The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการนิเทศตามโครงการเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ระหว่างเดือนธันวาคม 2561 - มีนาคม 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pimporn Sarichun, 2019-07-10 00:20:36

รายงานผลการนิเทศโดยบูรณาการไอซีที

รายงานผลการนิเทศตามโครงการเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ระหว่างเดือนธันวาคม 2561 - มีนาคม 2562

โครงการนเิ ทศเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพ
การจดั การเรยี นการสอนอาชวี ศกึ ษา

กิจกรรมนิเทศติดตามการจดั การเรียนการสอน โดยบูรณาการไอซีที

โดย
ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นอาชีวศึกษาภาคเหนือ

คำนำ

เอกสารฉบับนี้เปน็ การรวบรวมการนเิ ทศติดตามตามโครงการนเิ ทศเพอื่ ยกระดับคุณภาพการจดั การเรียน
การสอนอาชีวศกึ ษา ของศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนอื ในหัวข้อเรือ่ ง การนเิ ทศการจัดการเรียน
การสอน โดยบูรณาการไอซที ี โดยมรี ะยะเวลาดาเนินการ ระหวา่ งเดือนธนั วาคม 2561 - มนี าคม 2562 ภายใต้
ความรับผดิ ชอบ จานวน 10 สถานศึกษา ผเู้ ขา้ รบั การนิเทศประกอบดว้ ยครูและผู้บรหิ าร

การดาเนนิ การนเิ ทศ กอ่ นการนิเทศได้ติดตอ่ ผปู้ ระสานงานในการจัดเตรียมผ้เู ขา้ รบั การนิเทศ รายช่ือเพือ่
จะไดด้ าเนินการจัดทาอีเมล office 365 ในการนเิ ทศ หอ้ งสาหรบั การนเิ ทศที่รองรบั สญั ญาณไวไฟ ตามจานวนครู
ทกี่ าหนด ระหวา่ งการนเิ ทศ ได้ใช้การลงมือปฏบิ ัตจิ ริงพรอ้ มส่งผลงานและรับการนิเทศโดยตรง หลังการนเิ ทศมี
การกาหนดขอบเขตผลงาน/ส่ือ ทีผ่ ้นู ิเทศจะติดตามในช่องทางท่ีกาหนดตามเวลาท่ีได้ระบุหรอื แจ้งใหท้ ราบในกลุ่ม
ออนไลน์ นิเทศติดตามทางออนไลน์

ดงั น้นั เอกสารนจี้ งึ เป็นการเก็บรวบรวมผลจากการนิเทศ ณ สถานศกึ ษา ท่ีได้พบ ในด้านตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ครู
อุปกรณ์และห้องประชมุ ข้อเสนอแนะจากผ้เู ขา้ ร่วมนเิ ทศ แนวทางสาหรับการนเิ ทศและปรบั ในส่วนของผูน้ เิ ทศใน
ครง้ั ตอ่ ไป แนวทางสาหรบั สถานศกึ ษา โดยแยกเป็นรายสถานศึกษาจากข้อค้นพบ อีกท้ังยังเป็นการรวบรวม
รายชอ่ื ผ้รู บั การนเิ ทศออนไลน์หลงั จากทน่ี ิเทศ ณ สถานศึกษาซึ่งรายชื่อท้งั หมดจะไดร้ บั เกียรติบัตรออนไลน์

ขอ้ มลู ทั้งหมดเพอื่ ใชส้ าหรบั เป็นแนวทางในการจัดโครงการฯ หรอื ดาเนนิ การในเรื่องการจดั การเรยี นการ
สอนและการนิเทศสาหรับผู้จัดทาเอง ไม่ได้เกี่ยวข้องกับหน่วยงานฯ อยา่ งใดท้ังสิน้ หากสถานศึกษาใดทเี่ ก่ยี วข้อง
จะนาข้อมูลดงั กล่าวไปใช้หรอื อา้ งอิงอย่างไร กส็ ามารถดาเนินการได้โดยไม่ต้องขออนุญาต

ขอบคุณผู้บริหารสถานศึกษาและคณะครูทกุ ทา่ นที่รบั การนเิ ทศ และมสี ่วนร่วมในการลงปฏิบัตใิ นการรบั
นเิ ทศ ระหวา่ งนเิ ทศ ณ สถานศกึ ษาและหลังการนิเทศบนออนไลน์ ขอบคณุ ผู้ร่วมคณะนิเทศจากศูนยส์ ่งเสรมิ และ
พฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนือและนเิ ทศร่วม ครภู มู ิพฒั น์ วนพิพฒั นพงศ์ วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาพิษณุโลก ครนู ิพนธ์
รอ่ งพืช วิทยาลัยอาชวี ศึกษาแพร่ ที่มารว่ มแบง่ ปันแลกเปลย่ี นเรียนรู้ร่วมกนั

