The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จากโครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้านภาษาและการสื่อสารของผู้เรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีโดยใช้สื่อดิจิทัล ของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ ปีงบประมาณ 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pimporn Sarichun, 2019-10-08 22:14:13

ผลการนิเทศติดตามการใช้ชุดการเรียนและคู่มือครูวิชาภาษาไทยเชิงวิชาชีพ

จากโครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะด้านภาษาและการสื่อสารของผู้เรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีโดยใช้สื่อดิจิทัล ของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ ปีงบประมาณ 2562

ศนู ยสง เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื
สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธิการ 2562

ผลการนิเทศติดตาม
การใชช้ ุดการเรยี นและคมู่ อื ครูวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ
สาหรบั ผู้เรียนระบบทวภิ าคีตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพชัน้ สงู

พทุ ธศกั ราช 2562

ศูนยส์ ง่ เสริมและพัฒนาอาชวี ศึกษาภาคเหนือ
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

2562

ผลการนเิ ทศติดตามการใช้ชดุ การเรยี นและคมู่ ือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ ก

ช่ือเร่ือง ผลการนเิ ทศติดตามการใช้ชุดการเรียนและคมู่ ือครวู ชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ
สาหรับผู้เรยี นระบบทวิภาคี ตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง พทุ ธศกั ราช
หนว่ ยงาน 2562
พทุ ธศักราช
ศูนยส์ ง่ เสริมและพัฒนาอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื

2562
บทคดั ยอ่

การนิเทศติดตามการใช้ชุดการเรียนและคู่มือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ
สาหรับผูเ้ รียนระบบทวภิ าคี ตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สูง พทุ ธศักราช 2562 น้ี มี
วตั ถุประสงค์ เพ่ือศึกษาสภาพการใชช้ ุดการเรียนและคู่มือครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ และเพ่ือ
ประเมินความพึงพอใจของครูและผู้เรียนต่อการชุดการเรียนและคู่มือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิง
วิชาชีพ ตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จานวน 24 คน และผู้เรียนแบบทวิภาคีในสถานศึกษาสังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จานวน 649 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายข้ันตอน (Multistage
Stage sampling)เคร่ืองมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลการนิเทศติดตาม จานวน 4 ฉบับ ประกอบด้วย
1) แบบสัมภาษณ์ครูผู้สอน มีลักษณะเป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2) แบบสัมภาษณ์ผู้เรียน
มีลักษณะเป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูต่อการใช้ชุดการ
เรียน คู่มือครู และต่อการนิเทศติดตาม 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการใช้ชุดการ
เรียน และผลการเรียนรู้ของผู้เรียนหลังการใช้ชุดการเรียน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เน้ือหา (Content
Analysis) สรุปผลไดด้ งั น้ี

สภาพการนาชุดการเรียนและคู่มือครูไปใช้ของครูผู้สอน พบว่าโดยรวมครูผู้สอนได้นาไปใช้
ทุกหน่วยการเรียน โดยเห็นว่าชุดการเรียนมีการช้ีแจงการใช้ มีการกาหนดจุดประสงค์ มีเนื้อหาและ
กิจกรรมที่ชัดเจน มีความถูกต้อง เหมาะสม ครอบคลุม สอดคล้องกับผู้เรียน หลักสูตร และ
สถานการณใ์ นปัจจบุ ัน

ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่าครูผู้สอนมีความพึงพอใจต่อชุดการเรียนและคู่มือครู
วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ โดยรวมอยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ และมคี วามพึงพอใจตอ่ การนเิ ทศติดตาม
ทั้งผู้นิเทศ เน้ือหา กระบวนการ เครื่องมือ และการสะท้อนผลการนิเทศในระดับมากท่ีสุด ผลการ
ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อชุดการเรียน พบว่า โดยรวมผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้ชุด
การเรียนในระดับ มาก และผลการเรียนรู้หลังการใช้ชุดการเรียน พบว่าผู้เรียนมีระดับการเรียนรู้ใน
ระดับมาก และเห็นว่าเป็นสื่อที่เหมาะสม สอดคล้องกับผู้เรียนระบบทวิภาคี ท่ีสามารถเรียนรู้ได้ทุกที
ทกุ เวลา ส่งเสรมิ การพัฒนาการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ต่อไป

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนิเทศติดตามการใช้ชดุ การเรียนและคมู่ ือครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี ข

กิตติกรรมประกาศ

ผลการนิเทศติดตามการใช้ชุดการเรียนและคมู่ ือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ สาหรับ
ผู้เรียนระบบทวิภาคี ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2562 คร้ังนี้ ได้รับการ
สนับสนุนงบประมาณจากศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โดยความอนุเคราะห์ กรุณาอย่างดีย่ิง จากท่านสุรัตน์ จ่ันแย้ม ท่ีปรึกษาพิเศษด้านการบริหาร
โครงการศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี ท่านวัลลภา อยู่ทอง ผู้ทรงคุณวุฒิ ท่ีปรึกษาศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี
และท่านรุ่งนภา จิตต์ประสงค์ ผู้อานวยการศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคี รวมถึง ท่านวิทยา ใจวิถี
ผู้อานวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ ท่ีให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะอันเป็น
ประโยชน์ต่อการนิเทศติดตามให้สาเร็จ ลุลวงได้ด้วยดี คณะผู้สรุปผล ขอขอบพระคุณอย่างสูงไว้
ณ โอกาสน้ีด้วย

ขอขอบผู้อานวยการวิทยาลัย รองผู้อานวยการ ครูผู้สอน และนักศึกษาในสถานศึกษา
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่เป็นสถานศึกษาเป้าหมายในการทดลองใช้ชุดการ
เรียนและคู่มือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ รวมถึงให้ความอนุเคราะห์ในการให้ข้อมูลตลอดจน
การอานวยความสะดวกตา่ ง ๆ อย่างดียิง่ จนได้ขอ้ มลู อนั เปน็ ประโยชน์ท่ดี ีในการสรปุ ผลในครั้งนี้

ขอขอบคุณผู้อานวยการ ศึกษานเิ ทศก์ และเจ้าหน้าที่ของศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศึกษา
ภาคทั้ง 5 ภาค ทุกท่าน ท่ีให้การสนับสุนน ช่วยเหลือ รวมท้ังช่วยอานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ
ทาให้การดาเนนิ งานนิเทศตดิ ตามได้สาเรจ็ บรรลุตามวตั ถปุ ระสงคท์ กุ ประการ

ผู้สรุปผลการนเิ ทศตดิ ตาม
กันยายน 2562

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ

สรุปผลการนิเทศติดตามชุดการเรียนและคู่มือครูวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ ค

สารบัญ

เรือ่ ง หนา้

บทคดั ย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบญั ค
สารบัญตาราง ง
1. ความสาคัญและความเป็นมา 1
2. วัตถุประสงค์ของการนิเทศตดิ ตาม 2
3. ขอบเขตของการนเิ ทศตดิ ตาม 2
4. ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ 2
5. นิยามศัพท์ 3
6. กรอบแนวคดิ ในการนิเทศติดตาม 3
7. การดาเนนิ การนิเทศติดตาม 4
5
ข้นั ตอนที่ 1 ขัน้ วางแผนการนิเทศติดตาม 8
ขัน้ ตอนท่ี 2 ขัน้ ปฏิบตั กิ ารนเิ ทศตดิ ตาม 8
ขนั้ ตอนที่ 3 ขน้ั สรุปผลการนเิ ทศตดิ ตาม 9
8. ผลการนเิ ทศตดิ ตาม 10
ข้อมลู เบ้ืองตน้ ของประชากร ตวั อยา่ ง (กล่มุ เป้าหมาย) 11
ผลการศกึ ษาสภาพการใชช้ ุดการเรยี นรแู้ ละคมู่ ือครู 14
ผลการประเมนิ ความพึงพอใจต่อการใช้ชดุ การเรยี นรู้และคู่มอื ครูของ
ครผู ู้สอน 17
ผลการประเมินความพึงพอใจตอ่ การใชช้ ดุ การเรียนรู้ของผู้เรียน 18
ผลการประเมินการเรยี นรขู้ องผู้เรียนหลังการใชช้ ุดการเรียน 19
9. ข้อคน้ พบ/ข้อเสนอแนะจากการนิเทศตดิ ตาม 20
10. ภาคผนวก
ภาคผนวก ก : ตัวอยา่ งเครื่องมอื ที่ใชเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มลู
ภาคผนวก ข : ภาพกิจกรรม

ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ

สรุปผลการนิเทศติดตามชุดการเรียนและคู่มือครูวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ ง

รายการตาราง

ตารางท่ี หนา้

ตารางท่ี 1 แสดงจานวนและค่าร้อยละของครูกลมุ่ เป้าหมาย 10
ตารางที่ 2 แสดงจานวนและค่าร้อยละของผู้เรียนจาแนกตามภาคและเพศ 11
ตารางที่ 3 แสดงจานวนและค่าร้อยละของการนาชดุ การเรียนไปใช้จาแนกตามหนว่ ย 11

การเรยี นรู้ 14
ตารางท่ี 4 แสดงค่าเฉล่ียและค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของ
15
ครตู อ่ ชดุ การเรยี น
ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉล่ียและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของ 16

ครตู อ่ คู่มือครู
ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉล่ียและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของ

ครตู ่อการนเิ ทศตดิ ตาม

ตารางที่ 7 แสดงค่าเฉล่ียและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจของ 17
ผเู้ รยี นตอ่ ชุดการเรียน 18

ตารางที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดับการเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี นหลังการเรยี นรู้ด้วยชดุ การเรยี น

ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนือ

ผลการนิเทศตดิ ตามการใชช ดุ การเรยี นและคูมือครูวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี 1

1. ความสาํ คัญและความเปน มา

ภาษาไทย เปนเอกลักษณประจําชาติ เปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปน
เอกภาพ และเสริมสรางบคุ ลิกภาพของคนในชาตใิ หม ีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอส่ือสาร
ความเขาใจและความสัมพันธท่ีดีตอกัน ทําใหสามารถประกอบกิจธุรการงานและดํารงชีวิตรวมกัน
ในสังคมประชาชาติไดอยางสันติสุข และเปนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู ประสบการณจาก
แหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ เพื่อพัฒนาความรู ความคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอ
การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม และความกา วหนาทางเทคโนโลยตี ลอดจนนาํ ไปใชในการพัฒนาอาชีพใหมี
ความมั่นคง ทางสงั คมและเศรษฐกิจ การใชภ าษาไทยเพื่อความเปน คนไทย จึงมีการปลุกฝงวัฒนธรรม
ในการใชภาษาของคนไทย ซึ่งเปนภาษาท่ีสะทอนสังคมท่ีมีสัมมาคารวะ มีน้ําใจ มีความโอบออมอารี
เห็นอกเห็นใจ และเกรงใจกนั การใชวาจาสภุ าพออนนอม นุมนวลเปนวัฒนธรรมในการใชภาษาไทย
ซ่ึงทําใหสังคมไทยเปนสังคมท่ีมีเสนห สามารถปรับเขาสังคมอ่ืนไดเปนอยางดี การเรียนรูภาษาไทย
ทําใหเกิดการรัก หวงแหน และรักษาสมบัติมรดกทางวัฒนธรรมทุกประเภทของชาติ เพื่อความเปน
คนไทย ท่ีมีวัฒนธรรมสูงสง สืบทอดกันมานานหลายรอยป ดังน้ันกระทรวงศึกษาธิการจึงไดบรรจุ
รายวชิ าภาษาไทยไวในหลกั สูตรใหผ ูเ รียนทกุ ระดับชั้นในประเทศไทยไดศึกษา

สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดตระหนักถงึ ความสําคญั ของภาษาไทยดังกลาว
จึงมอบหมายให ศูนยสงเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาค ท้ัง 5 ภาค รวมกันดําเนินการจัดทําชุดการ
เรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง
พุทธศักราช 2562 สําหรับผูเรียนแบบระบบทวิภาคีข้ึน ซ่ึงเปนชุดการเรียนและคูมือครูท่ีมี
กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยครูผูสอนเปนผูแนะนํา กระตุน และ
อาํ นวยความสะดวกใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ใชกระบวนการคิด และลงมือกระทําหรือปฏิบัติจริงดวย
ตนเองตามสถานการณน น้ั ทําใหผเู รยี นสามารถใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง โดยเฉพาะอยางย่ิงผูเรียน
แบบทวิภาคี ท่ีเปนการจัดการศึกษามุงเนนการสรางความรวมมือระหวางสถานศึกษาและสถาน
ประกอบการในการพัฒนาศักยภาพผูเรียนอาชีวศึกษา ใหมีศักยภาพตรงกับความตองการของสถาน
ประกอบการ ซึ่งผูเรียนสามารถเรียนรจู ากชดุ การเรียนทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพดว ยตนเองได ดังน้ัน
เพ่ือใหไดขอมูลการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ จึงจัดทํา
โครงการนิเทศตดิ ตามการใชชุดการเรียนและคมู อื ครวู ิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพของครูและผูเรียน
ระบบทวภิ าคี ในสถานศึกษาสงั กดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาเพอื่ ศกึ ษาสภาพการใชและ
ศึกษาความพึงพอใจตอชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2562 เพื่อนําขอมูลไปใชเปนประโยชนในการพัฒนาการ
จดั การเรยี นการสอนอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี ตอไป

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื

ผลการนิเทศตดิ ตามการใชช ุดการเรยี นและคูมอื ครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ 2

2. วตั ถปุ ระสงค

เพ่อื นเิ ทศตดิ ตามการใชชุดการเรยี นและคมู อื ครูวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ ตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สงู พุทธศกั ราช 2562 โดยมวี ตั ถุประสงคย อ ย ดงั นี้

1. เพื่อศึกษาสภาพการใชชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตาม
หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชัน้ สูง พุทธศักราช 2562

2. เพ่ือประเมินความพึงพอใจของครูและผูเรียนตอการชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ ตามหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สูง พทุ ธศักราช 2562

3. ขอบเขต

3.1 ประชากร ไดแก ครูและผูเรียนระบบทวิภาคี ในสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุมตัวอยาง ไดแก ครูผูสอนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพใน
สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จํานวน 24 คน และผูเรียนแบบทวิภาคีใน
สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จํานวน 649 คน ไดมาโดยการสุมแบบ
หลายขนั้ ตอน

3.2 พ้ืนท่ี สถานศึกษาสงั กัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 5 ภาค ไดแก ภาคเหนือ
ภาคกลาง ภาคตะวนั ออกและกรงุ เทพหานคร ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ และภาคใต

3.3 ระยะเวลา ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2562

4. ประโยชนท ี่ไดรบั

4.1 สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทย
เชิงวชิ าชีพ ตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชั้นสงู พุทธศักราช 2562

4.2. ครูผูสอนไดชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2562 สําหรับอํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนการ
สอนทเี่ ปน ประโยชนกับครูและประโยชนในการพัฒนาผูเรียนสําหรับการสอนวิชาทักษะภาษาไทยเชิง
วิชาชพี ของครู ทม่ี ีมาตรฐานในทิศทางเดียวกนั

4.3. ผูเรียนมีความรูจากการเรียนรูโดยลงมือปฏิบัติรวมกัน มีทักษะการคิด มีความสุขและ
นาํ ไปประยกุ ตในการดาํ เนินชีวิตได

4.4 ไดสารสนเทศเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนโดยชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ ตามหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สูง พทุ ธศกั ราช 2562 สําหรับเปนขอมูล
พื้นฐานในการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนวิชาภาษาไทย และวิชาอ่นื ๆ ตอไป

5. นยิ ามศพั ท

5.1 ชุดการเรียนรู หมายถึง นวัตกรรมทางการเรียนการสอนสําหรับเปนแนวทางในการ
จัดการเรียนการสอนสําหรับครูผูสอนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วชิ าชีพชน้ั สงู พุทธศกั ราช 2562

5.2 การนเิ ทศตดิ ตามการใชชุดการเรียนและคมู ือครู หมายถึง การศกึ ษา สภาพการใชชุดการ
เรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนเิ ทศตดิ ตามการใชช ุดการเรยี นและคมู ือครูวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี 3

