการสอน

• ได้แนวคิดในการทำใบงาน
• เนอื้ หาเข้ากับสถานการณ์ปัจจุบนั
• เพ่มิ ทักษะเทคโนโลยี
• กระตนุ้ ความสนใจของผู้เรียนได้ดี
• ทำง่าย ผูเ้ รียนใช้ง่าย
• ประยุกต์กบั การสอนได้
• ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
การจดั การ
• อยากให้มจี ดั อบรมแบบน้ี
• อยากให้จัดอบรมแบบนี้กบั ครูคนอ่นื ๆ
• อยากให้มีอบรมหลาย ๆ หลักสตู ร
• จะชวนครูวิทยาลัยมารว่ มอบรม
• อยากเรยี นเต็มวัน
วทิ ยากร
• อธิบายเขา้ ใจ
• เปน็ กันเอง
• ได้ความรู้ครบถว้ น
• เรียงเนอื้ หาการอบรมเขา้ ใจง่าย
• กจิ กรรมกะทัดรัด
• เนอ้ื หาเข้าใจง่าย

16

แนวทางสำหรบั การดำเนินกจิ กรรมคร้ังต่อไป

• หนังสือราชการและแบบตอบรับ การจัดครัง้ น้เี ป็นการจัดประชุมฯ ตามระเบยี บฯ สถานศกึ ษาส่วน
ใหญส่ ่งแบบตอบรับก่อนเวลาและรวดเรว็ แตไ่ ม่ได้มีหนงั สือราชการแจง้ ครั้งต่อไปตอ้ งย้ำตัวแทน
สถานศกึ ษาในการส่งหนังสอื ทง้ั สองฉบับ โดยเฉพาะงานสารบรรณ จะคุ้นเคยระบบท่สี ง่ เฉพาะแบบ
ตอบรับ ชอ่ งทางตดิ ต่อกับครูจะตอ้ งชดั เจนและรวดเรว็ เพ่ือตามหนังสอื เพราะเปน็ ช่วงที่สถานศึกษามี
กิจกรรมต่าง ๆ ผูบ้ ริหารบางแห่งไม่ได้มอบหมายใหร้ องผู้อำนวยการฯ ดำเนนิ การลงนามแทน

• จำนวนครัง้ ของการประชุม การลดจำนวนการประชมุ ทำใหก้ ารเตรยี มงาน มีเวลา ทำให้ขน้ั ตอนต่าง
ๆ เป็นไปตามกำหนด เรมิ่ จากประกาศรบั สมัครจากครูทผี่ ่านการฝึกหลาย ๆ หลกั สตู รมาแลว้ เป็นครู
ในกล่มุ ท่ีมกี ารตดิ ตามต่อเน่อื ง เพ่อื จะไดต้ ิดตอ่ ไดท้ นั ทตี อ้ งการขอ้ มลู การทดสอบลองใช้สอ่ื จาก
แมแ่ บบต่าง ๆ ครูเขา้ ใจวิธกี ารเลน่ และบอกถึงขอ้ จำกดั และอุปสรรคต่าง ๆ เม่ือใช้ตา่ งดไี วซ์ รู้วธิ ีการ
ส่อื สารเพ่ือนำไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอนได้ การส่งงานเพือ่ เตรยี มพร้อมกอ่ นรบั การประชมุ ทำได้
ตามกำหนดเวลา

