The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปโครงการการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา กิจกรรม 6 สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Online, On-Demand ครู 60 คน เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pimporn Sarichun, 2022-08-16 03:11:44

สรุปโครงการการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา กิจกรรม 6

สรุปโครงการการพัฒนาทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา กิจกรรม 6 สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Online, On-Demand ครู 60 คน เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2565

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี ว ศึ ก ษ า ภ า ค เ ห นื อ

ส รุ ป โ ค ร ง ก า ร นิ เ ท ศ
ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ดิ จิ ทั ล เ พื่ อ ใ ช้
แ ล ะ ส ร้ า ง น วั ต ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้
ข อ ง ค รู อ า ชี ว ศึ ก ษ า
กิ จ ก ร ร ม 6

สิงหาคม 2565

ONLINE
AND

ON-DEMAND

Pom-Vec-GroupI

คำนำ
เอกสารฉบบั นเี้ ปน็ การสรปุ โครงการนเิ ทศ การพฒั นาทักษะดิจทิ ัลเพ่อื ใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการ
เรยี นรู้ ของครูอาชีวศกึ ษา กิจกรรม กจิ กรรม 6 สรา้ งชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี Online, On-Demand
ทั้งหมด 4 กลุ่มไดแ้ ก่ กล่มุ วนั องั คาร กลุม่ วนั พธุ กลมุ่ วันพฤหัสบดี กลมุ่ วันศุกร์ และกลมุ่ วันหยดุ นกั ขตั ฤกษ์
และกล่มุ สถานศึกษาร้องขอ เปน็ การประชมุ ออนไลนท์ ัง้ หมด ด้วยระบบ Ms Teams ระหวา่ งเดือนมถิ นุ ายน-
กรกฎาคม 2565 จำนวน 3 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ การสรา้ งคลิปนำเสนอ การสร้างใบงานและการสรา้ งกิจกรรม
เสริมและวดิ ีโอแบบมปี ฏสิ ัมพันธ์ ประกอบด้วยครู 21 สถานศึกษา/หน่วยงาน ครู 60 คน กิจกรรมทั้งหมดได้
ใหค้ วามรู้ในเรื่องโปรแกรม/แอปพลเิ คชันและให้คำปรกึ ษาแนะนำ แลกเปลยี่ นเรยี นร้เู พื่อจดั กจิ กรรมการเรียน
การสอนไปพร้อมกัน
ขอบพระคุณ ผู้บรหิ ารสถานศึกษาที่สนับสนนุ ขับเคลือ่ นใหเ้ กิดโครงการฯ น้ีในสถานศึกษา คุณครูท่ี
เขา้ การนเิ ทศรบั ความรู้และฝึกทักษะดจิ ิทัลดว้ ยความตั้งใจ อดทน ตรงต่อเวลา และผู้ประสานงานเบื้องต้น
ระหว่างสถานศึกษาและศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื ได้ทำงานอยา่ งมีระบบและตามระเบยี บ

นางสาวพมิ พร ศะรจิ ันทร์
สิงหาคม 2565

1

โครงการนเิ ทศ การพัฒนาทกั ษะดิจิทัลเพือ่ ใชแ้ ละสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา
กิจกรรม 6 สร้างชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ Online, On-Demand

1. หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ ศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื

ระยะเวลาดำเนินการ ธันวาคม 2564 – กันยาย 2565

งบประมาณ 50,000 (หา้ หม่ืนบาทถว้ น)

2. ลักษณะโครงการ  โครงการตาม พ.ร.บ.งบประมาณ
 โครงการตามภาระงานปกติ
 โครงการพเิ ศษ (ไมใ่ ช้งบประมาณ สอศ.)

3. ความสอดคล้อง/เชื่องโยง/ภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย จดุ เนน้ และมาตรการ
3.1 กระทรวงศึกษาธิการ
จุดเนน้ การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน
3.2 สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ประเดน็ 2 การยกระดับพฒั นาคุณภาพการจัดการอาชวี ศึกษาโดยใช้พ้ืนที่เป็นฐาน ขอ้ 2.7

พัฒนาศักยภาพครูและบคุ ลากรอาชีวศึกษาใหม้ สี มรรถนะ ในการใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการเรียนรทู้ ่ีทันสมัยใน
โลกดิจทิ ลั และโลกอนาคต

4. หลักการและเหตผุ ล
การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยอี ยา่ งฉับพลัน (Disruptive technology) ซงึ่ นอกจากจะสง่ ผลกระทบ ต่อ

ระบบเศรษฐกิจแลว้ ยงั สง่ ผลกระทบตอ่ การดำรงชวี ิตของประชาชนในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ทต่ี อ้ งเผชิญกับ
เทคโนโลยดี ิจทิ ัลในชวี ิตประจำวนั มากมาย รวมไปถงึ ดา้ นการเรยี นการสอนในสถานศึกษา ดังนน้ั การศกึ ษา
ของไทยจำเป็นต้องกำหนดเป้าหมายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วางแผนพฒั นาและ เตรียมกำลังคนท่ีจะเข้าสู่
ตลาดงานเม่ือสำเร็จการศึกษาในระดบั ตา่ ง ๆ ปรับหลักสูตรและวิธี การเรียนการสอนท่ีมีความยืดหยนุ่
หลากหลาย เพอ่ื พัฒนาศักยภาพและขดี ความสามารถจงึ ควรเรียนร้แู ละเขา้ ใจเกย่ี วกับเทคโนโลยีดิจทิ ัล เพือ่ ให้
รเู้ ทา่ ทันและนำไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนพ์ ร้อมรับการเปลยี่ นแปลง (สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560)
ประกอบกับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคอบุ ัตใิ หม่ (สำนัก
นายกรัฐมนตร,ี 2563) กระทรวง ศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายและจุดเนน้ ให้สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาบริหารจดั การ
อย่างมีคณุ ภาพและจดั การเรียนการสอนด้วยเคร่ืองมือปฏิบตั ทิ ที่ ันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี
(กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2563) ซ่ึงต้องอาศยั การพัฒนาความรูแ้ ละทักษะดิจิทลั ของครู เพื่อใชแ้ ละสรา้ ง
นวัตกรรมการเรียนรู้ เปน็ ตวั กลางในการถา่ ยทอดเนอ้ื หาจากผู้สอนไปยังผ้เู รยี น ช่วยผเู้ รียนเขา้ ใจเนือ้ ได้งา่ ย ทุก
ท่ี ทกุ เวลา ตามความเหมาะสมของผูเ้ รยี นและสนุกสนานอยากเรยี น สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
จึงให้ความสำคัญ กำหนดใหเ้ ป็นนโยบายและจุดเน้น ไดแ้ ก่ การพฒั นาศักยภาพครแู ละบุคลากรอาชวี ศึกษาให้
มีสมรรถนะ ในการใชแ้ ละสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรู้ทีท่ นั สมัยในโลกดิจทิ ัลและโลกอนาคต (สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา, 2565) รวมถึงได้ออกแนวทางในการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณฯ์ ให้

2

การจดั การเรียนการสอนเปน็ แบบตา่ ง ๆ เพ่ือให้ครูได้ใช้และสร้างนวตั กรรมให้เหมาะกบั สถานการณ์ อาทิ การ
จดั การเรียนแบบผสมผสาน คือ การจัดการเรียนรทู้ ใ่ี ชใ้ นรูปแบบการเรยี นรู้ หลากหลาย ไม่ว่าจะเปน็ การเรยี นรู้
ท่ีเกิดขน้ึ ในหอ้ งเรียน ผสมผสานกับการเรียนรนู้ อกห้องเรียนทค่ี รู และนักเรยี น นกั ศึกษาไม่ไดเ้ ผชิญหน้ากนั
หรือการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ที่มีอยู่อยา่ งหลากหลาย ทั้งในรูปแบบ Online รูปแบบ On-Air และรปู แบบ On-Site
ซง่ึ มเี ปา้ หมายอย่ทู ี่การเรยี นรู้ของนักเรยี น ซง่ึ การจดั การเรียนการสอนออนไลนเ์ ป็นนวัตกรรมสำหรบั การ
พัฒนาศักยภาพของผูเ้ รียนแบบหน่งึ ทอี่ อกแบบและพัฒนาขึ้นโดยอาศัยความสามารถของเครอื ข่าย
อนิ เทอร์เน็ต รวมถึงฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ของคอมพิวเตอร์เพื่อนำเสนอเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
การปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งครแู ละผู้เรยี น ผา่ นแอปพลิเคชนั ทเ่ี หมาะสมในการส่ือสาร การปฏบิ ัติงาน และการ
ทำงานร่วมกันระหว่างผู้เรยี นกบั ครู หรอื ระหวา่ งผูเ้ รยี นกับผู้เรียนดว้ ยกัน เปน็ ตวั กลางท่ีคอยควบคุมให้การ
เรียนการสอนดำเนนิ ไป ประยุกตใ์ ช้ส่อื นวตั กรรม เทคโนโลยี ใหผ้ ้เู รียนสามารถศึกษาค้นควา้ แสวงหาความรู้
เขา้ ใจด้วยตนเองจนเกดิ เป็นการเรยี นรู้อยา่ งมีความหมาย สามารถประยุกตใ์ ชด้ จิ ิทลั สนบั สนนุ การทำงานและ
ในชีวติ ประจำวนั ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เปน็ ทิศทางเดียวกนั กบั ครูในกลุม่ ภาคเหนือ สรุปโครงการนิเทศ
การพฒั นาทกั ษะดิจทิ ลั เพ่ือสร้างสอ่ื การเรียนรู้ Online และ On-Demand ของครอู าชีวศึกษา ปี 2564 เม่ือ
ได้รบั การนเิ ทศ ณ สถานศกึ ษาเดอื น มีนาคม-เมษายน และนเิ ทศออนไลน์เดอื น พฤศจิกายน 2563 มกราคม
เมษายน พฤษภาคม มถิ ุนายน กรกฎาคม และสิงหาคม 2564 รวมทง้ั หมด 6 กิจกรรม ทีไ่ ด้แสดงใหเ้ ห็นวา่
ครูนำความรู้และทักษะดิจิทัลไปปรับปรงุ พฒั นาการสอน ได้ร้เู ทคนิคการสอน บูรณาการการใชด้ ิจทิ ัลให้
เหมาะสมกับสถานการณร์ ะบาดฯ และรบั ความรู้ในเรอ่ื งการใชส้ อื่ ดจิ ิทัลแบบต่าง ๆ นำไปประยกุ ต์การจดั การ
เรยี นการสอน และพบวา่ เปน็ เร่อื งเข้าใจง่ายปฏบิ ัตไิ ด้จรงิ กระชับตรงจุดประสงค์ท่ตี ้องการ มีสื่อทห่ี ลากหลาย
ให้เลือกใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน ชว่ ยใหบ้ รรยากาศในห้องเรียนสนุกสนาน นำไปสรา้ งกจิ กรรมการเรยี นรู้
เสรมิ ในช่วั โมงเรยี นได้ ซึ่งตรงกับความต้องการของครู ต่อยอดองค์ความรู้ และประสงคใ์ หด้ ำเนนิ โครงการให้
ตอ่ เน่อื ง ขยายเครือข่ายให้กับครูในสถานศึกษากลุ่มอื่น หรอื ครตู ่างสถานศึกษา ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นา
อาชีวศกึ ษาภาคเหนอื จึงไดจ้ ัด โครงการฯ น้ี