พุทธศักราช 2562 ไปใชในการจัดการเรียนการสอน และการศึกษาความพึงพอใจของครูผูสอนและ
ผูเรียนตอการใชวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง
พทุ ธศกั ราช 2562

6. กรอบแนวคดิ ในการนิเทศติดตาม

การนิเทศตดิ ตามการใชช ดุ การเรียนและคมู อื ครูวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ ตามหลักสูตร
ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง พทุ ธศักราช 2562 มีกรอบแนวคิด ดงั นี้

ชดุ การเรยี นคมู ือครูวิชา - สภาพการใชช ุดการเรยี นและคมู ือครูวิชาทักษะ
ทกั ษะภาษาไทยเชงิ ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตามหลักสตู รประกาศนียบตั ร
วิชาชพี ตามหลกั สูตร วิชาชพี ช้นั สงู พทุ ธศักราช 2562 ไปใชในการจดั การ
ประกาศนียบัตรวิชาชพี เรยี นการสอน
ช้นั สงู พทุ ธศักราช 2562 - ความพึงพอใจของครูผสู อนและผูเ รียนตอการใชช ดุ
การเรียนและคมู ือครูทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ ตาม
หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชนั้ สูง พทุ ธศักราช
2562

ภาพ กรอบแนวคิดการนเิ ทศตดิ ตาม

7. การดําเนนิ การ

การนเิ ทศตดิ ตามครง้ั นไี้ ดด ําเนนิ การแบงเปน 3 ขัน้ ตอน ดงั นี้
ข้ันตอนที่ 1 ข้ันวางแผนการนิเทศติดตามการใชชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ ตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสงู พุทธศกั ราช 2562
ขั้นตอนท่ี 2 ข้ันปฏิบัติการนิเทศติดตามการใชชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชิงวชิ าชพี ตามหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพชั้นสูง พุทธศกั ราช 2562
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นสรุปผลการนิเทศติดตามการใชชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชงิ วิชาชพี ตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้นั สงู พุทธศกั ราช 2562
มีกรอบการดาํ เนนิ การ ดังน้ี

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนิเทศตดิ ตามการใชชุดการเรียนและคมู อื ครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ 4

ขนั้ ตอน การดําเนนิ การ ผลการดาํ เนนิ การ
ขั้นตอนท่ี 1 ประชมุ ปฏบิ ัตกิ าร - แนวทางการนิเทศ
ขั้นวางแผนการนิเทศ - กาํ หนดประชากรกลุมเปา หมาย - แบบสมั ภาษณคร,ู ผเู รียน
ติดตาม - จัดทําแนวทางการนิเทศ - แบบสอบถามความพึงพอใจครู
- จัดทาํ เครอื่ งมอื การนเิ ทศ ,ผเู รยี น
- จัดทาํ ปฏทิ นิ กําหนดการนิเทศ - กําหนดการนเิ ทศ

ขัน้ ตอนที่ 2 -ประชุมชแ้ี จงการนิเทศตดิ ตาม -ขอ มลู สภาพการใชชดุ การเรยี น
ขน้ั ปฏบิ ัติการนเิ ทศ - แจง กําหนดการนเิ ทศตดิ ตามใหก ับ และคูม ือครู
ตดิ ตาม กลมุ เปา หมาย - ขอ มลู ความพึงพอใจครู,ผเู รยี น
- จัดเตรยี มเคร่ืองมือการนิเทศ ตอ การใชชดุ การเรียนและคมู อื ครู
- ดาํ เนนิ การนเิ ทศตามแนวทางและปฏทิ ิน
การนิเทศ
-รวบรวมขอมลู การนเิ ทศตดิ ตาม

ขน้ั ตอนที่ 3 - ประชุมปฏบิ ัตกิ าร สรปุ ผลการใชชุดการเรยี น
ขัน้ สรุปผลการนิเทศ - วเิ คราะหขอ มลู และคมู ือครวู ิชาทกั ษะ
ตดิ ตาม - สรปุ ผลการวเิ คราะหขอมลู ภาษาไทยเชิงวิชาชพี
-นาํ เสนอขอ มูล

ภาพกรอบการดาํ เนินการนิเทศตดิ ตาม
ขนั้ ตอนที่ 1 ขั้นวางแผนการนิเทศตดิ ตาม
ขั้นวางแผนการนิเทศติดตาม ไดดําเนินการจัดประชุมปฏิบัติการจัดทําแนวทางการนิเทศ
ตดิ ตาม โดยกาํ หนดใหศกึ ษานเิ ทศกทม่ี ีหนา ทรี่ บั ผดิ ชอบโครงการจากหนวยศึกษานิเทศกและจากศูนย
สงเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคทั้ง 5 ภาค มาประชุมเพื่อจัดทําแนวทางการนิเทศ และจัดทํา
เครื่องมือท่ีใชในการนิเทศติดตาม โดยกําหนดประชากรไดแก ครูในสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตัวอยางไดแก ครูผูสอนภาษาไทย จํานวน 24 คน ไดมาโดยการสุม
แบบหลายข้ันตอน (Multistage Stage sampling) ดังน้ี 1) แบงครูผูสอนภาษาไทยตามสถานศึกษา
เปน 5 ภาค 2) กําหนดอัตราสวนของครูภาษาไทยในแตละภาค 3) สุมอยางงาย ไดกําหนดใหศูนย
สงเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือเปนผูดําเนินการจัดการประชุมปฏิบัติการข้ึน ระหวางวันที่
28 ถึง 30 เมษายน 2562 ณ โรงแรมอโมรา ทาแพ จังหวัดเชยี งใหม ไดผลการดําเนนิ การ ดงั นี้

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนิเทศติดตามการใชชุดการเรยี นและคูมอื ครูวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี 5

1. แผนการนิเทศตดิ ตาม ชอื่ -สกุล ครผู ูสอน วนั ทน่ี ิเทศ ผูนิเทศ
ภาค/สถานศกึ ษา/จงั หวัด ก.ค.62 ส.ค.62

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นางสาวปรยี านชุ ประเสรฐิ สขุ 22
1 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี นายวชั ระ ลานเจริญ
23 นางสาววภิ าวดี
บุรีรมั ย ดวงสงู เดน
2 วิทยาลัยการอาชีพขนุ หาญ
25 นายอรรคฤทธิ์
3 วิทยาลยั การอาชพี ปากชอง นางสาวปวณี า พิตพงษ คมั ภิรานนท

4 วิทยาลยั การอาชพี อุดรธานี นางสาวศิรวิ รรณ แสนโสม 31 0872446144
5 วิทยาลยั สารพัดชาง นางกิตติยา ธีรพงศพ ัช 1
นางสาวอรชมุ า อาํ นวยผล
นครราชสมี า นางสาวทศั นม น หงสย น 31
ภาคกลาง 1 นางบศุ ยมาศ
6 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเพชรบุรี นิ่มนวล
7 วทิ ยาลัยการอาชีพสองพี่นอ ง 1 0819487265
20
8 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสุพรรณบุรี นางสาววรรษมน วฎั ฎสนนท
9 วิทยาลยั เทคนิค นายธชั ชาญานนิ ทร บุตรสวสั ดิ์ 21
นางสาวศรีสดุ า นามเมือง
พระนครศรีอยุธยา
10 วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี วันท่ีนเิ ทศ ผนู ิเทศ
ก.ค. 62 ส.ค. 62 นางปรยี า
ลพบุรี ตนั ติวัฒน
ภาคใต 20 0862907032
22
11 วทิ ยาลยั สารพดั ชางสรุ าษฎร นางกนกลักษณ บัวเพชร
ธานี นางสาวปรยี านนั ท ปานเมือง 7
นางสาวสุภาวดี ดิสโร
12 วิทยาลัยการอาชีพไชยา นางสาวรัชนิดา บวั เนยี ม 20
13 วิทยาลัยเทคโนโลยีการจดั การ นางสาวณชิ าภัทร สตั ยซ ื่อ
18 นายจริ าวฒุ ิ
สิงหนคร แสงศิริโรจน
14 วทิ ยาลยั เทคนิคถลาง
ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร 19 นายมานพ
15 วทิ ยาลัยเทคนิคบา นคาย กลน่ิ ทรพั ย