• การกำหนดหลักสูตร หลกั สตู ร การสร้างสอื่ ผสมผสานแอปพลเิ คชนั เป็นการทบทวนหลกั สตู รเดิม
ๆ นั้นคอื หลักสตู ร การสรา้ งเน้ือหาเป็นภาพ-Gif-pdf-Mp4 หลกั สูตร การสรา้ งอีบุ๊กและชน้ั วาง
หนงั สอื หลกั สูตร การสร้างกิจกรรมและสรปุ บทเรยี น การเตรียมขอ้ มูลก่อนเริ่มกิจกรรม บางกลมุ่ ทำ
ได้พร้อมเพรยี งและตรงตามเวลา เหน็ ถงึ ความพร้อมในระดับกลุ่มและการจดั การ และสามารถนิเทศ
เห็นผลงานคร่าว ๆ ที่ครูนำไปต่อยอดและจัดการเรยี นการสอน แตบ่ างกลุ่ม ครบู างส่วนความร่วมมอื
นอ้ ยและส่งงานไม่ครบ ผลงานไม่มี ท้ังที่ระยะเวลาของการอบรมแต่ละหวั ข้อผา่ นมาเนิ่นนาน
ชใี้ หเ้ หน็ วา่ ส่ือท่ีใช้แอปพลเิ คชันนนั้ ยงั ไม่เหมาะกบั กิจกรรมการสอนของครู บางข้อมลู สถานศึกษา
บางแหง่ เปิดสอนเปน็ ออนไซต์ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ นโยบายของผู้บรหิ ารต้องการให้ครูสอนเนน้ ปฏบิ ัติกับ
เคร่ืองมอื ตา่ ง ๆ มากกว่า จะเป็นเนื้อหาทางทฤษฎี การฝกึ ปฏิบตั ิขณะออนไลน์ ทกั ษะของครยู งั
แมน่ ยำ ชดั เจน เลอื กเคร่อื งมือต่าง ๆ ได้ถูกทถ่ี ูกทาง ช้ินงานมจี ำนวนมากสำหรับบางแอปพลิเคชนั
เชน่ canva มกี ารฝกึ เก็บผลงานไว้เป็นหมวดหมู่ ทำให้เห็นชน้ิ งานครจู ำนวนมาก Anyflip ครูมีอีบุก๊
หลายชั้นและทำตอ่ เนอื่ ง Wordwall ครูใชบ้ า้ งบางสว่ น บางวชิ าทเี่ หมาะกับเนอื้ หา

• การกำหนดหลักสูตร หลกั สูตร การสร้างใบงาน เป็นหลกั สตู รทีใ่ ช้แอปพลเิ คชนั ใหม่ ที่มขี ั้นตอนงา่ ย
กวา่ ของเดิม การเตรยี มการเบอ้ื งต้น เชน่ การสมัคร ครทู ำได้เองไม่ตอ้ งสอน โดยมคี ู่มือใหค้ รูแยกเป็น
หลกั สตู ร การทดสอบแตล่ ะใบงาน ครใู หค้ วามร่วมมือ เข้ามาทดสอบ บางใบงานครูไม่เข้าใจก็
สอบถามและสง่ ผลให้กบั ผูน้ ิเทศได้ สว่ นใหญเ่ ข้ามาทดสอบ แต่บางสว่ นตอ้ งติดตามเพอื่ ใหค้ ุ้นเคยกบั
ลักษะของใบงาน การทำเทมเพลต ครใู ห้ความรว่ มมอื สง่ งานครบทุกคน บางแม่แบบครูจะละเวน้
เกิดจากแม่แบบมีความเหมือน จึงไม่ไดส้ ังเกต ฉะน้ัน ครั้งต่อไป ต้องตัดแม่แบบท่ีไม่ใช่ออก แต่ละ
ขนั้ ตอนครูมสี ว่ นร่วม เมอ่ื ทดสอบในขณะปฏิบตั ิ ครูไมต่ ดิ ขัดและเขา้ ใจโจทยข์ องแตล่ ะแม่แบบ และ
สามารถสง่ งานภาคปฏบิ ตั ิไดค้ รบถ้วน

• แอปพลเิ คชนั อปั เดต หลักสตู ร การสร้างสือ่ ผสมผสานแอปพลเิ คชนั หลายแอปพลิเคชัน อัปเดต
เทา่ กับได้กลบั มาทบทวนและตอบคำถามให้ครูได้เข้าใจ พร้อมแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ของแต่ละแอปพลิเค
ชนั และบอกขอ้ สงั เกตต่าง ๆ ทป่ี รับเปลย่ี น เชน่ wordwall การแชร์/การมอบหมายงาน จะใช้
สำหรับแมแ่ บบ ถา้ สลบั แม่แบบจะตอ้ งใช้ “การมอบหมายงาน” canva ครูสมัครอีเมลใหม่เพราะ จำ