5. วตั ถปุ ระสงค์
5.1 เพ่ือนิเทศติดตามการใชท้ ักษะดจิ ิทัล เพื่อใชแ้ ละสร้างนวตั กรรมการเรียนรู้ ของครอู าชวี ศึกษา
5.2 เพื่อสรุปผลการนิเทศติดตามการใช้ทักษะดิจิทัล เพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครู

อาชวี ศึกษา

6. เป้าหมาย และตวั ชีว้ ัดความสำเร็จ

6.1 เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ
6.1.1 ครูที่รับการนิเทศ เป็นครูอาชีวศึกษา สถานศึกษาภาคเหนือ 10 แห่ง --- คน ที่มีอีเมล

office 365 Education นามสกุล ovecmail.org ของหน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศกึ ษา

6.12 ครูที่เข้ารับการนิเทศการใช้ทักษะดิจิทัล เพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งส้ิน
จำนวน 100 ชิ้น

3

6.2 เปา้ หมายเชงิ คณุ ภาพ
6.2.1 ครูทร่ี บั การนิเทศ มคี วามรคู้ วามเข้าใจในการใช้ทกั ษะดิจทิ ลั เพ่ือใช้และสร้างนวัตกรรม

การเรยี นรู้
6.2.2 ครูทีร่ ับการนิเทศ ใช้ทกั ษะดิจทิ ลั เพ่ือใช้และสรา้ งนวตั กรรมการเรียนรู้ นำไปใช้ในการ

จัดการเรียนการสอนไดเ้ หมาะสมกับเนอ้ื หาและกิจกรรมการเรียนรู้

6.3 ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ
6.3.1 ร้อยละ80 ของครูรับการนิเทศ มีความรู้ความเข้าใจการใช้ทักษะดิจิทัลเพื่อใช้และ

สรา้ งนวัตกรรมการเรยี นรู้
6.3.2 รอ้ ยละ 80 ของครรู บั การนเิ ทศ ใชท้ กั ษะดิจทิ ัลเพ่อื ใชแ้ ละสรา้ งนวตั กรรมการเรยี นรู้

7. วิธีการดำเนนิ งาน/กิจกรรม

กิจกรรมในการดำเนินการ ประกอบดว้ ย นเิ ทศออนไลน์ นเิ ทศสถานศึกษา สรปุ รายงานผลการนิเทศ

ตดิ ตาม

กิจกรรม เดอื นท/่ี ปงี บประมาณ 2565

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เมษ พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย

1. เสนอขออนุมตั ิโครงการ

2. ประชุมคณะกรรมการทำงานวางแผนฯ

3. กำหนดแผนการนิเทศเปน็ รายสถานศึกษา

4. นเิ ทศออนไลนก์ ารสร้างเนื้อหา/คลปิ /

รปู ภาพ/ภาพเคล่ือนไหวและอบี ๊กุ กิจกรรม

การทบทวนเนื้อหาและแสดงความคิดเหน็

5. นเิ ทศสถานศกึ ษา

6. สรปุ ผลเปน็ รายวิทยาลัยฯ แลว้ เก็บสรุปเปน็

ภาพรวม

8. งบประมาณ/ทรัพยากร และแหลง่ ทีม่ า การดำเนินการ
กิจกรรมที่ 1 นิเทศออนไลน์ฯ ผู้เข้ารบั การนเิ ทศประกอบด้วย ศึกษานิเทศก์ 2 คน ครู (จาก 10

สถานศึกษา) จำนวน 100 คน ระหว่างเดือนธันวาคม 2564
กิจกรรมท่ี 2 ประชมุ พัฒนาทักษะดิจทิ ลั เพื่อใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5

หลักสตู ร ผู้เข้าประชมุ เปน็ ตวั แทนของสถานศกึ ษา รวมตัวกนั 8-10 คน จำนวนสถานศึกษา 10 แหง่ ระหวา่ ง
วันที่ 17-28 มกราคม 2565 ช่วงเวลา 9.00-12.00 น. ดว้ ยวิธอี อนไลน์ โดยใช้ระบบ Ms Teams
วทิ ยากร 2 คน ไดแ้ ก่ ศกึ ษานิเทศก์ ครูจากสถานศึกษา ใชง้ บประมาณ

กิจกรรมท่ี 3 ประชมุ พัฒนาทักษะดิจทิ ลั เพื่อใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นรู้ ประกอบด้วย 5
หลกั สูตร ผเู้ ขา้ ประชุมเปน็ ตวั แทนของสถานศกึ ษา รวมตัวกนั 8-10 คน จำนวนสถานศกึ ษา 10 แห่ง ระหว่าง

4

วนั ที่ 16-18 กุมภาพันธ์ ช่วงเวลา 9.00-12.00 น. ดว้ ยวธิ ีออนไลน์ โดยใช้ระบบ Ms Teams วทิ ยากร 1
คน ได้แก่ ศึกษานเิ ทศก์ ครจู ากสถานศึกษา ใช้งบประมาณ

กจิ กรรมท่ี 4 นเิ ทศตดิ ตามสถานศึกษา 7 สถานศึกษา กุมภาพนั ธ์-มีนาคม 2565 ศกึ ษานิเทศก์และ-
ผู้เก่ยี วข้อง 3 คน พนกั งานขับรถยนต์ 1 คน นเิ ทศ ณ สถานศกึ ษา วนั ท่ี 17-25 เมษายน 2565 ใช้
งบประมาณ

กจิ กรรมที่ 5 ประชมุ พฒั นาทักษะดิจทิ ลั เพื่อสร้างสื่อการเรียนรู้ Online, On-Demand สำหรับครู
บญั ชีประกอบด้วย 2 หลักสูตร ผู้เขา้ ประชมุ เปน็ ตวั แทนของสถานศกึ ษา รวมตวั กัน 8-10 คน ระหวา่ งวันท่ี
19-22 พฤษภาคม 2565 ชว่ งเวลา 9.00-12.00 น. ดว้ ยวิธอี อนไลน์ โดยใช้ระบบ Ms Teams วิทยากร 1
คน ไดแ้ ก่ ศึกษานิเทศก์ ครูจากสถานศึกษา ใช้งบประมาณบางสว่ น

กิจกรรมที่ 6 สร้างชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ Online, On-Demand ดำเนนิ การเดือน
มิถนุ ายน - กรกฎาคม 2565 ด้วยวิธีออนไลน์ โดยใช้ระบบ Ms Teams วิทยากร 1 คน เป็น ศึกษานเิ ทศก์
ไมใ่ ชง้ บประมาณ
9. การตดิ ตามและประเมินผลสำเรจ็ โครงการ/เครอ่ื งมอื

9.1 ประเมินจากแบบประเมินความพึงพอใจ
9.2 ประเมนิ จากการใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการเรยี นรู้ โดยใชท้ กั ษะดิจทิ ัล
10. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั
10.1 ครูได้รับการนิเทศติดตามและได้รับคำแนะนำในการใช้และสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ โดยใช้
ทักษะดิจทิ ัล
10.2 ครมู ีการใชแ้ ละสร้างนวตั กรรมการเรยี นรู้ โดยใช้ทกั ษะดจิ ทิ ัล ในการจดั การเรยี นการสอน
10.3 ผเู้ รยี นได้เรียนรู้และมคี วามสามารถในการใช้ทกั ษะดจิ ิทัล

5

โครงการนิเทศ การพฒั นาทกั ษะดจิ ิทัลเพื่อใชแ้ ละสร้างนวตั กรรมการเรยี นรู้ ของครูอาชวี ศึกษา
กิจกรรม 6 สรา้ งชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี Online, On-Demand

ขัน้ ตอนดำเนินการ กิจกรรม 6 เดือนมถิ ุนายน
เป็นกจิ กรรมต่อเน่ืองจากกิจกรรมอนื่ ๆ ท่ไี ด้ดำเนินการใหค้ วามรู้และต่อยอดในเร่อื งเน้ือหาและการนิเทศ
ตดิ ตามครูทีผ่ า่ นการพฒั นาและสรา้ งเครือขา่ ยเพมิ่ ร่วมกนั

กอ่ นการประชมุ ฯ
1. ทำโครงการฯ มีกจิ กรรมภายใต้โครงการฯ ใหญ่ทีด่ ำเนินมาต้ังแต่ ตน้ งบประมาณ 2565 ต้องเป็นโครงการ
การท่ีไดน้ ำเสนอตั้งแต่เรมิ่ ต้น
2. ทำหลักสูตรเพ่อื จะจัดประชุม (พฒั นา, เพิม่ ความรู้) หรอื กำหนดเปน็ การอบรมเพ่ือพฒั นาหรือเพ่ิมความรู้
ใหก้ บั ครู แนวทางใช้ของ ก.ค.ศ. เป็นแนวทางในการดำเนนิ การ ผสมผสานกับกิจกรรมที่คลา้ ยคลงึ กันของ
หลักสตู รเดิม
3. ทำบันทึกเสนอขออนุมตั ิดำเนินกจิ กรรม ผ่านหวั หน้างาน จนถึงหัวหน้าส่วนราชการตามลำดับ
5. แจง้ ประกาศหลักสตู รตา่ ง ๆ ให้กับเครือข่ายจากกลมุ่ เปา้ หมาย มีครูแจง้ ความประสงค์เข้าร่วมกลมุ่ 15 คน
กิจกรรมนดี้ ำเนินการในวนั ท่ีมีการจดั การเรียนการสอนปกติ แต่เง่ือนไข มชี ั่วโมงวา่ งจากการสอน ประมาณ 3
ชั่วโมงทจ่ี ะออนไลน์กับกลุม่ PLC
6. ดำเนนิ การคดั เลอื กครทู ี่มีเงื่อนไขตามท่ีกำหนด และจัดตงั้ กลมุ่ ได้ 2 กลมุ่ ครกู ลุ่มละ 4 คน รวมทั้งหมด 8
คนที่เข้าร่วมกจิ กรรม
7. เปดิ โอกาสใหร้ วมกลุ่มเป็นสถานศึกษา และต้องการดำเนนิ กจิ กรรม PLC แจง้ ความประสงค์ให้ทราบเพ่ือ
ดำเนินการต่อไป
8. ทำร่างหนงั สอื เพ่ือใหค้ รูมีแนวทางในการดำเนินการตามขัน้ ตอน แจง้ ให้แผนกวิชา และรองฯ ฝ่ายวชิ าการได้
รบั รู้กจิ กรรมฯ