นางสาวพิมพร ศะริจันทร์
ศกึ ษานิเทศก์
มนี าคม 2562

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 1

นเิ ทศติดตามการจดั การเรยี นการสอน โดยบูรณาการไอซีที
วิทยาลัยการอาชีพแมส่ ะเรียง จงั หวดั แม่ฮ่องสอน
วนั ที่ 21 ธันวาคม 2561

ครู
• ทกุ คนมอี เี มล office 365 จากที่ไดร้ ับจากศูนย์ และบางส่วนไดร้ บั แล้วจากผปู้ ระสานงาน
• การเขา้ รหสั ครั้งแรก ติดขดั ในการใช้ตวั อักษรและตัวเลข ผสมกนั แตก่ ็ใช้เวลาสนั้ ๆ
• ทุกคนส่วนใหญ่ได้ไฟล์เทมเพลต PowerPoint จากห้องนิเทศ
• การใช้ social media สามารถใช้ได้ การใช้เฟซบุ๊ก สง่ งานกลุม่ ยังเป็นประสบการณ์ใหม่
สาหรับหลายคนในหอ้ งนี้ แต่เม่อื ไดท้ ดลองทา ก็ทาได้อยา่ งรวดเรว็ และบางส่วนไดใ้ ช้กลุ่มเฟซบุ๊ก
ในการจดั การเรยี นการสอนอยู่แลว้
• การฝึกใชส้ แกน QR-Code ทาได้อย่างรวดเร็ว เหมือนมที ักษะด้านนีอ้ ยา่ งดีแล้ว
• ครูสามารถสร้างส่ือเป็นแบบทดสอบ ได้แก่ เลอื กตอบ เติมคา การจัดลาดบั (Ranking)
โดยดจู ากผลงานที่ส่งใน socail media
• การตัดภาพ ยังนยิ มใช้ print Sc บางสว่ นใช้ snipping tool ได้
• การเผยแพร่ (share) บางส่วนยังคลกิ เลือกคาสงั่ ตรงกันขา้ ม ทาใหเ้ ปิดงานไม่ได้
• การใชส้ ่อื powerpoint แบบทริกเกอร์ เปน็ ความรู้ใหม่สาหรบั หลายคน ทักษะในการใช้เทมเพลต ไดแ้ ก่
การปรับข้อความ รปู ภาพ การแก้ไขข้อความ การเปลยี่ นสี การเพ่มิ จานวนสไลด์ การสลับเปล่ียนสไลด์
ทาได้
• ครูหลายคนไดเ้ คยเข้ารับการพัฒนาจากโครงการของศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศึกษาภาคเหนือ
แตไ่ มส่ ามารถใชส้ ่ือบางสว่ นได้ เนื่องจากไม่ได้ทดลองปฏบิ ัติ
• ครูมาจากตัวแทนจากทกุ สาขา

อุปกรณ์ และห้องประชุม
• ครูมโี นต้ บุ๊กและมือถือ ใชง้ านรว่ มกนั
• ครมู เี ฟซบุก๊ สาหรบั การจดั การเรียนการสอน
• ระบบไวไฟ ใช้งานได้ และสามารถแกไ้ ขได้รวดเรว็ เมอ่ื ติดขดั
• อุปกรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 2

ภาพกจิ กรรมการนิเทศวทิ ยาลัยการอาชพี แมส่ ะเรยี ง 3
ขอ้ เสนอแนะจากผูเ้ ขา้ รบั การนิเทศ

• ขอรบั การนเิ ทศทกุ ๆ ภาคเรยี น
• การใช้ส่อื การเรยี นการสอนเพ่ิมขนึ้ , วจิ ัยในชน่ั เรยี น
• อยากร้เู รื่องส่ือ ict เพ่มิ มากข้ึน
• อยากรู้เรื่องสือ่ เพ่ิมเติม
• การวัดผลประเมินผล
• หัวขอ้ การอบรมอ่ืน ๆ เชน่ การวจิ ัย
• อยากไดค้ วามรเู้ กย่ี วกับสื่อการเรยี นการสอนเพมิ่
• ส่อื ท่ีใช้ในงานวจิ ยั ส่ือที่ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
• อยากได้ความรู้ในเรื่องงานวิจัยการวัดผลประเมินผล