17

อเี มลทส่ี มัครไว้เดิมไม่ได้ ใหค้ รทู บทวนอเี มลที่เคยทำงาน anyflip จำอีเมลที่เคยทำงานหรอื ทดสอบ
ไมไ่ ด้ ใหท้ บทวนอเี มล จะมีชิ้นงานที่ทำไวแ้ ลว้ ใหอ้ ยู่ในแหลง่ เดยี วกัน ไมก่ ระจายอเี มล
• การรายงานตัวและการมีสว่ นรว่ มในการฝึกปฏบิ ัติ ทุกหลักสตู ร ครมู คี วามตั้งใจ เมือ่ เข้ามาประชุม ก็
สามารถทำตามโจทยท์ ี่กำหนด การแชรห์ น้าจอเพื่อสอบถามปญั หา การทบทวนการใช้งานเพอ่ื
นำเสนอตา่ ง ๆ ครูสามารถทวนทกั ษะเดมิ ๆ ไดค้ ล่องแคลว่ บางแอปพลิเคชนั ทคี่ รูไม่มขี ้อมูล กต็ อ้ ง
เตรียมเผือ่ ใหเ้ พราะจะไดท้ ำงานไปพร้อม ๆ กับเพ่ือนครูคนอนื่ ๆ ไม่ติดขัดเพือ่ จะได้หาข้อมูลมาใช้อกี
• การกำหนดกลุ่มหลากหลายสถานศกึ ษา ครูไดร้ ู้จกั คุน้ เคยกันแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และชว่ ยในเรอ่ื งการ
กำหนดจำนวนคน ใหอ้ ยู่ในสัดส่วน 8-10 คน การคละครูต่างสถานศึกษากเ็ ป็นอีกทางเลือก ชว่ ยให้
จำนวนครูมีครบตามกำหนด หรือบางสถานศกึ ษาอาจจะมีกลมุ่ ท่ีสนใจจริง ๆ ไม่ครบตามจำนวนที่
กำหนดก็สามารถนำมาคละกันได้ เปน็ อีกรูปแบบที่สามารถดำเนนิ การ

18

รายชือ่ ครูท่ีรบั การนเิ ทศโครงการนิเทศ
การพฒั นาทกั ษะดิจิทัลเพ่ือใช้และสร้างนวัตกรรมการเรยี นรู้ ของครูอาชีวศึกษา
กิจกรรม 3 นเิ ทศออนไลน์ พัฒนาทกั ษะดจิ ทิ ัล Online, On-Demand & In February

ระหวา่ ง วันท่ี 16-18 กมุ ภาพนั ธ์ 2565

19

หลกั สตู ร การสรา้ งสอ่ื ผสมผสานแอปพลิเคชัน

ลำดับ คำนำหน้า ช่อื นามสกุล สถานศึกษา
1 นาย
2 นาย ณฐั พฒั น์ วงศค์ ำ วทิ ยาลัยการอาชีพบา้ นตาก
3 นางสาว
4 นาย เกรียงศักดิ์ ฑีฆาวงค์ วทิ ยาลยั การอาชีพบ้านตาก
5 นาย
6 นางสาว วรรณี โมค้ ำ วทิ ยาลัยการอาชีพบา้ นตาก
7 นางสาว
8 นาง วีรภทั ร ชยั ศริ ิ วิทยาลยั การอาชีพบา้ นตาก
9 นางสาว
10 นาง ปรชั ญาณัชญ์ ดวงใจ วิทยาลัยเทคนิคพะเยา
11 นางสาว
กนกวรรณ กองกิจ วทิ ยาลัยเทคนิคพะเยา