ระหวา่ งการประชุมฯ
1. เตรียมพรอ้ มโดยการรายงานตัวท่ีกล่มุ social media เพอื่ พร้อมในเร่ืองอีเมล แอปพลเิ คชนั การทำช้ินงาน
กอ่ นเริ่มกิจกรรม
2. จัดทำคู่มอื การเตรยี มความพร้อมก่อนรบั นิเทศฯ ส่งให้ครูท่เี ข้าร่วมกลุม่ ฯ ทกุ หลักสูตร
3. จัดทำคลปิ การเตรยี มความพร้อมก่อนรับนเิ ทศฯ เพื่อความชัดเจนประกอบคู่มือฯ ที่สง่ ให้
4. จดั ทำสคริปเพือ่ กำหนดขั้นตอนการนเิ ทศ ทุกหลกั สูตร (ทำเป็นคู่มือสำหรบั ผู้นิเทศ)
4. ให้ส่งตัวอยา่ งช้นิ งานฯ ท่เี ตรียมความพร้อมก่อนพบกลุ่มฯ ตรวจสอบและให้คำแนะนำทุกคน
5. พบกลุม่ ฯ ออนไลน์ ดว้ ย Ms Teams หอ้ งเสรมิ ทกั ษะ Digital
6. ฝกึ ปฏบิ ตั ิตามข้นั ตอนและรับการนเิ ทศ และแนะนำปรึกษาแลกเปลย่ี นรว่ มกนั
7. ประเมนิ ผลภาคปฏิบตั จิ ากผลงานที่ส่งตลอดการประชมุ
8. ประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบประเมนิ ของแต่ละหลักสูตร

6

หลงั การประชุมฯ
1. บนั ทึกรายงานข้อสงั เกตรายสถานศกึ ษาเผยแพร่ทาง social media
2. สรปุ รายงานแบบส้ัน ๆ ประกอบเอกสารในการตรวจสอบฯ
3. รับวฒุ บิ ตั รออนไลนจ์ ากศูนยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนือ
4. สรปุ รายงานผลการดำเนนิ โครงการฯ

ขั้นตอนดำเนนิ การ กจิ กรรม 6 เดือนกรกฎาคม
เปน็ กจิ กรรมต่อเน่ืองจากเดอื นมิถนุ ายน

กอ่ นการประชมุ ฯ
1. ทำบนั ทกึ เสนอขออนมุ ัตดิ ำเนินกิจกรรม ผา่ นหัวหนา้ งาน จนถงึ หวั หน้าสว่ นราชการตามลำดับ ภายใต้
โครงการฯ ใหญท่ ี่ดำเนนิ มาต้ังแต่ ตน้ งบประมาณ 2565 ต้องเป็นโครงการการทไี่ ดน้ ำเสนอต้งั แต่เร่ิมต้น
2. ใช้หลกั สูตรท่ีพัฒนาในเดอื นมถิ ุนายน 2565
3. แจ้งประกาศหลักสตู รตา่ ง ๆ ใหก้ ับเครือข่ายจากกล่มุ เปา้ หมาย มคี รแู จ้งความประสงค์เข้าร่วมกลุ่ม 4 กลมุ่
เป็นครูจากการรวมกลุ่มในสถานศึกษาเดียวกัน 2 แห่งได้แก่ วทิ ยาลยั การอาชีพบ้านตาก และวิทยาลยั เทคนิค
เพชรบรู ณ์ อีก 2 กล่มุ เปน็ ครูจากสถานศึกษาต่าง ๆ กจิ กรรมนดี้ ำเนินการในวันหยุดนักขตั ฤกษ์ ไม่กระทบ
การเรยี นการสอนปกติ ประมาณ 3 ชวั่ โมงที่จะออนไลนก์ ับกลุ่ม PLC
4. คัดเลือกครูท่ีแจ้งความประสงค์และสง่ ชิ้นงานตามเงื่อนไข
5. ทำหนังสอื แจ้งสถานศึกษา เพื่อแจง้ ครแู ละตอบรับการเขา้ รว่ มประชมุ ฯ
6. ตรวจสอบการแจง้ ตอบรับจากสถานศึกษา ตามจำนวนทีก่ ำหนด
7. เปดิ โอกาสให้รวมกลุ่มสำหรบั ครทู ่มี ชี วั่ โมงวา่ งจากการสอน แจ้งความประสงค์ เพือ่ จัดกลมุ่ ฯ สำหรับวนั
จนั ทร์, พุธ, พฤหสั บดี

ระหว่างการประชุมฯ
1. เตรยี มพร้อมโดยการรายงานตัวทก่ี ลมุ่ social media เพ่ือพร้อมในเรื่องอเี มล แอปพลิเคชนั การทำช้ินงาน
ก่อนเร่มิ กิจกรรม
2. จดั ทำค่มู อื การเตรียมความพร้อมก่อนรับนิเทศฯ ส่งใหค้ รูท่เี ขา้ ร่วมกลุ่มฯ ทกุ หลักสูตร
3. จัดทำคลปิ การเตรียมความพร้อมก่อนรบั นเิ ทศฯ เพ่ือความชดั เจนประกอบคมู่ ือฯ ที่สง่ ให้
4. จดั ทำสครปิ เพอื่ กำหนดข้ันตอนการนเิ ทศ ทุกหลกั สูตร (ทำเปน็ คมู่ ือสำหรบั ผู้นิเทศ)
4. ให้ส่งตวั อย่างชน้ิ งานฯ ทเี่ ตรยี มความพร้อมก่อนพบกล่มุ ฯ ตรวจสอบและให้คำแนะนำทกุ คน
5. พบกลมุ่ ฯ ออนไลน์ ดว้ ย Ms Teams ห้องเสริมทกั ษะ Digital
6. ฝกึ ปฏิบัตติ ามข้นั ตอนและรบั การนิเทศ และแนะนำปรึกษาแลกเปล่ยี นรว่ มกัน
7. ประเมินผลภาคปฏิบัติจากผลงานทสี่ ่งตลอดการประชมุ
8. ประเมนิ ผลภาคทฤษฎีจากแบบประเมินของแต่ละหลักสตู ร

หลังการประชมุ ฯ
1. บันทึกรายงานข้อสังเกตรายสถานศึกษาเผยแพรท่ าง social media
2. สรปุ รายงานแบบสัน้ ๆ ประกอบเอกสารในการตรวจสอบฯ

7

3. รบั วฒุ ิบัตรออนไลน์จากศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนือ
4. สรุปรายงานผลการดำเนนิ โครงการฯ
Script หลักสตู รสำหรบั การประชุมฯ
กิจกรรม สรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี Online, On-Demand ในระยะแรก เป็นการทดสอบหลักสตู ร
ใหม่ทผ่ี นู้ เิ ทศไดด้ ำเนินการค้นควา้ ทดลองปฏบิ ัติเผยแพร่ แลว้ นำมาฝกึ กับกลุ่ม PLC จงึ ไดจ้ ัดทำคู่มือการเตรยี ม
ตวั รับนิเทศ การสร้างคลปิ นำเสนอ (Canva บนั ทึกเหน็ ผสู้ อน) และคู่มอื การเตรยี มตวั รับนเิ ทศ การสรา้ ง
กิจกรรมและสรา้ งวดิ ีโอแบบมีปฏิสมั พนั ธ์ แล้วปรบั ปรุงคมู่ อื การเตรยี มตัวรับนิเทศ การสร้างใบงาน สง่ ให้ผรู้ ับ
นิเทศ แลว้ จดั ทำ/ปรับปรงุ สคริปท้งั หมด ตามภาพ

Script หลักสูตรสำหรับการประชมุ
หลักสตู ร 5 การสร้างใบงาน
หลกั สูตร 6 การสร้างคลิปนำเสนอ
หลกั สูตร 7 การสร้างกิจกรรมเสริมและวดิ โี อแบบมีปฏิสมั พนั ธ์
เป็นรายละเอยี ดของแต่ละหลักสตู ร จะดำเนนิ การอย่างไร ข้นั ตอนเรียงตามลำดบั ข้อสังเกตของแต่ละแอป
พลเิ คชนั การนำไปจัดการเรียนการสอนออนไลน์ สคริปไม่ได้แจกใหก้ บั ผู้เขา้ ร่วมประชมุ แต่ใหก้ ับผ้นู เิ ทศรว่ ม
หรอื คณะกรรมการวิชาการ ไวส้ ำหรบั ดำเนนิ การตามขั้นตอน สำหรับคู่มอื เตรยี มการฯ แจกให้กับผู้
ประสานงาน ส่งตอ่ ให้ผู้เข้าร่วมประชุมฯ และสง่ ลงิ ก์ทำประกาศไว้ใหใ้ นแต่ละกลุม่ เพม่ิ อีกชอ่ งทาง

8

กจิ กรรมรายงานกอ่ นการประชุมเพ่ือเตรยี มพร้อมรับการประชุม
ปา้ ยประกาศ เปน็ การเตรียมความพร้อมสำหรับครูทเ่ี ข้าร่วมประชมุ และสามารถตดิ ตาม ตรวจสอบความ
พรอ้ มในเรอื่ งอเี มล การเตรียมขอ้ มูลสำหรับบางแอปพลเิ คชันท่ตี ้องเตรียมการก่อนการประชุมฯ การใช้
social media ในการทำงาน การฝกึ แสดงความคดิ เห็น การตอบกลบั

9

ตารางประชมุ
โครงการนเิ ทศ การพัฒนาทกั ษะดจิ ิทัลเพ่อื ใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา

กิจกรรม 6 สร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ Online, On-Demand
ออนไลน์ ดว้ ยระบบ Ms Teams

กลุ่มวันองั คาร-กลุ่มวนั ศุกร์ เดือนมิถนุ ายน 2565 เวลา 09.00-12.00 น.
จดั โดย ศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนือ

วนั /เดอื น/ปี เวลา สถานศกึ ษา ผูป้ ระสานงาน หลกั สตู ร วิทยากร

7, 14, 21 มิถนุ ายน 09.00-12.00 กลมุ่ วนั องั คาร นางสาวพมิ พร ศะรจิ ันทร์ 6-7 นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์
5, 19, 26 กรกฎาคม
10, 17, 24 มิถุนายน 09.00-12.00 กลมุ่ วันศกุ ร์ นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์ 6 นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์
7, 22 กรกฎาคม 6 นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์
20 กรกฎาคม 13.00-16.00 กลุ่มวนั พุธ นางสาวพิมพร ศะรจิ นั ทร์ 6 นางสาวพมิ พร ศะรจิ นั ทร์
21 กรกฎาคม 09.00-12.00 กล่มุ วนั พฤหัสบดี นางสาวพมิ พร ศะรจิ นั ทร์

ตารางประชุม
โครงการนเิ ทศ การพัฒนาทักษะดิจทิ ัลเพ่ือใชแ้ ละสรา้ งนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชวี ศกึ ษา

กจิ กรรม 6 สรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวิชาชพี Online, On-Demand
ออนไลน์ ดว้ ยระบบ Ms Teams

กลมุ่ วนั พุธ-กลมุ่ วันพฤหัสบดีและกลุ่มวันหยดุ นกั ขัตฤกษ์ เดือนกรกฎาคม 2565 เวลา 09.00-12.00 น.
จัดโดย ศูนยส์ ง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนอื

วัน/เดือน/ปี เวลา สถานศกึ ษา ผู้ประสานงาน หลกั สตู ร วิทยากร

14 กรกฏาคม 09.00-12.00 กลุ่มวนั หยดุ นกั ขัตฤกษ์ 1 นางสาวพมิ พร ศะรจิ ันทร์ 6 นางสาวพิมพร ศะรจิ นั ทร์
2565 นางสาวธญั ลกั ษณ์ หมีโชติ 6 นางสาวพิมพร ศะรจิ นั ทร์
15 กรกฏาคม 09.00-12.00 กลมุ่ วทิ ยาลัยการอาชีพบา้ น นางสาวพมิ พร ศะรจิ นั ทร์ 5 นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์
2565 ตาก นางกรี ะติกาญน์ มาอยวู่ งั 6 นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์
15 กรกฏาคม นางกรี ะตกิ าญน์ มาอยวู่ ัง 6 นางสาวพิมพร ศะรจิ ันทร์
2565 13.00-16.00 กลุ่มวันหยดุ นักขัตฤกษ์ 2
28 กรกฏาคม
2565 09.00-12.00 กลุ่มวทิ ยาลัยเทคนิค
29 กรกฏาคม 09.00-12.00 เพชรบูรณ์
2565
กล่มุ วิทยาลัยเทคนคิ
เพชรบูรณ์

10

โครงการนเิ ทศ การพัฒนาทกั ษะดิจิทัลเพอ่ื ใช้และสรา้ งนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครอู าชีวศกึ ษา
จำนวนครู แยกตามกจิ กรรมหลักสูตร

ช่ือหลกั สตู ร จำนวน ช่ือสถานศกึ ษา จำนวนครู
หลักสตู ร 5 สถานศึกษา/กลุ่ม
-การสร้างใบงาน 2
1/1 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาเชยี งใหม่ 1
หลักสตู ร 6 1
-การสรา้ งคลิปนำเสนอ 1/1 วทิ ยาลัยเทคนิคกำแพงเพชร 1
1/1 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ 3
หลักสตู ร 7 1/1 วิทยาลยั สารพัดช่างเชยี งใหม่ 1
1/1 วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสโุ ขทัย 1
1/1 วิทยาลยั การอาชีพห้วยยอด 1
1/1 วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบูรณ์ 11
1/1 วิทยาลยั เทคโนโลยีชนะพลขันธ์
2
รวม 2
1
1/2 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งใหม่ 1
1
1/2 วทิ ยาลัยเทคนคิ กำแพงเพชร 1
5
1/2 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ 9
3
1/2 วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งเชียงใหม่ 1
1
1/1 วทิ ยาลยั เทคนคิ เชยี งราย
1
1/2 วิทยาลัยการอาชีพหว้ ยยอด
1
1 วิทยาลยั การอาชพี บ้านตาก 8
1
1 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาอุบลราชธานี 1
1
1/2 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสโุ ขทัย 1
1
1 วิทยาลยั เทคนิคสโุ ขทัย 1
1
1/2 วทิ ยาลยั เทคโนโลยีชนะพลขันธ์ 1
45
1 ศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชวี ศึกษาภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื

1 หนว่ ยศึกษานิเทศก์

1/2 วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบูรณ์

1 วทิ ยาลยั เทคนคิ สนั กำแพง

1 วิทยาลัยการอาชีพวิเชยี รบรุ ี

1 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา

1 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาแพร่

1 วทิ ยาลัยการอาชพี ลอง

1 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่

1 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยแี พร่

1 วทิ ยาลัยเทคนิคกาญจนาภเิ ษกเชยี งราย

11

-การสร้างกจิ กรรมเสริมและ
วิดโี อแบบมปี ฏสิ มั พันธ์

1/3 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่ 1
1/3 วิทยาลยั สารพัดชา่ งเชียงใหม่ 1
1/2 วิทยาลยั เทคนคิ เชยี งราย 1
1/3 วทิ ยาลัยการอาชีพห้วยยอด 1
4
รวมทงั้ หมด 21 60

ภาพผู้เข้ารับการประชมุ
กิจกรรม 6 สรา้ งชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชพี Online, On-Demand

12

ตัวอย่างแบบวุฒบิ ตั ร
ลิงกว์ ุฒบิ ตั ร https://bit.ly/3OKC4wV
วฒุ บิ ตั รผ้เู ข้าประชมุ ฯ และเกียรตบิ ตั รคณะกรรมการวชิ าการ

13

สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจ
โครงการนิเทศ การพฒั นาทกั ษะดิจิทัลเพ่ือใช้และสรา้ งนวตั กรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา

กิจกรรม 6 สร้างชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ Online, On-Demand

เพศ

1. เพศ

9
35 ชาย คน

2. ทำหนา้ ท่สี อนในสถานศึกษา งิ คน

• 1-2 ปี ทา น้าที่สอนในส านศกึ ษา
• 3-5 ปี น้อยกวา ป คน
• 6-10 ปี ป คน
• น้อยกวา่ 1 ปี ป คน
• มากกว่า 10 ปี
ป คน
มากกวา ป คน

3. ตำแหน่ง/วทิ ยฐานะ ตาแ นง วิทย านะ

• ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ
• ครู
• ครูชำนาญการ
• ครูชำนาญการพเิ ศษ
• ครผู ชู้ ่วย
• ครูพเิ ศษสอน
• พนักงานราชการ

14

1. เนอ้ื หา ความพึงพอใจ x̅ S.D ระดบั ความ
2. ช่วงเวลา คา่ เฉล่ียรวมทง้ั หมด พงึ พอใจ
3. กิจกรรม
4. ผ้นู เิ ทศ 5.00 0.47 มากที่สุด
5. ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ 4.75 0.44 มากทส่ี ดุ
5.00 0.30 มากที่สดุ
5.00 0.30 มากทส่ี ดุ
5.00 0.40 มากทีส่ ดุ
4.95 0.09 มากทสี่ ุด

ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นของผ้เู ข้ารว่ มประชุม

การจดั การเรยี นการสอน
• กระตุ้นผู้เรยี น
• นำไปประยุกตใ์ ช้
• ใช้งานได้จรงิ
• ไดท้ ริกตา่ ง ๆ
• ได้ฝกึ ฝน
• แก้ไขบรรยากาศในชัน้ เรียนได้
• ทบทวนการเรียน
• ไดค้ วามรูแ้ ละฝึกปฏบิ ัติ
• ไดเ้ ทคนิคเพม่ิ

การจดั การ
• อยากใหจ้ ัดกจิ กรรมไปเร่ือย ๆ
• ถ้ามหี ลกั สูตรอื่น ขอเขา้ รว่ มกิจกรรมดว้ ย
• โครงการดมี าก
• ต้องการอบรม H5P
• อยากให้ครูคนอ่ืนในสถาบันไดเ้ รียนร้แู บบนี้
• นิเทศตดิ ตามตลอด
• จดั กิจกรรมผสมผสานได้
• จะนำไปใชอ้ ย่างต่อเน่ือง
• อยากให้มีออนไซต์
• เวลาไมม่ าก-ไมน่ ้อย

วทิ ยากร
• ใจเยน็
• สอนละเอยี ด
• ให้ความรู้เต็มที่
• สนกุ

15

• เนื้อหาชดั เจน
• เน้ือหาเข้มขน้
• ไดร้ ูปแบบการจัดกจิ กรรม

แนวทางสำหรับการดำเนินกจิ กรรมครั้งตอ่ ไป

• หนังสอื ราชการและแบบตอบรับ การดำเนนิ การในครง้ั นี้ แบง่ เปน็ 3 กลมุ่ กลุม่ แรกเป็นกลมุ่ PLC ครูที่
เวน้ วา่ งจากชว่ั โมงสอนแล้วมาร่วมพบปะกนั กลมุ่ 2 เปน็ กลมุ่ ที่นัดมาเจอกนั ในชว่ งวันหยุดนักขัตฤกษ์
ดงั นัน้ กลมุ่ แรก ใหค้ รบู นั ทกึ ถึงเฉพาะหวั หนา้ แผนกใหร้ บั ทราบ กลุ่ม 2 ทำหนงั สอื แจ้งระบุชอื่ ครู แล้วทำ
หนงั สอื ตอบรบั ได้รบั หนงั สอื และแบบตอบรับ ครบตามจำนวนและในเวลาทกี่ ำหนด เพราะแจง้ เผื่อ
ชว่ งเวลาสำหรับตอบกลบั แล้ว กลุ่ม 3 เปน็ การร้องขอจากสถานศกึ ษา กใ็ หท้ ำหนงั สือแจง้ ศนู ยฯ์ ให้
ทราบ แนวทางในการนิเทศคร้งั ตอ่ ไป ได้แจ้งประกาศรบั กลมุ่ เพมิ่ ซงึ่ ครสู นใจเข้ากล่มุ ครบตามวนั ท่ี
กำหนด และมีกลุ่มเป็นรายสถานศึกษาทีเ่ ขา้ ร่วม PCL คือ วก. บ้านตาก และ วท. เพชรบูรณ์ วอศ.
อบุ ลราชธานี

• การกำหนดหลักสูตร หลักสตู ร การสรา้ งคลปิ นำเสนอ ไดก้ ลุ่ม PLC วนั อังคารและวนั ศุกร์ ชว่ ยบกุ เบิก
และ Try out หลักสตู รนี้ จนค้นพบข้ันตอนงา่ ยและอย่ใู นกำหนดเวลา 3 ชว่ั โมง ครนู ำไปต่อยอดได้ กลุ่ม
ทเี่ หลือทั้งหมด สามารถฝกึ ปฏิบตั ไิ ด้ชิ้นงาน หลักสูตร การสรา้ งใบงาน ไดก้ ล่มุ วันหยุดนกั ขัตฤกษ์
กลับมาทบทวนแอปพลิเคชนั นี้อกี ครง้ั ครูสามารถไปต่อยอดและสรา้ งกจิ กรรมในชนั้ เรยี นได้ หลกั สตู ร
การสรา้ งกิจกรรมเสริมและวิดโี อแบบมีปฏสิ มั พันธ์ ได้กลมุ่ PLC วันอังคารชว่ ยทดสอบหลกั สูตรและอยู่
ระหวา่ งการปรับปรงุ หลกั สูตร ขอ้ สงั เกต หลักสูตร การสร้างคลปิ นำเสนอ เหมาะสำหรับกล่มุ 4-5 คน
เพราะสามารถสลับหนา้ จอและชวนครูให้เห็นถึงข้อจำกดั ส่วนดี ปัญหาท่พี บและวิธีแกไ้ ข ครทู ีม่ ารว่ ม
PLC ตอ้ งเตรียมชนิ้ งาน ทำได้ครบและมีชนิ้ งานตรวจสอบและแกไ้ ขใหค้ รกู ่อนเจอกนั หน้างาน แนวทางใน
การนเิ ทศครัง้ ต่อไป ปรับเปลี่ยนเทมเพลตแมแ่ บบให้สอดคล้องกับกล่มุ ที่จะเขา้ รว่ ม แนะนำใหค้ รูทำตาม
คลปิ ทีส่ ่งให้ดู ต้องมผี ปู้ ระสานคอยตามงานสง่ ให้ผู้นิเทศ ทดสอบสำหรับกลุ่มใหญข่ ึ้นที่มีความพร้อม