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี

แนวทางสาหรบั การนิเทศและปรับในสว่ นของผ้นู ิเทศในคร้ังต่อไป
• การตดิ ตามนเิ ทศออนไลน์ สาหรับกลมุ่ ผู้เขา้ รับการนเิ ทศ สามารถดาเนนิ การได้จากข้อมูลท่ีพบ
จากการลงมือปฏบิ ตั แิ ละวสั ดุ อปุ กรณ์ สามารถจดั ส่งใหผ้ ้นู ิเทศ อยา่ งน้อย จานวน 1 สอื่
• การนเิ ทศในคร้งั ต่อไป (ถ้ามี) สาหรบั ชว่ งเวลาสนั้ ๆ สามารถตอ่ ยอดโปรแกรมออนไลน์ค่ายอืน่ ได้
• จานวนครู ทเ่ี ข้ารับการนิเทศมีความเหมาะสม และลงมือปฏิบัตกิ ับคาส่งั ตา่ ง ๆ ได้
• การใหข้ ้อมูลผปู้ ระสานงาน คร้ังน้ที าได้คอ่ นขา้ งสมบรู ณ์ เพราะจัดเตรียมจานวนคน ห้อง
และระบบเครอื ขา่ ย
• กลุม่ ผู้เข้ารบั การนเิ ทศครัง้ น้ี ควรไดร้ บั พฒั นาตอ่ อาทิ การนิเทศครง้ั ต่อไป
การจดั โครงการของศนู ย์สง่ เสริมฯ ภาคเหนอื

แนวทางสาหรับสถานศึกษา
• สถานศกึ ษา มีสื่อออนไลน์ และออฟไลน์ อยา่ งน้อย 1 ช้ิน/ต่อคน
• เพ่ือนครู สามารถสอนหรอื บอกต่อให้ผู้ทไ่ี ม่ได้รบั การนเิ ทศได้

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 4

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรยี นการสอน โดยบูรณาการไอซที ี
วทิ ยาลัยเทคนคิ สองแคว จังหวัดพิษณโุ ลก
วันท่ี 9 มกราคม 2562

ครู
• ทกุ คนมีอเี มล office 365 จากที่ได้รบั จากศูนย์ และบางส่วนได้รบั แล้วจากผปู้ ระสานงาน
• ทุกคนส่วนใหญ่ได้ไฟล์เทมเพลต PowerPoint จากผ้ปู ระสานงานเรียบรอ้ ยแล้ว
• การใช้ social media สามารถใชไ้ ด้ทนั ทแี ละทุกคนใชส้ าหรับการจัดการเรียนการสอน
โดยเลอื กใช้บางคาสัง่
• การใช้เฟซบุ๊ก สง่ งานกลุ่ม ยังเปน็ ประสบการณใ์ หม่ สาหรับหลายคนในหอ้ งน้ี แต่เม่ือได้ทดลองทา
ก็ทาไดอ้ ย่างรวดเรว็ และบางส่วนได้ใช้กลุม่ เฟซบุก๊ ในการจัดการเรยี นการสอนอย่แู ลว้
• การฝกึ ใชส้ แกน QR-Code ทาได้อย่างรวดเร็ว เหมือนมีทักษะด้านน้อี ย่างดีแลว้
• ครูสามารถสรา้ งส่ือเป็นแบบทดสอบ ได้แก่ เลอื กตอบ เติมคา การจดั ลาดบั (Ranking)
โดยดจู ากผลงานที่สง่ ใน socail media
• การตัดภาพ ยังนิยมใช้ print Sc บางสว่ นใช้ snipping tool ได้
• การเผยแพร่ (share) บางสว่ นยังคลกิ เลอื กคาสง่ั ตรงกันขา้ ม ทาใหเ้ ปิดงานไม่ได้
• การใช้สื่อ powerpoint แบบทรกิ เกอร์ เป็นความรู้ใหมส่ าหรับหลายคน ทกั ษะในการใชเ้ ทมเพลต ไดแ้ ก่
การปรบั ข้อความ รูปภาพ การแกไ้ ขข้อความ การเปล่ียนสี การเพิม่ จานวนสไลด์ การสลับเปลี่ยนสไลด์
ทาได้
• ครหู ลายคนไดเ้ คยเขา้ รบั การพัฒนาจากโครงการของศนู ย์สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชวี ศึกษาภาคเหนอื
• เปน็ ตัวแทนของครูมาจากประเภทวชิ าชา่ งอตุ สาหกรรม