สุภาวดี สนิ ทพ วิทยาลยั เทคนคิ พะเยา

นวพร สิงหแ์ กว้ วงค์ วทิ ยาลัยเทคนคิ พะเยา

ประกายฉัตร ขวัญแก้ว วทิ ยาลยั เทคนคิ พะเยา

สภุ าภรณ์ พงษ์ยศ วทิ ยาลัยเทคนิคพะเยา

องั คณา เครอื คำ วทิ ยาลยั เทคนคิ พะเยา

หลกั สูตร การสรา้ งใบงาน

ลำดบั คำนำหน้า ช่ือ นามสกลุ สถานศึกษา
12 นาง ณชติ า เถาว์โท วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี
13 นางสาว ศศธิ ร กาญจนโสภณ วทิ ยาลยั เทคนคิ สุโขทัย
14 นางสาว ปัณฑิกา ศริ อิ ำมาต วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา
15 นางสาว ปรนิ ดา แก้วน้ำ วิทยาลยั เทคนิคแพร่
16 นาย ตะวนั ชยั รตั วิทยาลยั สารพดั ชา่ งเชียงใหม่
17 นาง ไพรรนิ ทร์ คำชยั ยะ วิทยาลัยการอาชีพฝาง
18 นางสาว รวินทน์ ิภา วงษาฟู วทิ ยาลัยเทคนิคเชียงราย
19 นางสาว พัชรนิ ทร์ บัวแพร วทิ ยาลัยการอาชีพวิเชียรบุรี
20 นาง พิมพน์ ภิ า จนั ทรานาค วทิ ยาลัยการอาชีพจอมทอง
21 นาง อรญา กลนาวา วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสโุ ขทัย

20

22 นางสาว พริ าพร สุขวนชิ วิทยาลยั เทคนคิ พัทลุง
วิทยาลยั การอาชีพวิเชียรบรุ ี
23 นาง บอพิศ เวดิ สูงเนิน วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งเพชรบรู ณ์
วทิ ยาลยั เทคนคิ กำแพงเพชร
24 นาย เอกชยั วอสงู เนนิ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่
วทิ ยาลัยเทคนิคเชียงคำ
25 นางสาว ดาวสกาย พูลเกษ วทิ ยาลัยการอาชีพลอง
วทิ ยาลัยเทคนคิ พะเยา
26 นางสาว กรรณิการ์ ปาลี วทิ ยาลยั เทคนคิ สารภี
วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบรู ณ์
27 นาย อทิ ธพิ ล พลู คำ วทิ ยาลยั เกษตรเเละเทคโนโลยเี เพร่
วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี
28 นาย ณฐั กรณ์ จนิ สกลุ แก้ว

29 นางสาว อังคณา เครือคำ

30 นางสาว อภวิ ันท์ จกั รคำ

31 นาย พนู ศักดิ์ เสือดี

32 นางสาว สุชาดา เคา้ โคน

33 นาง ปรวรรณ ทองภู

21

ข้อสังเกตการนิเทศ รายกลุ่ม
กจิ กรรม 3 นเิ ทศออนไลน์ พัฒนาทักษะดิจทิ ัล Online, On-Demand & In February

ระหว่าง วันที่ 16-18 กมุ ภาพันธ์ 2565

22

ขอ้ มูลเบ้ืองต้น

▪ วนั ท่ี 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2565
▪ หลักสตู ร การสร้างใบงาน
▪ จานวนครู 11 คน วอศ.สโุ ขทัย วอศ. อบุ ลฯ วท. สุโขทัย วษท.

พะเยา วก. วิเชยี รบุรี วท. แพร่ วก. จอมทอง วก. ฝาง วท.
เชยี งราย วท. พัทลุง วช. เชยี งใหม่

ก่อนการนิเทศ

▪ หนังสือและแบบตอบรบั ดาเนนิ การตามกาหนด นิเทศออ
▪ การเตรียมตวั ดาเนินการครบและตามเวลากาหนด
กลุ่ม 16 ก
เช่น การทดสอบแบบฝกึ การส่งงาน การเข้ากลุ่ม
การรายงานตัว
▪ เปน็ การประชมุ ออนไลนว์ นั หยดุ

ระหว่างการนเิ ทศ

▪ รายงานเข้ารับนเิ ทศ ตรงเวลาและรวดเร็ว
▪ ครอู อนไลนจ์ ากท่บี า้ น
▪ เตรียมข้อมูลและเขา้ ถึงแอปพลิเคชนั วนั ประชุม ครบถว้ น
▪ ใชไ้ วไฟสว่ นตัว-โนต้ บกุ๊ ทางานได้เสถยี รตลอดการประชมุ
▪ ใช้งาน Ms Teams หลายคนอาจจะทบทวนหลงั จากทง้ิ ไปนาน แต่