16 วทิ ยาลยั การอาชีพองครักษ นางสาวสุมาลี คลอ งแคลว 22 นางสมุ นา
กนั แยม
17 วิทยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธานี นางสาวปนิดา อนิ สี

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื

ผลการนิเทศตดิ ตามการใชช ุดการเรยี นและคมู อื ครวู ิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี 6

18 วิทยาลยั เทคนคิ ธญั บรุ ี นางสาวทัศนวรรณ หอมผล 13 นางอโนทยา
เรืองศรี
19 วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี นางสนฎิ ฐา วุฒวิ กิ ยั การ 24
ภาคเหนอื นางสาวอังคณา เครือคํา 25 16 0812945084
20 วทิ ยาลัยการอาชีพเวียงเชยี งรุง นางสาวทนิ มณี พลศริ ิ 30 น.ส.พมิ พร
21 วิทยาลยั เทคโนโลยีและการ นางสาวกญั ญาณี แนวสภุ าพ 31 ศะริจนั ทร
นายฤทธชิ ยั บัวสวา ง 0898386286
จัดการปง นางสาวกานดา เอยี่ มกระ นางสุดสาย
22 วทิ ยาลยั การอาชพี วิเชยี รบรุ ี สนิ ธ ศรศี ักดา
23 วิทยาลัยเทคนคิ พิษณโุ ลก 0812875496
24 วทิ ยาลัยการอาชพี นวมนิ ทร
9 นางจารณุ ี
แมฮ อ งสอน มณีขตั ยิ 
0956863339

2. เคร่อื งมือการนิเทศตดิ ตาม
เครื่องมอื สําหรับเก็บรวบรวมขอ มลู การนเิ ทศตดิ ตาม จํานวน 4 ชดุ ไดแก แบบสัมภาษณครู
และผูเรียนเกี่ยวกับการใชชุดการเรียนและคูมือครู จํานวน 2 ชุด และแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึง
พอใจตอชุดการเรยี นและคูมอื ครู จํานวน 2 ชุด รายละเอยี ดดังน้ี
(1) แบบสมั ภาษณครูผูสอนในการใชช ดุ การเรียนและคูมอื ครูวชิ าทักษะภาษาไทยเชิง
วชิ าชพี ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชัน้ สูง พุทธศกั ราช 2562 มีลักษณะเปนแบบสัมภาษณแบบมี
โครงสราง สําหรบั ครูผูสอนเก่ยี วกับการนําชดุ การเรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ไป
ใชใ นการจัดการเรยี นรู มที ้งั หมด 5 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของครูผูสอนที่ใหสัมภาษณ ตอนที่
2 สภาพการนําชุดการเรียนไปใชในการจัดการเรียนรู ตอนที่ 3 ลักษณะการใชชุดการเรียนวิชา
ทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตอนท่ี 4 การนําคูมือครูสําหรับชุดการเรียนไปใชในการจัดการเรียนรู
ตอนที่ 5 ขอคดิ เหน็ /ขอ เสนอแนะอืน่ ๆ
(2) แบบสัมภาษณผูเรียนในการใชช ดุ การเรยี นวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2562 มีลักษณะเปนแบบสัมภาษณแบบมี
โครงสราง สําหรบั ผูเรยี นเกีย่ วกับการนาํ ชดุ การเรยี นวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ มีท้ังหมด 4 ตอน
คือ ตอนที่ 1 เปนขอมูลท่ัวไปของผูเรียนที่ใหสัมภาษณ ตอนที่ 2 สภาพการการเรียนรูดวยชุดการ
เรียน ตอนที่ 3 ลักษณะการใชชุดการเรียนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตอนที่ 4 ขอคิดเห็น/
ขอเสนอแนะอืน่ ๆ
(3) แบบสอบถามความพึงพอใจของครูผูสอนที่มีตอชุดการเรียนและคูมือครูวิชา
ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2562 มีลักษณะเปนแบบ
ตรวจสอบรายการ (Checklist) และแบบมาตราสวนประมาณคา ( Rating scale) มีท้ังหมด 3 ตอน
คือ ตอนที่ 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของผูตอบที่มีตอชุดการ
เรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ มีลักษณะเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ
โดยมเี กณฑ ดงั น้ี

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนิเทศตดิ ตามการใชช ดุ การเรยี นและคมู ือครวู ิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี 7

5 หมายถงึ พึงพอใจในระดับมากทีส่ ุด
4 หมายถึง พึงพอใจในระดับมาก
3 หมายถงึ พึงพอใจในระดบั ปานกลาง
2 หมายถงึ พงึ พอใจในระดบั นอย
1 หมายถงึ พึงพอใจในระดบั นอยทสี่ ดุ
และตอนที่ 3 เปน ขอเสนอแนะอืน่ ๆ มลี ักษณะเปน แบบตอบสัน้
(4) แบบสอบถามความพึงพอใจและการเรียนรูของผูเรียนที่มีตอชุดการเรียนวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ สําหรับผเู รียนระบบทวภิ าครี ะดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช
2562 มีลักษณะเปนแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) และแบบมาตราสวนประมาณคา ( Rating
scale) มีท้ังหมด 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจ
ของผูเรียนท่ีมีตอชุดการเรียนวิชาภาษาไทยเชิงวิชาชีพ มีลักษณะเปนแบบมาตราสวนประมาณคา 5
ระดบั โดยกําหนดเกณฑ ดงั น้ี
5 หมายถงึ พึงพอใจ/มกี ารเรยี นรใู นระดับมากที่สุด
4 หมายถงึ พงึ พอใจ/มกี ารเรียนรใู นระดับมาก
3 หมายถงึ พงึ พอใจ/มีการเรยี นรใู นระดับปานกลาง
2 หมายถึง พงึ พอใจ/มกี ารเรียนรใู นระดับนอ ย
1 หมายถึง พึงพอใจ/มีการเรยี นรใู นระดับนอ ยที่สุด
และตอนที่ 3 เปน ขอ เสนอแนะอืน่ ๆมลี ักษณะเปน แบบตอบส้ัน
ขน้ั ตอนที่ 2 ข้ันปฏบิ ัตกิ ารนิเทศติดตาม
ปฏบิ ตั ิการนเิ ทศตดิ ตาม โดยดาํ เนนิ การกจิ กรรม 2 กิจกรรม คอื 1) จดั ประชุมชแ้ี จงการนิเทศ
ติดตามใหกับผูนิเทศคือศึกษานิเทศกทั้ง 5 ภาค และครูกลุมเปาหมาย เพื่อช้ีแจงแนวทางการ
ดาํ เนินการนิเทศติดตามและประสานแผนการนิเทศติดตามระหวางผูนิเทศและผูรับการนิเทศ โดยจัด
ประชุมข้ึนระหวางวันที่ 1 ถึง 3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมอโมรา ทาแพ จังหวัดเชียงใหม
ดาํ เนนิ การแจงกําหนดการนิเทศตดิ ตามใหกับกลุมเปา หมาย จดั เตรยี มเครือ่ งมอื การนเิ ทศ ดําเนินการ
นิเทศตามแนวทางและปฏทิ นิ การนเิ ทศ และรวบรวมขอมลู การนเิ ทศติดตาม
ขน้ั ตอนที่ 3 ขน้ั สรุปผลการนเิ ทศตดิ ตาม
ประชุมปฏิบัติการ เพื่อวิเคราะหขอมูลการนิเทศติดตาม สรุปผลการวิเคราะหขอมูล และ
นําเสนอขอมูล จัดประชุมข้ึนระหวางวันที่ 22 ถึง 25 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมอโมรา ทาแพ
จังหวัดเชียงใหม โดยขอมูลที่ไดจากเครื่องมือแบบสัมภาษณและแบบตรวจสอบรายการ นํามา
วิเคราะหเน้ือหา หาคาความถ่ี คารอยละ และนําเสนอแบบบรรยายความ ขอมูลท่ีไดจากแบบสอบที่

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนเิ ทศตดิ ตามการใชชุดการเรยี นและคูม อื ครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ 8

เปนแบบมาตราสวนประมาณคา ( Rating scale) นํามาวิเคราะหหาคาเฉล่ีย และคาสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐานนาํ เสนอขอมูลเปน ตารางและบรรยายใตตาราง โดยมีเกณฑก ารแปลผล ดังน้ี