อปุ กรณ์ และห้องประชุม
• ครมู โี นต้ บุ๊กและมือถือ ใช้งานร่วมกนั
• ครมู ีเฟซบุก๊ สาหรับการจัดการเรยี นการสอน
• ระบบไวไฟ ค่อนขา้ งเสถยี ร มีผู้ดแู ลระบบที่เชยี วชาญ
• มีผู้ดแู ลระบบที่สามารถแจกจ่ายอีเมลทง้ั ของคา่ ยจีเมลแ์ ละออฟฟิศ 365
• อุปกรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 5

ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศวทิ ยาลัยเทคนิคสองแคว 6

ขอ้ เสนอแนะจากผู้รบั การนิเทศ
• จดั การประกวดส่อื ในระดับภาค เพื่อแลกเปล่ยี นเรียนร้รู ะหว่างครูผู้สอน
• สอ่ื น่าสนใจ ควรเพิม่ ระยะเวลาเพือ่ ท่จี ะเขา้ ใจสอ่ื มากย่ิงข้ึน
• อยากให้มาบ่อย ๆ
• นาสงิ่ ใหมเ่ ขา้ มาสอนและนเิ ทศในครัง้ นี้
• ระยะเวลาในการนิเทศควรมากกวา่ นี้
• ตอ้ งการอบรมเพิม่ เติม ใช้เวลาประมาณ 1-2 วัน เพ่ือมีเวลาฝึกมากข้ึน.
ขอบพระคุณไดร้ ับความรู้และแนวคดิ ในการพฒั นาสือ่ จะนาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ไป

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที

• การนเิ ทศติดตามดีมากครบั ได้ความร้กู ารทาสื่อเพม่ิ มากขน้ึ
จะพยายามทาส่ือการสอนให้มากข้นึ ตามครับ หาเวลาทาก่อนครับ^^

• ไดค้ วามรบั รูใ้ นเรื่องการใชส้ ่ือสาหรบั จดั การเรยี นการสอน

แนวทางสาหรับการนิเทศและปรับในสว่ นของผนู้ ิเทศในครงั้ ตอ่ ไป
• การตดิ ตามนิเทศออนไลน์ สาหรับกลมุ่ ผู้เขา้ รบั การนิเทศ สามารถดาเนนิ การได้จากข้อมูลทพี่ บ
จากการลงมือปฏบิ ัตแิ ละวสั ดุ อปุ กรณ์ สามารถจัดส่งให้ผนู้ ิเทศ อย่างนอ้ ย จานวน 1 สือ่
• การนเิ ทศในคร้ังต่อไป (ถ้าม)ี สาหรบั ชว่ งเวลาสั้น ๆ สามารถต่อยอดโปรแกรมออนไลน์ค่ายอื่นได้
• จานวนครู ท่เี ข้ารับการนิเทศมคี วามเหมาะสม และลงมือปฏิบัตกิ ับคาสั่งตา่ ง ๆ ได้อยา่ งรวดเรว็
และมกี ารชว่ ยเหลอื กันสาหรับบางคาสง่ั ท่ีไม่เขา้ ใจ
• การใหข้ ้อมลู ผู้ประสานงาน คร้ังนีท้ าได้คอ่ นขา้ งสมบูรณ์ เพราะจัดเตรียมจานวนคน ห้อง
และระบบเครือข่าย และการประสานในเรอื่ งอีเมลและส่ือได้คอ่ นข้างพร้อม
• กลมุ่ ผูเ้ ขา้ รับการนเิ ทศครั้งน้ี ควรไดร้ ับพัฒนาต่อ อาทิ การนิเทศครงั้ ต่อไป
การจดั โครงการของศนู ย์สง่ เสริมฯ ภาคเหนอื

แนวทางสาหรับสถานศกึ ษา
• สถานศึกษา มีสอื่ ออนไลน์ และออฟไลน์ อย่างนอ้ ย 1 ชนิ้ /ต่อคน
• เพ่ือนครู สามารถสอนหรือบอกตอ่ ใหผ้ ู้ทีไ่ ม่ไดร้ บั การนิเทศได้
• สถานศกึ ษา สามารถจดั อบรมพฒั นาครูไดเ้ องเนอ่ื งจากมบี ุคลากร ที่มคี วามเหมาะสมและชานาญการ
หรอื สามารถใช้เครอื ข่ายในจังหวดั เดยี วกันได้
• สถานศกึ ษา สามารถแจกอเี มล office 365 ได้เอง ทาใหส้ ามารถใช้แอปอื่น ๆ ได้อย่างหลากหลาย