• ลกั ษณะของผู้เข้ารว่ มประชุมฯ เปน็ หลกั สูตรท่ีต้องมกี ารเตรียมตัวก่อนเขา้ อบรม จึงเนน้ เฉพาะครูใน
กลุ่มหรอื ผู้ประสานงานทมี่ ีความเขม้ แขง็ จริง ๆ และงานเตรยี มกอ่ นอบรมจะต้องส่งใหผ้ ้นู ิเทศกรอง
ชิ้นงานก่อนพบกันทีห่ น้างาน จากการฝกึ ฯ พบวา่ ครสู ง่ งานได้ตรงเวลา ทำใหง้ านผิดพลาดน้อย การ
อบรมทำได้ตามข้นั ตอนที่กำหนด แนวทางในการนิเทศครง้ั ต่อไป ถา้ จะจัดต้องตกลงกบั ผปู้ ระสานงาน
ชัดเจนและให้เข้าใจวธิ กี าร เพราะการลดจำนวนสมาชกิ ในกล่มุ ทำให้ดแู ลทัว่ ถงึ และเหน็ ข้อสงั เกตตา่ ง ๆ
ทส่ี ามารถเติมเตม็ และเรียนรูร้ ว่ มกันได้เปน็ อย่างดี

• แอปพลิเคชันหลักและประกอบ ยงั ใช้ ms teams ในการดำเนนิ การฝึกทักษะ แต่ลดขั้นตอนการตัด
ชิ้นงานส่งเปลี่ยนเปน็ แชรห์ นา้ จอแทน ด้วยจำนวนคนน้อย จึงทำใหด้ ูแลและตรวจสอบไดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ
รวมถึงครูได้ฝกึ ทักษะการแชรห์ นา้ จอ ทำให้เพอ่ื น ๆ ไดเ้ ห็นผลงานเปน็ การแลกเปล่ียนเรยี นรู้ด้วยกนั
ชดั เจนขึ้น บางชว่ งของการอบรมฯ มปี ญั หาในเรอื่ งไวไฟ และการใช้รหัสสองชน้ั ทำให้ครูไม่สามารถ
เข้าถึงห้อง ms teams ก็เปลย่ี นมาใช้ของคา่ ยอ่นื ซงึ่ ครูมีทกั ษะพ้ืนฐานดอี ยแู่ ล้ว จงึ ทำให้ดำเนินการตอ่
ได้ทันที แนวทางในการนิเทศคร้งั ตอ่ ไป สามารถเปลย่ี นคา่ ยได้ ถา้ ทักษะทใี่ ชม้ เี พียงแชรห์ นา้ จอ ไมต่ ัด
ภาพชนิ้ งานสง่

16

รายชือ่ ครทู ี่รับการนิเทศโครงการนเิ ทศ
การพฒั นาทักษะดิจทิ ลั เพื่อใช้และสรา้ งนวัตกรรมการเรียนรู้ ของครูอาชีวศึกษา

กิจกรรม 6 สรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี Online, On-Demand
มิถนุ ายน-กรกฎาคม 2565

17

หลักสูตร การสรา้ งคลปิ นำเสนอ

ลำดับ คำนำหนา้ ชอื่ สกลุ ชอื่ วิทยาลัย
1 นางสาว รวินท์นภิ า วงษาฟู วิทยาลยั เทคนิคเชยี งราย
2 นาย ตะวนั ชัยรตั วิทยาลยั สารพัดช่างเชียงใหม่
3 นาง ประภาวรรณ บัวเพชร วทิ ยาลัยการอาชีพห้วยยอด
4 นาง อรนิ ทยา ใจเอ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งใหม่
5 นาง ยอดขวัญ ศรมี ว่ ง วิทยาลยั อาชีวศกึ ษานครสวรรค์
6 นางสาว บญุ เรือน ชา่ งยอ้ ม วทิ ยาลัยเทคนคิ กำแพงเพชร
7 นางสาว ดาวสกาย พูลเกษ วิทยาลยั เทคนคิ กำแพงเพชร
8 นางสาว ศภุ รลัคน์ นนท์แก้ว วิทยาลัยอาชวี ศึกษาเชียงใหม่
9 นาง ปารชิ าติ สุ่มแสนหาญ วิทยาลยั การอาชีพบ้านตาก
10 นาย ณัฐพฒั น์ วงศ์คำ วิทยาลยั การอาชีพบา้ นตาก
11 นางสาว จริ าวรรณ นันทวงษ์ วทิ ยาลัยการอาชีพบา้ นตาก
12 นาย อรรคฤทธ์ิ คมั ภริ านนท์ ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาอาชวี ศึกษาภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
13 นาง พัชรนิ ทร์ ฉิมพาลี วทิ ยาลัยการอาชีพบา้ นตาก
14 นางสาว ธัญลกั ษณ์ หมโี ชติ วิทยาลยั การอาชีพบ้านตาก
15 นางสาว ศศิธร กาญจนโสภณ วิทยาลัยเทคนคิ สุโขทยั
16 นาง ฐติ กิ าญจน์ พลบั พลาสี วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสุโขทยั
17 นางสาว สมุ ิตรา จนั ทรแ์ สง วทิ ยาลยั เทคโนโลยชี นะพลขนั ธ์ นครราชสีมา
18 นาย นิพนธ์ ร่องพชื วิทยาลยั อาชีวศึกษาแพร่
19 นาง กรี ะติกาญน์ มาอยวู่ งั วิทยาลัยเทคนคิ เพชรบูรณ์
20 นางสาว นภสร อินทร์บึง วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ะเยา
21 นางสาว พชั รนิ ทร์ บวั แพร วทิ ยาลยั การอาชีพวเิ ชยี รบรุ ี
22 นางสาว ทัศนยี ์ เบิกบาน วทิ ยาลัยเทคนคิ สันกำแพง
23 นาย ณฐั กรณ์ จนิ สกุลแกว้ วิทยาลัยการอาชีพลอง
24 นางสาว กรรณิการ์ ปาลี วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่
25 นาย อมรเทพ สุภางาม วิทยาลัยเทคนคิ กาญจนาภิเษกเชียงราย
26 นางสาว สุชาดา เคา้ โคน วทิ ยาลัยเกษตรเเละเทคโนโลยเี เพร่
27 นาง ณัฎฐนชิ ชลานนั ต์ วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบรู ณ์
28 นาย พูนศักด์ิ เสอื ดี วิทยาลยั เทคนคิ เพชรบรู ณ์
29 นาย ชัชชาย พาอ้อ วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์
30 นางสาว ทดั ญาพร วรรณะศิลปิน วทิ ยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์
31 นาง ธราภรณ์ ปนิ่ พฤฒกิ ุล วทิ ยาลยั เทคนคิ เพชรบูรณ์
32 นางสาว ขวญั ชนก ชมกลาง วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์

18

33 นางสาว พชั รา ตะเอกา วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบูรณ์
34 นาย ธนสาร รจุ ริ า หน่วยศึกษานเิ ทศก์
46 นาง พินรัฎ สีตลวรางค์ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสโุ ขทยั
47 นางสาว ดวงใจ จันทรตั น์ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสโุ ขทยั
48 นาง ณชติ า เถาว์โท วิทยาลยั อาชวี ศึกษาอบุ ลราชธานี
49 นาง จนั ทรกั ษ์ ธนาคุณ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอุบลราชธานี
50 นางสาว มินทร์ กุแกว้ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอบุ ลราชธานี
51 นาย ทิวตั ถ์ วงศอ์ ทุ ุม วิทยาลยั อาชีวศึกษาอบุ ลราชธานี
52 นางสาว พชั รนนั ท์ ทองแดง วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี
53 นางสาว พชั รีพร ศรไชย วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอุบลราชธานี
54 นาง ณิชาภัทร นางาม วิทยาลัยอาชวี ศึกษาอบุ ลราชธานี
55 นาย กนั ตพงศ์ ภาดี วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาอุบลราชธานี
56 นางสาว จริ วรรณ คำมลู วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาอบุ ลราชธานี

หลักสตู ร การสรา้ งใบงาน

ลำดบั คำนำหนา้ ชอ่ื สกลุ ชอื่ วิทยาลับ
35 นางสาว ศุภรลคั น์ นนทแ์ ก้ว วิทยาลยั อาชวี ศึกษาเชยี งใหม่
36 นาง พินรฎั สีตลวรางค์ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาสโุ ขทัย
37 นาง ฐิตกิ าญจน์ พลบั พลาสี วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสุโขทยั
38 นาง ยอดขวัญ ศรมี ว่ ง วิทยาลยั อาชีวศกึ ษานครสวรรค์
39 นาย ตะวนั ชัยรัต วิทยาลยั สารพดั ช่างเชยี งใหม่
40 นาง อรนิ ทยา ใจเอ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาเชยี งใหม่
41 นาง ประภาวรรณ บัวเพชร วิทยาลยั การอาชีพห้วยยอด
42 นางสาว ดวงใจ จนั ทรัตน์ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสุโขทยั
43 นางสาว ดาวสกาย พูลเกษ วทิ ยาลัยเทคนิคกำแพงเพชร
44 นางสาว สุมิตรา จันทร์แสง วทิ ยาลัยเทคโนโลยชี นะพลขนั ธ์ นครราชสีมา
45 นาง กีระติกาญน์ มาอยู่วงั วทิ ยาลัยเทคนคิ เพชรบรู ณ์

19

ขอ้ สังเกตการนิเทศ รายกลุ่ม
กจิ กรรม 6 สรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี Online, On-Demand

มิถนุ ายน-กรกฎาคม 2565

20

กลุ่ม PLC วนั อังคาร ประจำเดอื นมถิ ุนายน

-หลกั สตู ร การสร้างคลปิ นำเสนอ
-จำนวน 4 คน ได้แก่ ครูบญั ชี (วก. หว้ ยยอด) ครกู ารจดั การสำนักงาน (วอศ. เชยี งใหม่) ครภู าษาองั กฤษ (วท.
เชียงราย) ครูภาษาไทย (วช. เชียงใหม่)
-ชั่วโมงวา่ งจากการสอน
-ไวไฟและอปุ กรณ์ รองรบั การนิเทศ 3 ชว่ั โมง
-กลมุ่ บกุ เบิกในการใช้หลกั สตู ร