มีทกั ษะดมี าก
▪ ขณะปฏิบัติ ใชแ้ อปพลิเคชัน หลาย ๆ แอปฯ พรอ้ มกันได้และใช้

แอปพลเิ คชนั หลัก ดมี าก
▪ ส่งงาน ขณะปฏบิ ตั ิ ได้ 100 %

โครงการนิเทศ การพัฒนาทกั ษะดจิ ทิ ัล
กิจกรรม 3 ประชุมพฒั นาทกั ษะดจิ ิทัล O

อนไลน์ ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของผู้รบั นเิ ทศ

กุมภาพันธ์ ▪ อยากให้จดั อบรมแบบนอ้ี กี และเปน็ หนงึ่ ในผ้รู ่วมอบรมดว้ ย
▪ ได้แนวคิดและวธิ ีการในการทาใบงาน และอยากต่อคอร์สต่อไป
▪ มีโอกาสในการพัฒนาการสรา้ งส่อื การเรยี นการสอนแบบ

ออนไลน์ ซึง่ เปน็ ประโยชน์นาไปใช้จดั การเรียนการสอน และ
เกิดประโยชน์กับผู้เรียนมาก
▪ อยากใหม้ กี ิจกรรมแบบนอ้ี กี
▪ เป็นการอบรมที่มีเนื้อหาสาระท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ ผอู้ บรมเปน็
อยา่ งสูง และสามารถนาไปใชเ้ กยี่ วกับการจดั การเรยี นการสอน
ได้จริงในสถานการณ์ปัจจบุ ัน
▪ เป็นโครงการท่ดี มี าก ๆ ชว่ ยเพิม่ เติมความร้ทู ี่สามารถนาไปจดั
ทางการเรียนการสอน
▪ อธบิ ายเข้าใจและเป็นกันเองมาก
▪ การอบรมครั้งนม้ี ปี ระโยชนก์ ับผูเ้ รยี นอย่างมาก
▪ ช่วยเพมิ่ พนู ทักษะครูในการใช้เทคโนโลยมี าประยกุ ต์ใชใ้ นการ
จดั การเรียนการสอน
▪ อยากใหม้ กี ารจดั อบรมใหก้ ับครมู ากอกี หลาย ๆ ท่าน

ขอ้ แนะนาในการนิเทศครง้ั ตอ่ ไป

▪ สร้างความเขา้ ใจในการสง่ แบบตอบรับประชุมฯ
▪ ช้ีแจงเหตผุ ล การเตรยี มการกอ่ นเข้าประชมุ ทมี่ ีหลายขน้ั ตอน
▪ เปน็ กลุ่มท่ีสามารถจะตอ่ ยอดหลกั สูตรอน่ื ๆ ได้
▪ สามารถทาหน้าท่เี ปน็ ผปู้ ระสานงานได้และมีทกั ษะการ

ตดิ ตอ่ สือ่ สาร

ลเพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรฯู้
Online, On-Demand & In February

โครงการนิเทศ การพัฒนาทักษะดิจิทลั
กจิ กรรม 3 นิเทศออนไลน์ พฒั นาทกั ษะดิจทิ

ลเพือ่ ใช้และสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ฯ
ทัล Online, On-Demand & In February

ข้อมลู เบ้ืองตน้

▪ วันท่ี17 กุมภาพนั ธ์ 2565
▪ หลักสูตร การสร้างสือ่ ผสมผสานแอปพลเิ คชนั
▪ จานวนครู 11 คนจาก วิทยาลยั การอาชีพบ้านตากและ

วิทยาลยั เทคนิคพะเยา

ก่อนการนเิ ทศ

▪ หนงั สอื และแบบตอบรับ ดาเนินการไดอ้ ย่างรวดเร็ว นิเทศออ
▪ การเตรยี มตวั ดาเนินการครบและตามเวลากาหนด
วท. พะเยา+ว
เชน่ การทดสอบแบบฝึก การส่งงาน การเข้ากลุ่ม
การรายงานตัว
▪ เปน็ การประชมุ ออนไลนข์ ณะทีส่ ถานศึกษาออนไซต์

ระหวา่ งการนเิ ทศ

▪ รายงานเขา้ รบั นเิ ทศ ตรงเวลาและรวดเร็ว
▪ ครอู อนไลน์ในหอ้ งประชุมและแยกตามแผนกฯ
▪ เตรียมข้อมูลและแอปพลิเคชันวันประชุม ทันตามเวลากาหนด
▪ ใช้ไวไฟสว่ นตัว-โนต้ บกุ๊ ทางานไดเ้ สถียรตลอดการประชุม บางคน