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 7

นิเทศติดตามการจัดการเรยี นการสอน โดยบรู ณาการไอซีที
วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสโุ ขทยั จังหวดั สโุ ขทยั
วันที่ 10 มกราคม 2562

ครู

• ทุกคนมีอเี มล office 365 จากทไ่ี ดร้ ับจากศนู ย์ ในวันทน่ี เิ ทศ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรหสั ทาได้
มกี ารสอบถามและเพ่ือนครูด้วยกนั ช่วยทาใหก้ ารเข้ารหัสได้ ตดิ ขดั ระบบไวไฟบ้าง แตส่ ามารถแก้ไขได้
และปรบั เปลีย่ นหอ้ งนิเทศ เป็นห้องปฏิบตั ิการสอน

• การใช้ social media และเจอปัญหาบา้ งการจารหัสจากโทรศัพท์ แล้วมาเปดิ ใช้ใน โนต้ บกุ๊ ซง่ึ นอ้ ยมาก
• การใช้เฟซบุ๊ก ส่งงานกลมุ่ ยังเปน็ ประสบการณ์ใหม่ สาหรบั หลายคนในห้องน้ี แตเ่ ม่ือได้ทดลองทา

ก็ทาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และบางส่วนได้ใช้กลุ่มเฟซบุก๊ ในการจัดการเรียนการสอนอยแู่ ลว้
• การฝกึ ใช้สแกน QR-Code ทาไดอ้ ย่างรวดเรว็ เหมือนมที ักษะด้านน้ีอยา่ งดีแลว้
• ครสู ามารถสร้างส่ือเป็นแบบทดสอบ ได้แก่ เลอื กตอบ เติมคา การจัดลาดบั (Ranking)

โดยดจู ากผลงานทส่ี ง่ ใน socail media
• การตดั ภาพ ยังนยิ มใช้ print Sc บางส่วนใช้ snipping tool ได้
• การเผยแพร่ (share) บางส่วนยังคลกิ เลือกคาส่งั ตรงกันขา้ ม ทาให้เปดิ งานไม่ได้
• การใชส้ ่ือ powerpoint แบบทรกิ เกอร์ เปน็ ความรู้ใหม่สาหรับหลายคน ทักษะในการใช้เทมเพลต ได้แก่

การปรบั ข้อความ รปู ภาพ การแกไ้ ขข้อความ การเปลยี่ นสี การเพ่ิมจานวนสไลด์ การสลบั เปลยี่ นสไลด์
• ครหู ลายคนได้เคยเขา้ รับการพฒั นาจากโครงการของศูนย์สง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีวศึกษาภาคเหนอื
• ครสู ่วนใหญม่ าจากประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กิจ

อปุ กรณ์ และห้องประชุม

• ครมู ีโน้ตบุ๊กบางส่วนและมือถือ
• ครมู เี ฟซบุ๊ก สาหรบั การจัดการเรียนการสอน
• ระบบไวไฟ ขัดข้องเฉพาะชว่ งตน้ ๆ และสามารถแก้ไขได้ทันทีจากการเปลีย่ นหอ้ ง
• ใช้เครอื่ งคอมพวิ เตอร์จากห้องปฏบิ ัตกิ ารแทนโนต้ บ๊กุ
• อปุ กรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 8

ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศวทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาสุโขทัย 9

ขอ้ เสนอแนะจากผ้เู ข้ารบั การนเิ ทศ

• สอนและใสใ่ จผู้เรียนทวั่ ถึงดี
• เวลาในการจัดฝกึ อบรมนอ้ ยไป
• ตอ้ งการเรยี นร้สู ือ่ หลากหลายวิธีเพือ่ ให้ทนั กับเทคโนโลยไี ทยแลนด์ 4.0
• ขอให้จัดอบรมนอกสถานท่ใี นช่วงปิดภาคเรียนบ้าง
• อยากให้มสี อ่ื หรือเทคนิคใหม่ ๆ มาเร่อื ย ๆ
• เนื้อหาส่อื PowerPoint ยังไม่ dynamic
• เวลาในการอบรมน้อยเกินไป

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี

• อยากได้รับการอบรมเกีย่ วกับวธิ ีการจัดการเรยี นการสอนนักศึกษาสาขาบัญชี แบบ Active learning
และอน่ื ๆ