ขอ้ สงั เกตรายสปั ดาห์
สัปดาหแ์ รก (7 มิถนุ ายน 2565)
-เน้นสว่ นสำคัญเร่อื งท่ตี ้องใช้กบั หลกั สตู รน้ี ได้แก่ การแชร์ Ms Teams ท่ตี ้องมีการแนบเสยี ง ทำอยา่ งไรและใหฝ้ ึก
อกี ครั้ง
-ตรวจดูการใช้ Canva for Education หรือไม่ ให้ตดั สง่ ก่อนการเตรียมตัว
-ทบทวน คำส่ังตา่ ง ๆ ของแคนวาฯ ท่ีต้องใชบ้ ่อย อปั โหลต, เทมเพลต, เสยี ง, แบลค็ กราว์น, องคป์ ระกอบ
-ข้อสงั เกตการเรียกสไลด์ แต่ละสไลด์ จะเลอื กจากตำแหน่งใดของหนา้ จอ ย้ำใหช้ ดั เจน
-การใช้ "กรอบ" คู่กับ ภาพและวดิ ีโอ ฝกึ การเด้งภาพเข้าในกรอบ ให้คล่อง
-คำส่ัง "เสยี ง" และ ระดับเสยี ง, effect เสียง ต้องย้ำ หาตำแหนง่ ใหถ้ ูกต้อง
-เรยี งลำดบั อน่ื ตามสครปิ ได้เลย
-ทรกิ การออกแบบ ค่อย ๆ เติมเต็ม
สัปดาหท์ ีส่ อง (14 มิถนุ ายน 2565)
-การเตรยี มคลิปท่ีตา่ งกนั ผเู้ รียนจะไดเ้ ทคนิคจากเพือ่ น ๆ และเปรยี บเทยี บการใชง้ านได้
-การแชรห์ น้าจอแบบ include computer sound ทำไดค้ ลอ่ ง ไมร่ อเวลา
-การเติมเสยี ง เลือกเพลง การเลือกใชค้ ำสง่ั ของเสยี ง ทำได้คล่องขนึ้
-ยำ้ ในเร่ืองข้อสงั เกตก่อนเตมิ เสียง
-ฝกึ ทักษะ การเปลีย่ นเทมเพลต ไดท้ บทวนการใช้งานแคนวา
-เดมิ ทักษะ การใช้ โฟลเดอร์ ยงั ไม่ไดค้ รูอาจจะงง
-เติมทักษะ การตดั เสยี งแต่ละสไลด์ ทำได้ แต่ต้องไปฝกึ ต่อ
สปั ดาหท์ ีส่ าม (28 มิถนุ ายน 2565)
เร่ิมทบทวนการใชง้ านแบบ สามสไลด์, การนำเอาวดิ ีโอมาแบง่ หนา้ , การเตมิ เสยี ง-ปรับ effect, การใชว้ ดิ ีโอเป็นพื้น
หลัง, การเปลีย่ นหนา้ , ทรกิ ต่าง ๆ เพ่มิ เติม อยา่ งน้อยมาชน้ั เรยี นนี้ ครไู ดง้ านไปใชใ้ นวิชาสอนได้แล้ว
-กตกิ าในช้นั เรยี น
-ข้อตกลงเบ้ืองต้นแต่ละวชิ า

21

-เกณฑ์การประเมิน
-ข้อพึงปฏบิ ตั ใิ นการทำงานของสาขาวชิ า ทีแ่ ตกตา่ งกัน
ขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็นของครูทเ่ี ขา้ รบั นิเทศ
-เป็นโครงการทีด่ มี าก ๆ นำไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนได้ดมี าก
-สามารถนำความรู้ท่ีได้รบั ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน กระตนุ้ ผู้เรียนในการเรียนมาก ๆ ทริกตา่ ง ๆ ท่ไี ดร้ ับ
นำมาประยุกต์ใช้ได้
-ถา่ ยทอดความร้ทู ่เี ปน็ ประโยชน์ท่ีสามารถนำไปใชใ้ นการเรียนการสอนไดจ้ รงิ หวงั ว่าจะได้เรยี นกบั ครปู ้อมในคลาส
ตอ่ ไปครับ
-สนุกมาก ได้ทรกิ ใหม่ ๆ ทกุ ครั้งที่เรยี น วิทยากรใจเย็นในการสอน

22

กลุม่ PLC วนั ศกุ ร์ ประจำเดือนมิถุนายน

-หลักสูตร การสรา้ งคลปิ นำเสนอ
-จำนวน 4 คน ได้แก่ ครภู าษาไทย (วอศ. นครสวรรค,์ วท. กำแพงเพชร) ครูช่างกลฯ (วท. กำแพงเพชร) ครู
การตลาด (วอศ. เชียงใหม่)
-ชั่วโมงว่างจากการสอน
-ไวไฟและอปุ กรณ์ รองรับการนิเทศ 3 ชว่ั โมง
-กลุ่มบุกเบิกในการใชห้ ลักสตู ร

ข้อสงั เกตรายสปั ดาห์
สปั ดาห์แรก (10 มิถนุ ายน 2565)
-รวู้ า่ คูม่ ือฯ ท่ีเขยี นไมน่ ่าจะเข้าใจตรงกนั ต้องปรับคู่มือใหม่อีกรอบ
-การส่งคู่มือ ทำให้ครไู ดฝ้ ึกเอง ทดลองเอง ได้ผลในระดบั ที่สามารถใช้งานได้ แต่อาจจะไม่ตรงกบั ใจ ผนู้ ิเทศ แต่
สามารถมาต่อยอดได้
-การแชรห์ น้าจอในการใช้ Ms Teams เป็นเรือ่ งสำคัญท่ีสุดของ หลกั สตู รฯ น้ี เพราะปรบั เปลย่ี นการนำเสนอ เป็น
ครตู ้องใชห้ นา้ จอสลบั กนั ทุกคน ครูจะตดิ ขัดในระยะแรก แต่ครง้ั ต่อ ๆ ไปก็ทำได้ดีและรวดเรว็ เพราะมีพืน้ ฯ
-การแนบเสียงขณะแชร์ เป็นเรื่องสำคัญ ลำดับตน้ เช่นกนั สำหรับหลกั สตู รน้ี
-ท่เี ตรยี มไวส้ ำหรับ 3 ขนั้ ตอนในการสรา้ งคลปิ ต้องปรบั เหลอื เพียง 1 ขัน้ ตอนแล้วเติมรายละเอยี ดต่าง ๆ ไดเ้ ลย
(ต้องแบ่งเป็น ครั้ง 2 หรือ 3 ตดิ ตามต่อไป)

สัปดาหท์ ส่ี อง (17 มิถนุ ายน 2565)
-การแชร์ แบบ include computer sound
-คำสง่ั สำคญั ท่ีใช้บ่อย
-ตำแหนง่ ต่าง ๆ หนา้ จอทำงานท่เี กยี่ วกบั สไลด์
-เรียงการมอบหมายงานตามข้นั ตอน
-เติมทรกิ ตา่ ง ๆ
-ทิ้งท้าย ขั้นตอนบันทึก ตวั คุณเอง
-วันนี้ คอ่ นขา้ งสมบรู ณ์ ติดขดั การบันทึกจากงานอ่ืน ไมไ่ ด้ใช้ วิดีโอ แต่สามารถปรับการฝึกได้

สปั ดาห์ที่สาม (8 กรกฎาคม 2565)
หลักสตู ร การสร้างคลิปนำเสนอ ปิดคอรส์ วันนี้ ขาดอีกหน่ึงคน ตอ้ งรบี ไปเช็ค atk ดว่ น วนั น้ีทบทวนและเติมทรกิ ที่
จำเปน็ สำหรบั การทำให้แลว้ และคดิ วา่ เพยี งพอทีจ่ ะไปต่อยอดได้ ถ้าพอมีเวลา หนง่ึ เดือนที่ผ่านมา จดั สรรเวลา 3
ชม มาเรยี นรสู้ ือ่ แบบนี้ ครูทงั้ 4 ทา่ นไดช้ น้ิ งานเปน็ รูปแบบท่ชี ดั เจนแล้ว

23

ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นของครทู ่เี ขา้ รบั นเิ ทศ
-ไดน้ ำความรู้ไปปรบั ประยุกต์ใช้ในการจัดทำส่ือ
-ตอ้ งการอบรม H5P แบบพดู ตอบ
-ได้รับความร้แู ละสามารถนำไปใช้ในงานสอน
-ไดฝ้ ึกฝน เกิดทักษะ การแก้ไขปัญหาบรรยากาศหอ้ งเรยี นนา่ สนใจมากข้นึ

24

กลุ่ม PLC วอศ. อุบลราชธานี
-หลกั สูตร การสร้างคลปิ นำเสนอ
-จำนวน 7-8 คน ไดแ้ ก่ วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ พลศึกษา อาหารฯ ทอ่ งเทีย่ ว การโรงแรม
-ชั่วโมงวา่ งจากการสอน
-ไวไฟและอปุ กรณ์ รองรบั การนเิ ทศ 3 ชัว่ โมง
สปั ดาห์แรก (20 มถิ นุ ายน 2565)
-ทบทวน ms teams เรอื่ งการแชร์-include computer sound
-เรมิ่ คนใหม่ ทุกคำสง่ั รวม ๆ เนน้ แชร์หน้าจอ ถี่
-ฝกึ เข้า ms teams ดว้ ยรหัส
-แคนวา education มสี องกลุม่ …ครูยังอยากแกป้ ญั หาเอง ต้องบังคับให้แชร์ ช่วยย่นเวลาได้
-ทวนแคนวา ยำ้ education คำส่ังเพ่ิม คำส่งั เปล่ยี นชือ่ คำส่งั ท่ีจำเป็นสำหรบั หลักสูตรนี้
-ตรวจสอบงานใน โปรเจ็คของฉันและตรวจสอบสไลด์งาน
-ทบทวนการวางภาพใน กรอบและเสน้ กรดิ ทำได้ทุกคน
-ไฟล์ mp4 ยงั ไม่พร้อมในเคร่อื ง …ยำ้ ในวันงาน
-กลมุ่ นี้จะมีอุปสรรคเสียงเพราะนัง่ รวมกนั แลว้ ยงั ปรับการใช้เสยี ง ยังไมค่ ลอ่ ง
สัปดาหท์ ีส่ อง (22 มิถนุ ายน 2565)
-การบนั ทึก mp4 ครใู ช้หลายเครอื่ ง ทำให้ไม่มชี ้นิ งาน แตส่ ามารถปรับเป็นวิดีโอ ในระบบได้
-ทดลองข้นั ตอนการใช้สามสไลด์ เปน็ วธิ งี ่ายทส่ี ดุ
-เปรยี บเทยี บงานแบบวดิ โี อและงานอ่นื ๆ
-ครูจะสับสนคำวา่ เสยี ง เพราะไมร่ วู้ ่าพดู คำส่งั อันใด เลย่ี งใชค้ ำว่า ดนตรี ชัดเจนขึน้
-ทยอยให้ออกแบบเอง เลอื กเพลงเอง ปรับเสยี ง

25

กลุ่ม PLC ครบู ัญชี
วนั ที่ 23 มิถนุ ายน 2565 หลักสตู รการสรา้ งอีบุ๊กและชน้ั วางหนงั สือ เข้ากบั concept การทำชมุ ชนแหง่ การ
เรยี นรจู้ รงิ ๆ ประกอบดว้ ย ครูจาก วท. พบิ ลู มงั สาหาร, วท. อำนาจเจรญิ , วทิ ยาลยั เทคโนโลยชี นะพลขันธ์
ข้อสงั เกต
-ครูบอกว่า ตอนแรกคดิ ว่า ทำอบี ๊กุ มนั ยากมาก พอลงมือปฏิบัตถิ งึ รูว้ ่า มันงา่ ย
-อปุ สรรคสำหรับครูอีกหลายท่านไมส่ ามารถมารว่ มฝึกหรือแลกเปลีย่ นได้เพราะ วนั น้ี เขาไหว้ครแู ละภารกิจอื่น ๆ
-สัญญาณไวไฟของครู และอุปกรณก์ ารใชง้ านอาจจะมีข้อจำกดั เพราะหลายครั้งท่ีเจอกัน ครกู ท็ ำได้ถา้ ไวไฟแรง
-เป็นกลุม่ ครทู ่ีสามารถเรียนรูใ้ นเรื่องอื่น ๆ ไดเ้ พราะไดร้ ับการฝกึ ฝนในเรือ่ ง App. หลัก ๆ ไดแ้ ลว้ เชน่ Ms Teams,
Canva, Snipping tool
ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นของครูที่เขา้ รบั นิเทศ
-วทิ ยากร ใหค้ วามรูไ้ ดเ้ ต็มที่มาก
-วทิ ยากรใจเย็นเเละสอนละเอียดมากหากมีหลักสูตรอืน่ ที่เปิดสอนจะเขา้ เรยี นด้วยอีกแน่นอน
-ได้ความรดู้ ีมาก อยากให้จดั กิจกรรมแบบนีเ้ รื่อย ๆ