พอใช้งานฝึกปฏิบัติไดแ้ ตส่ ง่ งานไดไ้ ม่ครบเนอ่ื งจากอุปกรณ์
▪ ใช้งาน Ms Teams หลายคนอาจจะทบทวนหลงั จากท้ิงไปนาน แต่

มที กั ษะดมี าก
▪ ขณะปฏบิ ตั ิ ใชแ้ อปพลิเคชัน หลาย ๆ แอปฯ พร้อมกนั ไดแ้ ละใช้

แอปพลิเคชนั หลกั ดี
▪ สง่ งาน ขณะปฏิบตั ิงาน วท. พะเยา 95% วก. บา้ นตาก 100 %

โครงการนเิ ทศ การพฒั นาทักษะดิจทิ ัล
กจิ กรรม 3 ประชุมพฒั นาทักษะดจิ ิทัล O

อนไลน์ ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นของผรู้ ับนิเทศ

วก. บา้ นตาก ▪ มปี ระโยชน์ต่อการเรยี น ในสถานการณช์ ว่ งนมี้ าก
สามารถประยุกต์ใช้ในหอ้ งเรยี นได้หลากหลายวชิ า

▪ อยากใหเ้ วลานานกวา่ น้ี
▪ อยากอบรมอีกหลาย ๆ หลกั สตู ร
▪ จะเขา้ รว่ มทกุ ๆ กิจกรรม ถ้าไมต่ ดิ ภารกิจ
▪ อยากอบรมหลกั สตู รอื่นอกี
▪ เปน็ การอบรมทสี่ ามารถนาไปใชใ้ นหอ้ งเรยี นไดจ้ ริง

เพ่อื กระตนุ้ ความสนใจของนกั เรียนนกั ศกึ ษา
▪ อยากใหม้ กี ารอบรมแบบน้เี ร่อื ย ๆ เพอ่ื ทบทวนและ

เสริมทกั ษะในการจัดการเรียนการสอน
▪ วิทยากรให้ความรไู้ ด้อย่างครบถ้วน
▪ คอมฯ ช้า สัญญาณเน็ตมปี ญั หานดิ หนอ่ ย ทาให้การ

ฟังขาดตอน
▪ เป็นประโยชนใ์ นการจดั การเรยี นการสอนมาก

ขอ้ แนะนาในการนเิ ทศครงั้ ต่อไป

▪ เป็นกลมุ่ ทส่ี ามารถจะต่อยอดหลักสูตรอ่ืน ๆ ได้
▪ การเตรียมความพร้อมทีต่ อ้ งใช้ข้อมูลหรือแอปฯ

หลายอยา่ งเปน็ ขอ้ จากัดสาหรับครู
▪ ไดป้ รับเปลี่ยนวธิ กี ารนิเทศใหไ้ ด้ครบตามเนอื้ หา
▪ หลักสูตรนี้ ไมเ่ หมาะสาหรับครทู ีเ่ ขา้ มาใหม่และ

เตรยี มขอ้ มลู ไม่ครบ

ลเพอ่ื ใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการเรียนรฯู้
Online, On-Demand & In February

โครงการนิเทศ การพัฒนาทักษะดิจิทลั
กจิ กรรม 3 นิเทศออนไลน์ พฒั นาทกั ษะดิจทิ

ลเพือ่ ใช้และสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ฯ
ทัล Online, On-Demand & In February

ข้อมูลเบอื้ งตน้

▪ วันที่ 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2565
▪ หลกั สูตร การสรา้ งใบงาน
▪ จานวนครู 11 คน วท. เพชรบรู ณ์, วช. เพชรบรู ณ์, วษท.