คา เฉลย่ี ระดบั ความพึงพอใจ/การเรยี นรู
4.51 -5.00 มีความพึงพอใจ/มีการเรยี นรู ในระดับมากท่สี ดุ
3.51-4.50 มคี วามพึงพอใจ/มีการเรียนรู ในระดับมาก
2.51-3.50 มคี วามพึงพอใจ/มีการเรียนรู ในระดบั ปานกลาง
1.51-2.50 มคี วามพึงพอใจ/มีการเรยี นรู ในระดับนอย
1.00-1.50 มีความพึงพอใจ/มีการเรียนรู ในระดบั นอยทส่ี ดุ

8. สรปุ ผลการนิเทศติดตาม

การนิเทศติดตามการใชชุดการเรียนรูและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ สําหรับ
ผเู รียนระบบทวภิ าคตี ามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2562 ไดผลการวิเคราะห
ขอ มลู การนเิ ทศติดตามลําดบั ดงั นี้

ตอนที่ 1 ขอมูลเบ้ืองตนของประชากร ตวั อยา ง (กลมุ เปา หมาย)
1.1 ขอมลู เบ้ืองตน ของครูผสู อน
1.2 ขอมูลเบื้องตน ของผเู รียน

ตอนท่ี 2 ผลการนิเทศติดตามสภาพการชุดการเรียนรูและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิง
วชิ าชีพ สําหรับผเู รียนระบบทวภิ าคีตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสงู

2.1 ผลการศึกษาสภาพการใชชุดการเรียนรูและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิง
วิชาชีพ สําหรับผูเรียนระบบทวิภาคีตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2562
ของครูผูส อน

2.2 ขอ คดิ เห็นตอ ใชชดุ การเรยี นวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพสําหรับผูเรียนระบบ
ทวภิ าคีตามหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้ันสูง พุทธศักราช 2562 ของครูผสู อน

ตอนท่ี 3 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนรูและคูมือครูวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ สําหรับผูเรียนระบบทวิภาคีตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงสําหรับ
ผเู รยี นระบบ ทวิภาคีตามหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู พทุ ธศกั ราช 2562

3.1 ผลการประเมินความพึงพอใจของครูผูสอนตอการใชชุดการเรียนรูและคูมือครู
วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ สําหรับผูเรียนระบบทวิภาคีตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสงู พทุ ธศักราช 2562

3.2 ผลการประเมินความพึงพอใจและผลการเรียนรูของผูเรียนหลังการใชชุดการ
เรยี นวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี สําหรับผูเ รียนระบบทวภิ าคีตามหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชัน้ สูง พุทธศักราช 2562

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนิเทศติดตามการใชช ดุ การเรยี นและคมู อื ครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ 9

ตอนท่ี 1 ขอมลู เบื้องตน ของประชากร ตวั อยาง (กลุม เปาหมาย)
1.1 ขอมลู เบื้องตนของครูผูสอนภาษาไทยหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จํานวน
ทัง้ หมด 24 คน ประกอบดวย ภาคเหนือ จํานวน 5 คน ภาคกลาง จํานวน 5 คน ภาคตะวันออกและ
กรุงเทพมหานคร จํานวน 5 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จํานวน 5 คน และภาคใต จาํ นวน 4 คน
จาํ แนกตามขอ มูลท่วั ไปไดด ังนี้

ตารางที่ 1 แสดงจาํ นวนและคารอยละของครูผูสอน จาํ นวน รอ ยละ
ขอมูลทั่วไป 2 08.33
22 91.67
เพศ 24 100.00
ชาย 10 41.67
หญิง 4 16.67
รวม 4 16.67
- 0.00
ตําแหนง /วิทยฐานะ - 0.00
ครูผูชว ย 6 25.00
ครู 24 100.00
ครูชํานาญการ
ครูชํานาญการพเิ ศษ
ครูเชี่ยวชาญ
อื่น ๆ (ระบุ) ครูพเิ ศษ/พนกั งานราชการ
รวม

จากตารางที่ 1 ครูกลมุ เปาหมายสวนใหญเปน เพศหญิง รอ ยละ 91.67 ทีเ่ หลอื เปนเพศชาย รอ ยละ
08.33 และสว นใหญเ ปนครูผชู วย รอยละ 41.67 ของกลมุ เปาหมายทัง้ หมด รองลงมาเปนครพู ิเศษ
รอยละ 25 ครู และครูชาํ นาญการ รอ ยละ 16.67 ตามลาํ ดับ

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนเิ ทศติดตามการใชช ดุ การเรียนและคูม ือครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ 10

1.2 ขอมูลเบอ้ื งตน ของผูเรียน

ตารางท่ี 2 แสดงจาํ นวนและคารอยละของผูเ รียนจาํ แนกตามภาคและเพศ

ขอ มูลผูเรียน จาํ นวน รอยละ
1 ภาคเหนอื 103 15.87
2 ภาคกลาง 131 20.18
3 ภาคตะวนั ออกและกทม. 179 27.58
4 ภาคตะวันออกออกเฉยี งเหนือ 140 21.57
5 ภาคใต 96 14.79
649 100.00
รวม 409 63.02
เพศ 240 36.98
649 100.00
ชาย
หญิง

รวม

จากตารางที่ 2 ขอมลู ของผเู รียนทเ่ี ขารว มโครงการ สว นใหญอ ยูใ นภาคตะวันออกและกทม.มากที่สดุ
รอ ยละ 27.58 รองลงมาอยูในภาคภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ รอยละ 21.57 ภาคกลาง รอยละ20.18
ภาคเหนือ รอ ยละ 15.87 และภาคใต รอยละ 14.79 ตามลาํ ดบั

ตอนที่ 2 ขอ มูลการนาํ ชดุ การเรียนไปใชใ นการจดั การจดั การเรยี นรูของครผู สู อน
2.1 สภาพการนําไปใช

ตารางที่ 3 แสดงจาํ นวนและคารอยละของการนาํ ชดุ การเรยี นไปใชจ ําแนกตามหนว ยการเรยี นรู
ขอ มูลการ รอ ยละของ
หนว ยการเรียนรู นาํ ไปใช การนําไปใช
ใช ยงั ไมไดใช
หนวยท่ี 1 การใชภ าษาไทยในการสอ่ื สารอยางมีประสทิ ธภิ าพ 22 2 91.67
หนว ยที่ 2 การวเิ คราะหสารจากการฟง การดู การอาน 20 4 83.33
หนวยที่ 3 การพดู ในงานอาชีพ 22 2 91.67
หนวยท่ี 4 การพดู ในโอกาสตาง ๆ ของสังคม 19 5 79.17
หนว ยที่ 5 การเขียนเพ่อื กิจธรุ ะ 12 12 50.00
หนวยที่ 6 การเขยี นในงานอาชพี 11 13 45.83
หนวยท่ี 7 การเขียนรายงานการปฏบิ ตั ิงานเชิงวชิ าชพี 14 10 58.33

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื

ผลการนเิ ทศติดตามการใชช ุดการเรียนและคมู อื ครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี 11

จากตารางท่ี 2 ขอ มลู สภาพการนาํ ชุดการเรียนไปใชในการจัดการเรียนการสอน ของครูผูสอน พบวา
โดยรวมครูผูสอนไดนําไปใชทุกหนวยการเรียนโดยหนวยการเรียนรูท่ี 1 เรื่องการใชภาษาไทยในการ
สือ่ สารอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ และ หนว ยท่ี 3 เรอื่ งการพดู ในงานอาชีพ มากที่สุด คิดเปนรอยละ 91.67
รองลงมาเปน หนวยท่ี 2 การวิเคราะหสารจากการฟง การดู การอาน รอยละ83.33 หนวยท่ี 4 การ
พูดในโอกาสตาง ๆ ของสังคม รอยละ 79.17 หนวยที่ 7 การเขียนรายงานการปฏิบัติงานเชิงวิชาชีพ
รอยละ 58.33 หนว ยที่ 5 การเขยี นเพือ่ กิจธุระ รอยละ 50.00 และ หนวยท่ี 6 การเขียนในงานอาชีพ
รอ ยละ 45.83 ตามลาํ ดับ