26

27

กลุ่ม PLC วนั ที่ 14 ก.ค. หยุดนกั ขัตฤกษ์
วนั ท่ี 14 กรกฎาคม 2565 หลักสตู ร การสรา้ งคลปิ นำเสนอ (Canva บันทึกแบบเห็นหนา้ ) เปน็ ครบู ัญชี 4 คน ครู
ภาษาอังกฤษ 1 คน (ตามหนังสือราชการ+แบบตอบรบั ) วอศ. สโุ ขทัย และ วท. สโุ ขทัย
ข้อสงั เกต
-เปน็ ครูที่ใช้ ms teams ได้คลอ่ ง เพม่ิ เตมิ เฉพาะการแชรห์ นา้ จอ ท่ตี ้อง include computer sound เท่านน้ั
-มีพื้นฐานการใช้แคนวา เพิม่ ในบางคำสงั่ ท่ตี ้องใช้บอ่ ยในหลักสตู รนี้ และการทำงานบนหน้าจอในรูปแบบที่กำหนด
-พบครูใช้ canva แบบสว่ นตัว คำสงั่ ตา่ ง ๆ เรียกชือ่ ต่างกนั แนะนำใหใ้ ชเ้ พ่อื การศึกษา สำหรบั ช้ินงาน 2-4
-การนำเสนอแบบตา่ ง ๆ ทำได้ทกุ คน สามารถสลับการใช้งานและเรียกแชร์หน้าจอได้อย่างต่อเน่ือง สะดดุ น้อยมาก
ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม
-ครสู ามารถสร้างส่อื ได้จริง ถา้ คดิ จะเอาไปทำต่อ
-ครสู ง่ งานช้ินแรกทเ่ี ผยแพร่ในกลุ่มนี้ได้
-ทรกิ ต่าง ๆ สามารถฝึกฝนเองไดห้ รอื ขอคำแนะนำเพมิ่ จากช่องทางที่แจ้ง
-อยากเรยี นเพิ่มเติม ใหร้ วมกลุ่มทกั มาได้

28

29

PLC กลุ่มครูวันที่ 15 หยดุ นักขตั ฤกษ์ (เชา้ )

วันที่ 15 กรกฎาคม 2565 หลักสูตร การสรา้ งคลปิ นำเสนอ (Canva บันทึกเห็นหน้าจอ) ครู วก. บา้ นตาก ครู
ไฟฟ้า ครูคอมพิวเตอร์ ครูบัญชี ครูสังคม ครูคณิตศาสตร์ และศกึ ษานเิ ทศก์ ศูนยส์ ง่ เสรมิ และพัฒนาอาชวี ศกึ ษา
ภาคตะวันออก ท้ังหมด 6 คน

ข้อสงั เกต
-ตดิ ปญั หาในเรอ่ื งรหสั สองชน้ั แต่ครูกต็ ดิ ตามแก้ไข ไม่ท้อ
-เงื่อนไขก่อนเขา้ หลักสตู รให้ฝกึ ครูเคยใช้ ตอนแรกติดปญั หา และรอบถัด ๆ ไปคล่องมาก
-ส่วนใหญ่เป็นครูทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ จงึ คุน้ เคยกับคลิปนำเสนอ
-ครสู ว่ นใหญ่มีทกั ษะการใชแ้ คนวา ทบทวนในคำสง่ั หลัก ๆ ก็สามารถฝกึ ตามได้
-การเติมทริกตา่ ง ๆ ต้องใช้วธิ กี ารเรยี กให้ทุกคนดหู นา้ จอ หยุดครูให้ได้เพ่ือให้เห็นแนวทาง
ขอ้ เสนอแนะสำหรับผ้นู ิเทศ
-ครมู ที กั ษะในการบนั ทึกหน้าจอ และเหน็ ถึงข้อจำกดั แนวทางทจี่ ะแก้ไขได้
-ครสู ามารถสร้างคลิปฯ ชนิ้ ต่อ ๆ ไปได้ ถา้ จะทำ...
-แนะนำให้ครูทำ กติกา/กฎ ของห้องเรยี น เพราะได้ใชอ้ ยู่แลว้
-ครสู ามารถมาเติมเพม่ิ "ทริก" ในขน้ั ซับซ้อนได้ ในรอบถัด ๆ ไป

ขอ้ เสนอแนะและความคดิ เห็นของครทู ีเ่ ขา้ รับนิเทศ
-อยากให้จดั อบรมแบบ on-site
-สำหรับผมเป็นคนใช้ canva เป็นประจำอยู่แล้ว แต่วิทยากรในการเพิ่มเตมิ ทริกและทักษะให้
-ชอบการจัดอบรมแบบนี้ ได้ความรแู้ ละไดฝ้ ึกปฎบิ ตั ไิ ปดว้ ย
-ความร้ทู ไ่ี ด้นำไปใช้ได้จริง เป็นการฝึกอบรมทีเ่ น้นผลลพั ธจ์ ากการไดล้ งมือปฏบิ ัติ และผลลัพธ์ที่ได้สง่ ผลใหผ้ เู้ ข้ารบั
การฝกึ อบรมมเี จคตทิ ด่ี ใี นการนำความรไู้ ปพัฒนาต่อยอดได้ตอ่ ไป
-อยากให้มีการนิเทศและอบรมการสร้างสอ่ื แบบน้ีเรื่อย ๆ เพราะสามารถนำไปใช้ได้จรงิ กับการเรยี นการสอนในยคุ
ปัจจุบนั นี้
-มาเติมความรู้และเทคนคิ วิธีการในการใช้งานแคนวา..LWS ก็ยงั สนใจอยู่

30

31

PLC กลุ่มครูวันที่ 15 หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ (บ่าย)

วันท่ี 15 กรกฎาคม 2565 หลกั สูตร การสรา้ งใบงาน ทั้งหมด 11 คน ครบู ัญชี ครูการจัดการสำนกั งาน ครู
การตลาด ครูภาษาไทย ครูสังคม รวม 7 สถานศึกษา วอศ. เชยี งใหม่ วอศ. สโุ ขทยั วอศ. นครสวรรค์ วท.
กำแพงเพชร วท. เพชรบรู ณ์ วช. เชยี งใหม่

ข้อสงั เกต
-ครูสว่ นใหญ่ เคยเรียน tws และ lws บ้างแล้ว
-ครสู ่วนใหญ่ เคยทดสอบแบบใบงาน ในกลุ่มนี้ จึงน่าจะมองเห็นเค้าโครงของแบบตา่ ง ๆ ของใบงาน
-ครูมที ักษะการใช้ ms teams ทุกคน บอกเงอื่ นไขการแชร์และทบทวนสัน้ ๆ ก็สามารถทำได้อยา่ งคล่องแคล่ว
-ครูเขา้ กลมุ่ น้ีและทำงานอยู่ที่บ้าน บางส่วนมีปญั หาไวไฟ แต่กส็ ามารถทำงานตลอด 3 ชั่วโมง
-โปรแกรมอัปเดต ช่ือคำสงั่ และตำแหน่งคำสงั่ หลายแห่ง ได้เรียนร้ไู ปพร้อม ๆ กนั กบั ครูทุกคน
-จำนวนครู มากเกินไป ทริกต่าง ๆ ยังมขี ้อจำกัดทีจ่ ะถา่ ยทอดใหค้ รู

ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ
-ควรนิเทศกลมุ่ นี้อยา่ งต่อเนื่อง เพราะเปน็ ครทู ่ใี ชง้ านและเห็นผลการใช้สื่อจริง
-ครทู กุ คนมีความสามารถท่ีจะเรียนรู้ ทกั ษะและทริก ต่าง ๆ ท่ียังไม่คุ้นเคย
-ครูสามารถเรยี นรู้ ทริก ท่ซี บั ซ้อนได้ แตต่ ้องมีขนาดกลุม่ เล็กลง

ข้อเสนอแนะและความคดิ เห็นของครทู ีเ่ ขา้ รับนิเทศ
-สนุกมาก ได้กลบั มาเร่ิมเรียนร้อู ีกครั้ง สนกุ ดี
-ใหจ้ ัดกิจกรรมแบบน้ีอีก
-อยากให้จัดอบรมแบบนอี้ ีก
-อยากให้ครทู ีสถาบนั เขา้ รว่ มอบรมดว้ ย
-สำหรบั การถา่ ยทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ การเรียนในแต่ละครั้งก็จะไดท้ รกิ ใหม่ ๆ เพิ่มเตมิ และได้ทบทวนการ
เรียนด้วยทกุ ครง้ั
-อยากให้มีรปู แบบการทำสอื่ มาสอนและนเิ ทศติดตามตลอด ๆ เลย
-ไดร้ ับความรู้เยอะมากในการจดั ทำส่อื กจิ กรรม รปู แบบ ท่ีนา่ สนใจ กระตนุ้ ผเู้ รยี นให้เกิดการเรยี นรู้เพมิ่ ข้นึ ในการ
ทำกิจกรรม
-ไดฝ้ กึ ทบทวนการทำแบบทดสอบให้แก่นักเรียน ต้องใช้งานบอ่ ย ๆ
-ได้ทบทวนการสร้างใบงาน หลากหลายรปู แบบ เพ่ือได้ไปปรับประยุกต์ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
ผสมผสานทีด่ ีมากเลยค่ะ TWS จะนำไปใช้แน่นอน ไมย่ ากเลย
-เป็นโครงการทด่ี มี าก เป็นประโยชนต์ อ่ ครผู สู้ อนสามารถนำไปใช้ได้จริง
-หัวขอ้ อบรมมีประโยชนม์ าก ได้ทบทวนการใชง้ าน และจะนำไปใช้อย่างต่อเนื่องต่อไป

32

33

กลุม่ PLC วันอังคาร ประจำเดอื นกรกฎาคม
วนั ที่ 19 กรกฎาคม 2565 หลักสูตร การสรา้ งกิจกรรมเสริมและวดิ ีโอแบบมปี ฏิสมั พนั ธ์
-จำนวน 4 คน ไดแ้ ก่ ครูบัญชี (วก. หว้ ยยอด) ครกู ารจัดการสำนักงาน (วอศ. เชียงใหม่) ครภู าษาอังกฤษ (วท.
เชยี งราย) ครภู าษาไทย (วช. เชียงใหม่)
-ช่ัวโมงว่างจากการสอน
-ไวไฟและอปุ กรณ์ รองรับการนิเทศ 3 ชว่ั โมง
-กลุ่มบกุ เบิกในการใช้หลกั สตู ร
ขอ้ สงั เกต
-ครยู ังไมเ่ ข้าใจการทำคลปิ มาประกอบงานฯ ควรทบทวนท่ีแคนวา เพ่ือใหค้ รูได้รวู้ ธิ ีการตั้งโจทย์
-วางขั้นตอนที่ได้เขียนตามสคริป ครูสามารถทำตามได้
-การ save เปน็ วธิ ชี ว่ ยครูไดม้ าก สำหรบั โปรแกรมนี้
-ควรฝกึ ทุกคำสงั่ ของ H5P ใหค้ รูคล่องกวา่ นี้และนึกภาพออก
-ครจู ะลืมโจทย์ เมื่อทำไปแลว้ แนะนำใหด้ ูงานท่แี คนวาประกอบ
-การออกแบบโจทย์ เป็นเร่ืองสำคญั ลำดับแรก แตเ่ ม่ือเริ่มปฏบิ ัตบิ นความแตกต่าง กเ็ หน็ ถงึ วิธีการแก้ไขหรือ
เพม่ิ เติม แลว้ ได้เรยี นรู้รว่ มกนั
-แนะนำใหค้ รูใชแ้ คนวาเดมิ แตเ่ ปลยี่ นโจทย์ copy แม่แบบเดมิ แลว้ เปล่ียน mp4 เทา่ น้ัน กไ็ ด้ ของเดมิ คือ คำส่งั
bookmark โจทยแ์ บบต่าง ๆ เพียงแตเ่ ปลย่ี นข้อความ ของเดมิ แต่ไดโ้ จทยใ์ หม่