• อยากให้มานิเเทศอย่างต่อเน่ือง

แนวทางสาหรับการนเิ ทศและปรบั ในส่วนของผนู้ เิ ทศในคร้งั ต่อไป

• การติดตามนิเทศออนไลน์ สาหรับกลมุ่ ผเู้ ขา้ รบั การนิเทศ สามารถดาเนินการไดจ้ ากข้อมูลที่พบ
จากการลงมือปฏิบตั แิ ละวัสดุ อุปกรณ์ สามารถจดั ส่งใหผ้ ูน้ ิเทศ อยา่ งนอ้ ย จานวน 1 สื่อ

• การนิเทศในครง้ั ต่อไป (ถ้าม)ี สาหรบั ช่วงเวลาสัน้ ๆ สามารถต่อยอดโปรแกรมออนไลน์ค่ายอืน่ ได้
• จานวนครู มากกว่า 10 คน สาหรบั หอ้ งปฏิบัติ โดยมผี ้นู ิเทศคนเดียวจะเปน็ อุปสรรค ดแู ลไมท่ ่วั ถงึ
• การใหข้ ้อมลู ผู้ประสานงาน จะตอ้ งชัดเจนและตดิ ตามการประสานงานให้มากกว่าเดิม ได้แก่

จานวนผู้รบั การนิเทศ เนอื้ หานิเทศ หอ้ งสาหรบั ใชส้ าหรับการนเิ ทศ
• กลุ่มผู้เขา้ รับการนเิ ทศครง้ั น้ี ควรไดร้ ับพฒั นาต่อ อาทิ การนเิ ทศคร้งั ต่อไป

การจดั โครงการของศูนย์ส่งเสริมฯ ภาคเหนือ

แนวทางสาหรบั สถานศึกษา

• สถานศกึ ษา มีสอ่ื ออนไลน์ และออฟไลน์ อย่างนอ้ ย 1 ชิน้ /ต่อคน
• เพือ่ นครู สามารถสอนหรือบอกตอ่ ใหผ้ ู้ทไ่ี ม่ไดร้ บั การนิเทศได้

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 10

นเิ ทศติดตามการจัดการเรยี นการสอน โดยบูรณาการไอซีที
วิทยาลัยการอาชีพเถิน จงั หวดั ลาปาง
วนั ท่ี 11 มกราคม 2562

ครู
• ทุกคนมีอีเมล office 365 จากทไ่ี ด้รับจากศูนย์ การแก้ไขเปล่ียนแปลงรหสั ทาไดร้ วดเรว็
มีการสอบถามและเพ่อื นครูด้วยกันช่วยทาให้การเขา้ รหสั เป็นไปอยา่ งรวดเร็ว ติดขดั ระบบไวไฟบ้าง
แต่สามารถแกไ้ ขได้ทันที บางคนไดร้ ับแลว้ จากการประสานงานกอ่ นถงึ วันนิเทศ
• ทุกคนไม่เคยใช้อเี มล แบบนี้ และไม่มีอีเมล office 365 ยกเว้น ผู้อานวยการฯ
ทใ่ี ช้ระบบนีใ้ นการจัดเก็บเอกสารมาบ้างแลว้
• การใช้ social media และไม่เจอปัญหาการจารหสั จากโทรศพั ท์ แลว้ มาเปิดใชใ้ น โนต้ บุ๊ก
• การใช้เฟซบุ๊ก ส่งงานกลุ่ม ยงั เปน็ ประสบการณ์ใหม่ สาหรับหลายคนในหอ้ งนี้ แตเ่ ม่ือได้ทดลองทา
กท็ าไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
• การฝึกใชส้ แกน QR-Code ทาไดอ้ ย่างรวดเร็ว เหมอื นมที ักษะด้านน้ีอย่างดแี ลว้
• ครสู ามารถสรา้ งส่ือเป็นแบบทดสอบ ไดแ้ ก่ เลอื กตอบ เติมคา การจดั ลาดับ (Ranking)
โดยดจู ากผลงานทสี่ ่งใน socail media
• การ copy ลงิ กส์ ่ง บางส่วนสามารถใชค้ ยี ์ลัดได้ และสอนกันเอง
• การตดั ภาพ ยงั นยิ มใช้ print Sc บางส่วนใช้ snipping tool ได้
• การใช้สือ่ powerpoint แบบทริกเกอร์ เป็นความรู้ใหมส่ าหรับหลายคน ทักษะในการใชเ้ ทมเพลต ไดแ้ ก่
การปรับข้อความ รูปภาพ การแกไ้ ขข้อความ การเปล่ียนสี การเพ่ิมจานวนสไลด์ การสลบั เปล่ียนสไลด์
ทาได้
• ครูหลายคนไดเ้ คยเข้ารบั การพัฒนาจากโครงการของศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีวศึกษาภาคเหนือ

อุปกรณ์ และห้องประชุม
• ครูมีโน้ตบุก๊ และมือถือ ใชง้ านร่วมกนั ได้
• ครูมีเฟซบกุ๊ สาหรบั การจดั การเรยี นการสอน
• สามารถเลือกใช้ระบบไวไฟ สลบั เปลี่ยนจากของตนเองและหอ้ งนิเทศได้
• ระบบไวไฟ ขดั ขอ้ งบางตอนแต่ก็แก้ไขได้อย่างรวดเรว็
• อุปกรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 11

ภาพกิจกรรมการนิเทศวทิ ยาลยั การอาชีพเถิน 12

ขอ้ เสนอแนะจากผ้เู ขา้ รบั การนิเทศ
• ได้รบั ความรู้ที่สามารถนาไปใชก้ บั นักเรยี นไดจ้ ริง
• อยากให้การใช้สอื่ อ่ืน ๆ ถ้าหากมีนอกเหนือจากน้ี
• ไดร้ บั ความรูเ้ พ่อื พฒั นาและนาไปปรบั ใชใ้ นการเรยี นการสอน
• มคี วามเข้าใจเร่ืองการใช้สื่อผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ มากข้นึ
• ถา่ ยทอดไดเ้ ขา้ ใจและนาไปใชง้ านได้ง่าย
• เพ่มิ เวลาในการนิเทศและการใช้สอื่ เพ่มิ มากขน้ึ
• วิทยากรใหค้ วามเป็นกันเอง และสามารถให้ความรไู้ ดช้ ัดเจน มีประโยน์ต่อการจดั การเรยี นรู้
• เพ่มิ เวลา เพ่ือจะได้ความรแู้ ละเนื้อหาที่มากกว่าเดิม

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที

• สอนการทาสื่อ และข้นั ตอนการทาสอื่ เข้าใจงา่ ย
• การสร้างสอ่ื การเรียนการสอน
• อยากให้เพ่ือนครทู ่ีไม่ไดร้ ับการนิเทศ์เข้ารว่ มดว้ ยทุกคน
• อยากใหจ้ ัดการอบรมเชิงปฏบิ ัติการการจดั ทาสอื่ การเรียนการสอนแบบน้ีอีก
• ชอบการแลกเปลี่ยนความรูเ้ พราะได้ความรูเ้ พ่ิม
• ตอ้ งการได้รบั ความรูเ้ รือ่ งส่ืออีกหลาย ๆ อย่าง

แนวทางสาหรับการนเิ ทศและปรับในสว่ นของผ้นู ิเทศในครั้งตอ่ ไป
• การติดตามนิเทศออนไลน์ สาหรบั กลมุ่ ผเู้ ขา้ รับการนเิ ทศ สามารถดาเนินการได้จากข้อมูลท่พี บ
จากการลงมือปฏิบัตแิ ละวสั ดุ อปุ กรณ์ สามารถจัดสง่ ให้ผู้นิเทศ อยา่ งน้อย จานวน 1 ส่ือ
• การนเิ ทศในครั้งต่อไป (ถ้าม)ี สาหรับชว่ งเวลาส้นั ๆ สามารถตอ่ ยอดโปรแกรมออนไลน์คา่ ยอน่ื ได้
• การให้ข้อมลู ผปู้ ระสานงาน ทาให้การนเิ ทศครั้งน้ี
ผู้เข้ารับการนิเทศมีความพร้อมทั้งอุปกรณ์และความต้งั ใจ รู้แนวทางในการเข้ารับการนิเทศ
• กลุ่มผ้เู ข้ารบั การนิเทศคร้ังน้ี ควรไดร้ ับพัฒนาตอ่ อาทิ การนิเทศครั้งต่อไป
การจัดโครงการของศูนยส์ ่งเสรมิ ฯ ภาคเหนือ

แนวทางสาหรบั สถานศึกษา
• สถานศึกษา มีส่อื ออนไลน์ และออฟไลน์ อยา่ งน้อย 1 ชน้ิ /ต่อคน
• เพือ่ นครู สามารถสอนหรือบอกตอ่ ใหผ้ ู้ทีไ่ ม่ได้รับการนเิ ทศได้

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 13

นิเทศติดตามการจัดการเรยี นการสอน โดยบูรณาการไอซที ี
วิทยาลัยเทคนคิ แม่สอด จ.ตาก
วนั ที่ 14 มกราคม 2562