2.2 ขอคดิ เหน็ ตอ ใชชดุ การเรยี นวชิ าทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพของครผู สู อน สรปุ ไดดังนี้
(1) ดานความชดั เจน โดยรวมครผู สู อนเหน็ วา ชดุ การเรยี นวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ มี
การชแ้ี จงการใช มกี ารกาํ หนดจดุ ประสงค มีเน้ือหา กิจกรรมชัดเจนสามารถนําไปใชไดงาย และมีสวน
นอยทยี่ งั ไมชัดเจน เชน คําช้แี จงในสว นของส่ือบางกจิ กรรม
(2) ดานความถูกตองและความเหมาะสม โดยรวมเห็นวา เน้ือหาสวนใหญมีความถูกตอง
ตามหลักการใชภาษา มีความกระชับเหมาะสม เขาใจงายและมีความถูกตองชัดเจน และมีความ
เหมาะสมกับผูเรียนตามชวงวัยของผูเรียน และรูปแบบการเรียนของผูเรียนทวิภาคี และมีบางสวนที่
พิมพผดิ และครผู สู อนไดแกไขและอธบิ ายเพ่ิมเติมได
(3) ดานความครอบคลุม โดยรวมเห็นวา ชุดการเรียนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ
มีเน้ือหา กิจกรรม ครอบคลุมสอดคลอ งกับหลักสูตร และสถานการณใ นปจจุบนั
(4) ดานความนาสนใจ โดยรวมเห็นวา ชุดการเรียนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ มีการ
ออกแบบเน้ือหา กิจกรรม สื่อเทคโนโลยีที่นํามาใชในชุดการเรียน นาสนใจ มีความทันสมัยดวยระบบ
ลิงคขอมูล และกิจกรรมจากแอพพลิเคช่ันที่นาสนใจ ทําให ผูเรียนกระตือรือรนในการเรียน การ
ออกแบบ เนื้อหา กิจกรรม และส่ือสามารถใชกับแหลงขอมูล ทําใหผูเรียนสนใจมากขึ้น ชวยดึงดูด
ความสนใจแกผเู รียนมากขน้ึ กิจกรรมและสือ่ ในหนวยการเรยี นรู นา สนใจ ใชสีสวยงาม ลิงคใชงานได
ชุดการเรียนและส่ือ มีความนาสนใจตอการเรียนรู ซึ่งในระหวางจัดการเรียนรูหรือระหวางที่ผูเรียน
ศกึ ษาดว ยตนเองมคี วามตืน่ เตนและสนใจกบั สอื่ การสอน อยางตอเนื่อง ผูเรียนสนุกสนานกับการเรียน
อยางไรก็ตามในบางกิจกรรมการใชสี มีความใกลเคียงกันมากผูเรียนแยกไมคอยออก สื่อในบาง
กิจกรรม เปดแลวปดไมได สื่อบางอันครูไมเขาใจวิธีเลนทําไมถูก ดังน้ันควรเพิ่มเวลาในการอบรม
ครูผสู อนกอนนาํ สอ่ื ไปใชใ หมากขน้ึ

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื

ผลการนเิ ทศตดิ ตามการใชชุดการเรยี นและคมู ือครูวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ 12

(5) แบบทดสอบกอนและหลังเรียน โดยรวมเห็นวาแบบทดสอบกอนและหลังเรียน มีความ
ยากงายพอเหมาะ เหมาะสมกับเนื้อหา จุดประสงคการเรียนรู และระดับผูเรียน มีบางขอท่ีคอนขาง
งาย และบางขอ ยาก บทเรยี น แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนควรเพิ่มขอคําถามใหอยูในจํานวน
20 ขอ และควรสลับขอ คําถามหรอื ตวั เลอื ก

(6) จุดเดน และจุดท่ีควรพัฒนา โดยรวมสวนใหญเห็นวาชุดการเรียนวิชาทักษะภาษาไทย
เชิงวิชาชีพมีจุดเดนในการนําเสนอสื่อดิจิทัลท่ีทันสมัย ใชงาย สะดวก เพราะผูเรียนใชบนมือถือ
ประหยัดกระดาษในการใชแบบทดสอบ นําไปใหผูเรียนทบทวนไดและทําแบบฝกไดเอง สามารถ
สง่ั งานและมอบหมายงานไดเลย ผเู รียนมีความต่ืนเตน ทําใหผูเรียนสนใจตอการเรียน จุดเดน สะดวก
ตอการเรยี นรูดว ยตนเอง และเหมาะกับการจัดการเรียนกับนักเรียนทวิภาคี และยังนํามาประยุกตกับ
การจัดการเรียนรูกับผูเ รียนในระบบปกติไดเปนอยางดี จุดที่ควรพัฒนา ควรแกไขความผิดพลาดของ
สอ่ื และเน้อื หาทม่ี รี ปู ภาพหรอื ประโยคที่ยังผดิ ใหถูกตอง

2.3 ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะของครูผูสอนเกี่ยวกับชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี

ครูผูสอนระบุวาชุดการเรียนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพเปนสื่อท่ีชวยใหครูผูสอน
สามารถจัดการเรียนการสอนไดงายข้ึน ผูเรียนสามารถใชในการเรียนรูไดดวยตนเอง สําหรับคูมือครู
เปนสื่อที่ชวยใหครูใชคูมือเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน อยางไรก็ตามการนําชุดการเรียนและ
คมู ือครวู ชิ าทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ ไปใชไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ หอ งเรียนควรมีวัสดุ อุปกรณ เชน
คอมพิวเตอร จอโปรเจคเตอร เคร่อื งเสยี ง สัญญาณอนิ เตอรเ นต็ ทีม่ ีประสิทธภิ าพเชนกนั

ตอนท่ี 3 ผลการประเมินความพึงพอใจตอการใชชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ สําหรับผูเรียนระบบทวิภาคีตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
พทุ ธศักราช2562

3.1 ผลการประเมินความพึงพอใจของครูผูสอนตอการใชชุดการเรียน คูมือครู และการ
นเิ ทศตดิ ตาม

3.1.1 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของครูผสู อนตอ การใชช ดุ การเรยี น

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื

ผลการนิเทศติดตามการใชช ุดการเรยี นและคูมอื ครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี 13

ตารางท่ี 4 แสดงคา เฉลี่ยและคาสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานของระดบั ความพึงพอใจของครูชดุ การเรยี น
ระดบั ความพึงพอใจ
รายการ ×� S.D. แปลผล

ชุดการเรียนรูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี 4.67 0.48 มากที่สดุ
1 สว นประกอบตอนตน หรือสว นหนา (ปก คาํ นํา สารบญั )
คําชแ้ี จง วิธกี ารศกึ ษาชุดการเรียนวิชาทักษะภาษาไทยเชิง 4.38 0.64 มาก
2 วชิ าชพี (วิธกี ารศกึ ษา ขัน้ ตอนการเรียนชดุ การเรียน ข้นั ตอนการ
เรียนระดับหนว ย)
3 ความเหมาะสมการจดั แบงหนวยเนอื้ หาสาระ 7 หนว ยการเรยี น 4.54 0.50 มากที่สุด

4 ความครอบคลมุ ของเน้ือหาสาระในแตละหนวยการเรยี นรู 4.42 0.65 มาก

5 ความชัดเจนของเนื้อหาสาระในแตละหนว ยการเรียนรู 4.46 0.58 มาก

6 กิจกรรมการที่บูรณาการสือ่ ดิจิทัลเรียนรใู นแตละหนว ยการ 4.75 0.44 มากทส่ี ดุ
เรียนรู
7 แบบประเมนิ ตนเองกอนและหลงั เรยี นในแตล ะหนว ยการเรียนรู 4.46 0.50 มาก

8 สว นประกอบตอนทายหรือสว นทาย (เอกสารอา งอิง ภาคผนวก) 4.58 0.58 มากท่สี ดุ

9 ประโยชนของชดุ การเรียนวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ ตอ 4.71 0.46 มากท่ีสดุ
ผูเรียน 4.83 0.38 มากทส่ี ุด
ประโยชนของชุดการเรียนวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตอ 4.58 0.52 มากทส่ี ุด
10 ครผู ูสอน