เชียงใหม,่ วท. เชียงคา, วท. สารภี, วก. วิเชียรบรุ ี, วก. ลอง,
วท. สุรนารี, วษท. แพร่, วท. พะเยา, วท. กาแพงเพชร

กอ่ นการนิเทศ

▪ หนังสือและแบบตอบรับ ดาเนนิ การได้ตามกาหนด นิเทศออ
▪ การเตรียมตัวดาเนินการครบและตามเวลากาหนด
กลุ่ม 18 ก
เช่น การทดสอบแบบฝึก การส่งงาน การเขา้ กล่มุ
การรายงานตวั
▪ ครอู อนไลน์ ณ สถานศึกษา

ระหวา่ งการนิเทศ

▪ รายงานเขา้ รบั นเิ ทศ ตรงเวลาและรวดเร็ว
▪ เตรียมขอ้ มลู และเขา้ ถงึ แอปพลเิ คชันวนั ประชมุ ครบถ้วน
▪ ใชไ้ วไฟสว่ นตวั -โนต้ บกุ๊ ทางานได้เสถียรตลอดการประชมุ
▪ ใชง้ าน Ms Teams หลายคนอาจจะทบทวนหลังจากทิ้งไปนาน

แต่มีทกั ษะดมี าก
▪ ทักษะการแชร์หนา้ จอ ดีมาก ท้งั ขณะนาเสนอหรือเม่ือพบปญั หา
▪ ขณะปฏบิ ตั ิ ใช้แอปพลิเคชัน หลาย ๆ แอปฯ พร้อมกนั ไดแ้ ละใช้

แอปพลเิ คชันหลกั ดมี าก
▪ ส่งงาน ขณะปฏิบัติ ได้ 100 %

โครงการนเิ ทศ การพฒั นาทกั ษะดจิ ทิ ัล
กิจกรรม 3 ประชมุ พัฒนาทกั ษะดจิ ิทัล O

อนไลน์ ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของผูร้ บั นเิ ทศ

กุมภาพนั ธ์ ▪ ทาให้ใช้ในการเรียนการสอนได้ดี อยากให้เต็มวนั
▪ สญั ญาณไวไฟไม่ค่อยดี ระยะเวลาน้อยไปนดิ ตอ้ งไปฝกึ ทบทวน

เพ่มิ เปน็ ใบงานที่ง่าย และทาคร้ังเดียวสามารถใช้งานไดห้ ลาย
ร่นุ ง่ายกว่า Liveworksheets มาก ทง้ั คนสร้างและเม่อื
นกั เรยี นทาเสรจ็ สง่ ได้งา่ ย
▪ การเรยี งเนือ้ หาในการอบรมเข้าใจง่ายดี
▪ อยากเรียนรู้กจิ กรรมรปู แบบใหม่ ๆ เพ่มิ ขึน้
▪ อยากเขา้ รว่ มในหลักสูตรตอ่ ๆ ไป ได้นามาใชป้ ระโยชนก์ ับ
ผเู้ รยี นอยา่ งมาก
▪ จะชวนครูในวิทยาลัยมาอบรมอกี
▪ สามารถนาความรู้ทไี่ ดร้ ับไปใช้ในการปรบั ปรุงการเรยี นการ
สอนให้มีประสิทธิภาพมากขน้ึ
▪ กิจกรรมกะทัดรัดดี เนอ้ื หาเขา้ ใจงา่ ย และสามารถนาความรู้ไป
ประยกุ ต์ใชง้ านได้จริง
▪ นาไปใช้ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
▪ เวลาในการอบรมเพ่ิมขึน้ เปน็ การทาใบงานท่ดี ี สะดวกดี งา่ ยต่อ
การนาไปใช้ใหน้ ร.

ข้อแนะนาในการนเิ ทศครง้ั ต่อไป

▪ สรา้ งความเขา้ ใจในการสง่ แบบตอบรับประชมุ ฯ
▪ ชีแ้ จงเหตผุ ล การเตรียมการก่อนเข้าประชุมทมี่ ีหลายข้ันตอน
▪ เป็นกลุม่ ทส่ี ามารถจะตอ่ ยอดหลกั สตู รอ่นื ๆ ได้
▪ สามารถทาหนา้ ทีเ่ ป็นผปู้ ระสานงานไดแ้ ละมีทกั ษะการ

ตดิ ต่อสอื่ สาร
▪ ปรบั เนอ้ื หาใหง้ ่ายขึน้ สาหรับบางคาส่ัง

ลเพอื่ ใชแ้ ละสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นร้ฯู
Online, On-Demand & In February

โครงการนิเทศ การพัฒนาทักษะดิจิทลั
กจิ กรรม 3 นิเทศออนไลน์ พฒั นาทกั ษะดิจทิ

ลเพือ่ ใช้และสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ฯ
ทัล Online, On-Demand & In February


Click to View FlipBook Version