34

35

PLC กลุ่มวันพุธ
วันท่ี 20 กรกฎาคม 2565 หลักสตู ร การสร้างคลิปนำเสนอ (Canva บนั ทึกเห็นหน้าผู้สอน) ครูการทอ่ งเที่ยว
ครโู ลจิสตกิ ์ ครูการตลาด ครูสังคม ครคู ณติ ศาสตร์ รวม 5 คน จาก 5 สถานศึกษา วษท. พะเยา, วก. วเิ ชียรบรุ ี,
วอศ. แพร่, วท. เพชรบรู ณ์, วท. สันกำแพง
ขอ้ สงั เกต
-ครูเตรียมชนิ้ งานได้ครบถ้วน รวดเร็ว ตรงตามเวลา
-ตดิ ปญั หาไวไฟ-เคร่ือง 2 คน ตามส่งงานภายหลัง และส่งงานได้บางส่วน
-ทักษะการใช้ ms teams คลอ่ งและรวดเร็ว
-ครมู ีทกั ษะการใช้แคนวา ได้คล่อง และส่วนใหญเ่ ลือกรปู แบบ ไมซ่ บั ซ้อน จงึ ไมพ่ บปัญหาทีจ่ ะนำมาแลกเปลย่ี น
เรยี นรไู้ ด้
-สามารถดำเนนิ การตามสคริปได้ครบตามขัน้ ตอน
ข้อเสนอแนะสำหรับครงั้ ต่อไป
-แนะนำแนวทางในการทำคลิปนำเสนอและชวนคุยถงึ แนวทางของแต่ละคน
-แนะนำให้ทำกติกาในห้องเรยี น สำหรับชัว่ โมงหนา้
-ครมู ที กั ษะที่จะเรียนรใู้ นเร่ืองอื่น ๆ ได้
ความคิดเหน็ ของผ้รู บั นเิ ทศ
-อยากอบรมออนไซตบ์ ้าง
-จะพยายามนำมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์กบั การเรยี นการสอนใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ
-ขออภัยในความตะกุกตะกัก แตห่ ัวข้อน้ีน่าสนใจมาก ๆ เลย
-เวลาทำกจิ กรรมพอดี ไมม่ ากไม่น้อย เข้าใจง่าย สามารถนำไปใชต้ อ่ ยอดไดจ้ รงิ

36

37

PLC กลุ่มวันพฤหสั บดี
Text : Pom Pimporn
วนั ที่ 21 กรกฎาคม 2565 หลักสูตร การสร้างคลิปนำเสนอ (Canva บนั ทึกเห็นหน้าผู้สอน) ครูอิเล็กทรอนิกส์ ครู
ชา่ งยนต์ ครวู ทิ ยาศาสตร์ ครูภาษาองั กฤษ 4 คน จากสถานศึกษา 4 แห่ง วก. ลอง, วท. กาญจนาภิเษกเชยี งราย,
วษท. แพร่ และ วษท. เชยี งใหม่

ขอ้ สังเกต
-Ms teams ลม่ แตบ่ างคนสามารถเข้าได้ ผ้นู ิเทศทดลองทุกช่องทางเขา้ ไม่ได้ ครบู างคนติดรหสั สองชั้น เข้าระบบ
ไมไ่ ด้ เปลยี่ นช่องทางใช้ Meet ครทู ำได้รวดเรว็ และคล่อง ผู้นิเทศเรยี นรู้จากครู
-ไวไฟ มตี ิด-ดบั ทกุ แห่ง และไฟฟ้า บางแห่งใชไ้ ด้บางเฟส
-การแชร์หน้าจอ ไม่ตอ้ งสอนครู สามารถทำไดค้ ล่อง การใช้แนบเสียงไม่มีอปุ สรรค
-การแชรห์ น้าจอทำได้ แต่มปี ัญหาสัญญาณไวไฟ ทำให้ การแนะนำสำหรบั ครูทกุ คน มขี ้อจำกัด

ข้อเสนอแนะสำหรับการนิเทศ
-ครมู ีทักษะการ "ประชมุ " หลายช่องทาง
-ไวไฟและอุปกรณ์ มีความจำเปน็ สำหรับหลกั สตู รน้ี
-ครูสามารถพฒั นาหลักสูตรอ่ืน ๆ ได้

ข้อคิดเหน็ ของผ้รู บั การนเิ ทศ
-อยากเรียนเน้ือหาการทำสือ่ เพิม่ ครบั หลาย ๆ โปรแกรม
-เนือ้ หามีความชัดเจนครบถ้วน
-เน้อื หาเข้มข้นมาก นำไปใช้ในการเรยี นการสอนแก่ผเู้ รยี นได้-
-ได้รบั ประโยชนเ์ เละสามารถนำไปใช้ในวิชาชพี ได้ ติดตามการอบรมครั้งต่อ ๆ ไปอกี

38

39

PLC กลุ่มครู วทิ ยาลยั เทคนิคเพชรบรู ณ์ 1
วนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2565 หลักสูตรการสร้างคลิปนำเสนอ (Canva บนั ทึกเหน็ หน้าจอผสู้ อน) ครูทั้งหมด 8 คน
ครสู งั คม ครูกฎหมาย ครคู ณิตสตร์ ครูวิทยาศาสตร์ ครเู ลขานุการและศึกษานิเทศกส์ ังเกตการณ์

เป็นการทดสอบหลกั สูตรทใ่ี ช้กลุ่มใหญ่เกนิ 5 คน
-อปุ กรณ์และไวไฟ ยังเปน็ ข้อจำกดั ตอ้ งใชเ้ วลาในการรอ แตส่ ามารถ ดำเนินการได้เชน่ เดียวกับจำนวนคน 4-5 คน
-การแชร์แบบ include computer sound มีติดขัดบ้าง แตเ่ หน็ ภาพรวมการใชง้ านของทุกเคร่ือง สลับกันได้อยา่ ง
รวดเรว็ ในช่วงกลาง ๆ
-ครูสว่ นใหญ่ สามารถใชง้ านไดค้ ล่อง ติดขดั ก็รอกนั ได้ แม้มีใช้ browser
-การแบ่งเสียง มปี รับเปลี่ยนวิธกี ารอาจจะดว้ ยสัญญาณไวไฟหรอื ระบบ ต้องทวนกะงานอกี รอบ
-พบการแจง้ เตอื นจากเฟซบุ๊ก เน่อื งจากความเร็ว ใช้งานโนต้ บุ๊ก ให้หยุดชั่วคราว แตอ่ ุปกรณ์อ่ืนใช้งานได้
-เกบ็ งานชนิ้ ท่ี 4 ได้ ไฟล์ mp4
-ต้องย้ำชือ่ สไลด์ วิดโี อของครู แถบเสียง ตัวกรอง (ฟรี, การศกึ ษา) เพราะพบแจ้งเตือนงานท่ีอัปโหลต สองกลุ่มวัน
พุธท่ีแลว้ และพุธน้ี ตอ้ งลบท้งิ เพ่อื ป้องกันการละเมดิ

PLC กลุ่มครู วิทยาลัยเทคนิคเพชรบรู ณ์ 2
วันท่ี 29 กรกฎาคม 2565 หลกั สูตร การสร้างคลิปนำเสนอ เพ่ิมเติม ทรกิ ต่าง ๆ เรียนรู้ร่วมกันกับชนิ้ งานของครู
ทกุ คน จดุ ไหนที่น่าสนใจก็แวะใหท้ ุกคนไดเ้ รียนรรู้ ว่ มกนั

ข้อสงั เกต
-การเตรียมเนอื้ หา บางคนเตรียมมาก กใ็ หเ้ รียนรู้รว่ มกนั ในการตดั ชนิ้ งานให้มีขนาดพอดี
-การเตรียมเทมเพลตตา่ งกนั ก็ทำให้ครูเห็นวา่ ควรแก้ปัญหาอยา่ งไร
-การพมิ พ์ การกำหนดสี การสะกดคำ การย่อหน้า การพิมพ์ตัวเลข เติมทักษะการพิมพใ์ หค้ รู
-กลมุ่ ขนาดพอดีและครมู ที ักษะทำใหง้ ่ายและรวดเรว็ ในการสรา้ งสอื่
-อปุ กรณ์และไวไฟ ให้ปรบั ให้พอใชง้ านได้ ตลอด 3 ชั่วโมง
-สามารถเรียนรู้หลักสตู รอืน่ ๆ ได้

ข้อคิดเหน็ ของผ้รู บั การนเิ ทศ
-เน้ือหามีความชัดเจนครบถ้วน
-เนอื้ หาเขม้ ขน้ มากนำไปใชใ้ นการเรียนการสอนแกผ่ ู้เรียนได้
-ไดร้ ับประโยชนเ์ เละสามารถนำไปใช้ในวชิ าชีพได้คะ่ ตดิ ตามการอบรมครั้งต่อ ๆ ไปอีก
-มีประโยชนใ์ นการนำไปใชเ้ ป็นส่ือการเรียนร้มู าก
-ไดร้ ับความรูท้ สี่ ามารถนำไปใชใ้ นหอ้ งเรยี นไดจ้ รงิ
-สนกุ มาก ชอบมาก ๆ เลย ดีใจได้ชน้ิ งานเป็นของตัวเอง เคยเหน็ งานของคนอ่นื คดิ วา่ ยากมากเลย แต่พอทำไดแ้ ล้ว
กอ็ ยากพัฒนาไปเร่ือย ๆ

40

-ขอใหม้ โี ครงการดี ๆ แบบน้ี บอ่ ย ๆ ครับ
-ไดร้ บั เทคนิคและวธิ กี ารผลติ สอื่ วดิ โี อการสอนจากการใช้ Canva มากขน้ึ
-นำไปใช้ได้จรงิ ในการจัดการเรียนการสอน และทำผลงานวิชาการ
-มีปญั หาติดขดั คอมพวิ เตอร์ อินเตอร์เน็ต

41

ศู น ย์ ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า อ า ชี ว ศึ ก ษ า ภ า ค เ ห นื อ

ONLINE
AND

ON-DEMAND

Pom-Vec-GroupI


Click to View FlipBook Version