รวม

จากตารางที่ 4 ครูผสู อนมคี วามพึงพอใจตอ ชุดการเรียนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ โดยรวมอยูใน
ระดับมากที่สุด ×� = 4.58 ซ่ึงพบวาระดับความพึงพอใจสูงสุดสามอันดับ ไดแก ประโยชนของชุดการ
เรียนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตอครูผูสอน ×� = 4.83 รองลงมาคือ กิจกรรมการท่ีบูรณาการ
ส่ือดิจิทัลเรียนรูในแตละหนวยการเรียนรู ×� = 4.75 และประโยชนของชุดการเรียนวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตอ ผูเรียน ×� = 4.71 ตามลาํ ดบั

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื

ผลการนิเทศติดตามการใชชุดการเรียนและคมู ือครวู ิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี 14

3.1.2 ผลการประเมินความพงึ พอใจของครูผสู อนตอการใชคมู ือครู

ตารางท่ี 5 แสดงคาเฉล่ยี และคาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดบั ความพึงพอใจของครูตอ คูมือครู
ระดบั ความพึงพอใจ
รายการ ×� S.D. แปลผล

คูม ือครวู ชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี
สวนประกอบตอนตน หรือสวนหนา ของคูมือครู (ปก คํา
1 นาํ สารบญั บทนาํ ) 4.75 0.44 มากท่ีสุด

2 ความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรแู ตละหนว ย 4.67 0.48 มากทีส่ ดุ
การเรียนในคูมอื ครู
ความสอดคลองของแนวทางการนําไปใชกับชุดการเรยี น 4.54 0.50 มากที่สุด
3 วิชาภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ

4 ความสอดคลองของคมู ือครูกับชุดการเรียนวชิ าทกั ษะ 4.67 0.48 มากท่ีสดุ
ภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ
ประโยชนข องคูมอื ครสู ําหรบั การใชชดุ การเรียนวชิ า 4.79 0.41 มากท่สี ุด
5 ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ

รวมเฉล่ยี 4.68 0.46 มากทสี่ ุด

จากตารางที่ 5 ครูผูสอนมีความพึงพอใจตอคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ โดยรวมอยูใน
ระดับมากทสี่ ุด ×� = 4.68 ซ่ึงพบวาระดับความพึงพอใจสูงสุดสามอันดับ ไดแก ประโยชนของคูมือครู
สําหรับการใชชุดการเรียนวิชาภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ×� = 4.79 รองลงมาสวนประกอบตอนตนหรือ
สวนหนาของคูมือครู (ปก คํานํา สารบัญ บทนํา) ×� = 4.75 ความเหมาะสมของแผนการจัดการ
เรียนรูแตละหนวยการเรียนในคูมือครู และ ความสอดคลองของคูมือครูกับชุดการเรียนวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชิงวชิ าชีพ ×� = 4.67 ตามลาํ ดบั

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนเิ ทศติดตามการใชชดุ การเรยี นและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี 15

3.1.2 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของครผู สู อนตอ การนิเทศตดิ ตาม

ตารางที่ 6 แสดงคาเฉลยี่ และคา สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของระดับความพงึ พอใจของครูตอ การนเิ ทศ
ติดตาม
ระดับความพึงพอใจ
รายการ ×� S.D. แปลผล

ความพงึ พอใจตอการนิเทศตดิ ตาม
1 ผนู เิ ทศ (บคุ ลิกภาพ ความสามารถในการนเิ ทศ) 4.71 0.55 มากทสี่ ดุ
2 เนื้อหาทนี่ เิ ทศ (ตดิ ตามการใชชุดการเรียนและคูมอื คร)ู 4.71 0.55 มากทส่ี ดุ

3 กระบวนการนิเทศ (รปู แบบ ขั้นตอน วิธีการ) 4.75 0.53 มากที่สุด

4 เครือ่ งมือที่ใชใ นการนิเทศ (แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม) 4.83 0.38 มากทสี่ ุด

5 การสะทอนผลการนเิ ทศ (การใหค ําแนะนํา ขอเสนอแนะ) 4.79 0.41 มากทส่ี ดุ

รวมเฉลีย่ 4.76 0.48 มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 6 ครผู ูสอนมีความพงึ พอใจตอ การนิเทศติดตาม โดยรวมอยูในระดับมากที่สุด ×� = 4.76
ซ่ึงพบวาระดับความพึงพอใจสูงสุดสามอันดับ ไดแก เครื่องมือที่ใชในการนิเทศ (แบบสัมภาษณ
แบบสอบถาม) ×� = 4.83 รองลงมา ไดแก การสะทอ นผลการนิเทศ (การใหค าํ แนะนํา ขอเสนอแนะ)
×� = 4.79 และกระบวนการนเิ ทศ (รูปแบบ ข้นั ตอน วธิ กี าร) ×� = 4.75 ตามลําดบั

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนิเทศตดิ ตามการใชช ุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวชิ าชพี 16

3.2 ผลการประเมินความพึงพอใจและผลการเรียนรูของผูเรียนหลังการใชชุดการเรียนรู
วิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ สําหรับผูเรียนระบบทวิภาคีตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชัน้ สงู พุทธศกั ราช 2562

3.2.1 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผเู รยี นตอการใชชุดการเรยี น

ตารางที่ 7 แสดงคา เฉลีย่ และคาสว นเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดบั ความพงึ พอใจของผูเรียนตอ
ชุดการเรียน (N=240)
ระดบั ความพึงพอใจ
รายการ ×� S.D. แปลผล

1 สวนประกอบตอนตน หรือสวนหนา (ปก คาํ นํา สารบัญ) 3.83 1.01 มาก
2 คาํ ชี้แจงการใช วิธศี ึกษาชุดการเรียนวชิ าทกั ษะภาษาไทย 3.81 0.94 มาก
3 ความชดั เจนของเนือ้ หาสาระในแตล ะหนวยการเรียนรู 3.91 0.95 มาก
4 ความยาก-งา ย ของเนื้อหาสาระในแตละหนวยการเรียนรู 3.78 0.94 มาก
5 การเขา ถึงสอ่ื ดิจิทัลในแตละหนว ยการเรยี นรู 3.97 0.91 มาก
6 ภาพประกอบในแตละหนวยการเรยี นรู 3.98 0.95 มาก
7 กิจกรรมทําใหผ เู รยี นเกดิ ความกระตือรือรน ในการเรียนรู 3.95 0.91 มาก
แบบประเมินตนเองกอนและหลังเรียนในแตละหนวยการ 3.83 0.95 มาก
8 เรียนรู

9 สว นประกอบตอนทา ยหรือสว นทาย (เอกสารอางองิ 3.87 0.88 มาก
ภาคผนวก)
10 ความสะดวกในการนาํ ไปใชใ นการเรียนรูดวยตนเอง 3.89 0.99 มาก
3.88 0.94 มาก
รวมเฉลยี่

จากตารางที่ 7 ความพึงพอใจของผเู รยี นตอชุดการเรยี นวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ โดยรวมอยูใน
ระดับมาก ×� = 3.88 ซ่ึงมีอันดับความพึงพอใจสามอันดับสูงสุดไดแก ภาพประกอบในแตละหนวย
การเรียนรูของชุดการเรียนวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ×� = 3.98 การเขาถึงส่ือดิจิทัลในแตละ
หนวยการเรียนรู ×� = 3.97 และกิจกรรมทําใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรนในการเรียนรู ×� =
3.95 ตามลําดับ

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื

ผลการนิเทศติดตามการใชช ุดการเรียนและคมู อื ครวู ิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชีพ 17

3.2.2 ผลการประเมนิ ระดับการเรียนรูของผูเ รียนหลังการใชช ุดการเรียน

ตารางท่ี 8 แสดงคาเฉล่ียและคา สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของระดบั การเรียนรขู องผเู รยี นหลงั การ
เรยี นรูด ว ยชดุ การเรยี น (N=240)

รายการ ระดบั การเรียนรู
×� S.D. แปลผล
1 ลกั ษณะสําคัญของภาษาไทย 3.88 0.99 มาก
การเลอื กใชถอยคาํ และประโยคในการสื่อสารกับบุคคลใน 3.93 0.90 มาก
2 โอกาสตา ง ๆ

3 การวเิ คราะหและประเมินคาเสยี ง ถอยคาํ หรือขอความทไ่ี ดฟง 3.86 0.95 มาก
4 การวเิ คราะหและประเมินคาถอยคําหรือขอความทไ่ี ดอาน 3.92 0.95 มาก
5 การพูดประกอบการสาธติ การปฏิบตั งิ าน 4.00 0.87 มาก
6 มารยาทการพูดโตตอบทางโทรศพั ท 3.93 0.98 มาก
7 การสมั ภาษณและการใหส ัมภาษณในงานอาชีพ 3.90 0.99 มาก
8 การพูดนําเสนอผลงาน โครงการ ผลติ ภณั ฑ สินคา และบริการ 3.89 0.90 มาก
9 การประยุกตใ ชท ักษะภาษาไทยในการปฏบิ ตั งิ านอาชีพ 3.97 0.94 มาก
ประโยชนข องชดุ การเรียนวชิ าทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตอ 4.00 0.88 มาก
10 ผเู รียน

3.93 0.93 มาก

จากตารางที่ 8 ระดบั การเรยี นรูของผเู รยี นหลงั ใชช ุดการเรียนวิชาทกั ษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ โดยรวม
อยูในระดับมาก ×� = 3.93 ซ่ึงมีอันดับสูงสุดสามอันดับไดแก ประโยชนของชุดการเรียนวิชาทักษะ
ภาษาไทยเชิงวิชาชีพ ตอผูเรียน ×� = 4.00 รองลงมาคือ การประยุกตใชทักษะภาษาไทยในการ
ปฏิบัติงานอาชีพ ×� = 3.97 การเลือกใชถอยคําและประโยคในการสื่อสารกับบุคคลในโอกาสตาง ๆ
และมารยาทการพดู โตตอบทางโทรศพั ท ×� = 3.93

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ

ผลการนิเทศตดิ ตามการใชชดุ การเรยี นและคูมือครูวิชาทกั ษะภาษาไทยเชงิ วชิ าชพี 18

9. ขอ คน พบ/ขอเสนอแนะจากการนิเทศตดิ ตาม

จากการนิเทศติดตามการใชชุดการเรียนและคูมือครูวิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ สําหรับ
ผเู รยี นระบบทวิภาคี ตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู พทุ ธศักราช 2562 ไดขอคนพบที่ควร
เสนอแนะไว ดงั น้ี

(1) ชุดการเรยี นและคูมอื ครูมีกิจกรรมทีห่ ลากหลายและสว นใหญเปนกิจกรรมทใ่ี ชส ่อื ดจิ ทิ ัล
ดังนั้นสถานศึกษาที่จะนําไปใหครูผูสอนหรือผูเรียนใชควรมีความพรอมดานวัสดุ อุปกรณท่ีเกี่ยวของ
เชน คอมพิวเตอร จอโปรเจคเตอร สัญญาณอินเตอรเ นต็ เปนตน

(2) ผลจากการนเิ ทศติดตามพบวาครสู ว นใหญน าํ ชุดการเรยี นและคมู อื ครไู ปใชมีความพึงพอใจ
ในระดับมากทส่ี ดุ และระหวา งการนําไปใชเกิดการผิดพลาดนอยซึ่งเปนผลมาจากการอบรมใหความรู
และใหครูผูสอนทดลองใชกอนนําไปใชในหองเรียนน่ันเอง ดังนั้นสถานศึกษาท่ีตองการจะนําชุดการ
เรยี นและคูม อื ครูไปใชจึงควรตองมกี ารอบรมครผู ูสอนกอ นนําไปใชจรงิ

(3) ผูเ รียนทใี่ ชชุดการเรียนในครง้ั นี้ เปนผูเ รียนแบบทวภิ าคี ที่มีลักษณะการนาํ ไปใชท ้ังใน
หองเรียนและผูเรียนนําไปศึกษาเอง ซึ่งพบวาผลการประเมินความพึงพอใจและระดับการเรียนรูของ
ผูเรียน โดยรวมอยใู นระดับมาก ดังนั้นจึงไดขอสรุปวาชุดการเรียนใชไดทั้งครูผูสอนท่ีสามารถนํามาใช
จัดการเรียนการสอนในหองเรียนได และผเู รียนสามารถนําไปศกึ ษาเรยี นรูไดดว ยตนเองได

(4) ครูผูสอนควรมีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรยี นในเชิงเปรียบเทียบกอนและ
หลังการใชช ดุ การเรยี น เพ่ือใหไ ดข อมลู ในการพฒั นาผเู รียนตอไปได

(5) ควรมีการขยายผลการใชช ุดการเรียนสาํ หรับผูเรียนที่ไมใชแ บบทวิภาคี เพอ่ื ใหไ ดข อ มูลใน
การพัฒนาผเู รยี นอาชีวศกึ ษากลมุ อนื่ ตอไปได

10. ภาคผนวก

10.1 ภาพประกอบกจิ กรรมการนิเทศตดิ ตาม

ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ

ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศติดตามการใชช้ ุดการเรยี นรโู้ ดยใช้สอื่ ดิจิทลั วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชพี
ศูนยส์ ง่ เสริมและพัฒนาอาชีวศกึ ษาภาคใต้
------------------------------------------------------
วทิ ยาลัยเทคนิคถลาง จงั หวัดภูเกต็

วิทยาลัยสารพัดช่างสุราษฎรธ์ านี จงั หวดั สุราษฎร์ธานี

วิทยาลัยการอาชีพไชยา จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจดั การสิงหนคร จงั หวดั สงขลา

ภาพกิจกรรมการนิเทศตดิ ตามการใชช้ ดุ การเรยี นร้โู ดยใช้สือ่ ดิจทิ ลั วิชาทักษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี
ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกและกรุงเทพมหานคร
------------------------------------------------------
วิทยาลัยเทคนิคบ้านคา่ ย จงั หวัดชลบุรี

วทิ ยาลัยเทคนคิ ธัญบุรี จงั หวัดปทุมธานี

วิทยาลัยการอาชีพองครักษ์ จงั หวัดนครนายก
วิทยาลัยเทคนคิ ปทุมธานี จังหวดั ทุมธานี

วทิ ยาลัยพณชิ ยการธนบุรี จังหวัดกรุงเทพมหานคร

ภาพกิจกรรมการนเิ ทศติดตามการใชช้ ุดการเรียนรู้โดยใช้ส่อื ดจิ ิทัล วิชาทักษะภาษาไทยเชิงวิชาชีพ
ศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ
------------------------------------------------------

วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการปง จังหวัดพะเยา

วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชนิ ีแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน

วทิ ยาลัยเทคนิคพิษณุโลก จังหวัดพิษณโุ ลก
วทิ ยาลัยการอาชีพวิเชียรบรุ ี จังหวดั เพชรบูรณ์
วิทยาลัยการอาชีพเวยี งเชียงรุ้ง จงั หวัดเชียงราย

ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศติดตามการใชช้ ดุ การเรยี นรโู้ ดยใช้สอื่ ดิจิทลั วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชีพ
ศนู ย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคกลาง
------------------------------------------------------
วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาเพชรบุรี จงั หวัดเพชรบุรี

วิทยาลัยการอาชีพสองพน่ี อ้ ง จังหวัดสพุ รรณบุรี

วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสุพรรณบุรี จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
วิทยาลัยเทคนคิ พระนครศรอี ยุธยา จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา
วิทยาลัยเทคโนโลยเี กษตรและเทคโนโลยลี พบรุ ี จังหวัดลพบรุ ี

ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศติดตามการใชช้ ดุ การเรยี นรู้โดยใช้สือ่ ดิจิทลั วชิ าทกั ษะภาษาไทยเชงิ วิชาชพี
ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
------------------------------------------------------
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีบรุ รี มั ย์ จังหวดั บรุ รี ัมย์

วทิ ยาการอาชีพปากชอ่ ง จงั หวัดนครราชสีมา

วิทยาลัยการอาชีพขนุ หาญ จังหวัดศรีสะเกษ
วทิ ยาลัยการอาชีพหนองหาน จังหวัดอดุ รธานี
วิทยาลัยสารพดั ชา่ งนครราชสมี า จังหวดั นครราชสมี า

ศนู ยสงเสริมและพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนอื
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ 2562


Click to View FlipBook Version