ครู
• ทกุ คนมอี เี มล office 365 จากทีไ่ ด้รับจากศูนย์ การแก้ไขเปล่ียนแปลงรหัสทาได้รวดเรว็
• ทุกคนไมเ่ คยใช้อีเมลเพื่อทาแบบทดสอบแบบน้ี และไม่มีอเี มล office 365 ทเี่ คยแจกจากศูนย์ฯ เหนอื
ปกี อ่ น ก็ไม่ไดใ้ ช้
• มีการใช้ social media และไมเ่ จอปัญหาการจารหสั จากโทรศัพท์ แลว้ มาเปิดใช้ใน โนต้ บ๊กุ
• การใชเ้ ฟซบุ๊ก สง่ งานกล่มุ ยังเปน็ ประสบการณ์ใหม่ สาหรับหลายคนในห้องนี้ แตเ่ ม่ือได้ทดลองทา
กท็ าไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
• การฝกึ ใชส้ แกน QR-Code ทาไดอ้ ย่างรวดเรว็ เหมอื นมีทักษะดา้ นนี้อยา่ งดแี ล้ว
• ครสู ามารถสรา้ งส่ือเปน็ แบบทดสอบ ได้แก่ เลอื กตอบ เติมคา การจัดลาดับ (Ranking)
โดยดูจากผลงานทสี่ ง่ ใน socail media
• การตัดภาพ ใช้ snipping tool ได้
• การใช้สื่อ powerpoint แบบทรกิ เกอร์ เป็นความรู้ใหมส่ าหรับหลายคน ทกั ษะในการใช้เทมเพลต ได้แก่
การปรบั ข้อความ รูปภาพ การแกไ้ ขข้อความ การเปลยี่ นสี การเพม่ิ จานวนสไลด์ การสลับเปล่ยี นสไลด์
ทาได้
• เป็นครทู ห่ี ลากหลายสาขาท่เี พม่ิ เติมจากท่ีอืน่ ไดแ้ ก่ ผ้าและเครื่องแตง่ กาย การโรงแรม และภาษาพม่า

อปุ กรณ์ และห้องประชุม
• ครูมโี น้ตบุก๊ และมือถือ ใช้งานรว่ มกนั ได้
• ครูมเี ฟซบ๊กุ สาหรบั การจัดการเรยี นการสอน
• สามารถเลือกใช้ระบบไวไฟ สลบั เปลยี่ นจากของตนเองและห้องนิเทศได้
• ระบบไวไฟในห้องท่ีใชน้ เิ ทศไม่ติดขัดและมีผ้ดู แู ลและชว่ ยเหลือ
กรณโี ปรแกรมออฟฟิศของเพื่อนครูไม่อัปเดท
• อปุ กรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

ขอ้ เสนอแนะจากผเู้ ข้ารบั การนิเทศ
• เวลาคอ่ นข้างจากัด

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 14

• สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในรายวิชาท่ีสอนได้จรงิ
• ได้ความรู้อย่างครบถ้วน
• อยากได้ความรู้ท่ีมากกวา่ นี้
• อยากให้อาจารยส์ อน. Power point ในการลิง้ ค์ข้อมลู ในแตล่ ะสไลด์
• อยากให้มรี ะยะเวลาในการเรียนรมู้ ากกวา่ นี้
• สนกุ มากครบั
• ระยะเวลาในการเรยี นรู้ให้มากกว่านี้
• ควรจะใหเ้ วลานเิ ทศนานกวา่ น้อี ีกหน่อย
• อยากเรียนรูใ้ ห้มาก ๆ ระยะเวลาใรการเรียนรูน้ อ้ ย
• ได้พฒั นาความรคู้ วามเขา้ ใจด้านสื่อการเรยี นการสอน

ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศวทิ ยาลยั เทคนิคแม่สอด 15

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี

แนวทางสาหรับการนเิ ทศและปรับในส่วนของผู้นเิ ทศในครัง้ ตอ่ ไป
• การตดิ ตามนเิ ทศออนไลน์ สาหรบั กลุ่มผู้เขา้ รับการนิเทศ สามารถดาเนินการได้จากข้อมูลทพี่ บ
จากการลงมือปฏบิ ตั ิและวสั ดุ อุปกรณ์ สามารถจัดส่งให้ผ้นู ิเทศ อยา่ งน้อย จานวน 1 สอื่
• การนิเทศในครั้งต่อไป (ถา้ มี) สาหรบั ช่วงเวลาสัน้ ๆ สามารถตอ่ ยอดโปรแกรมออนไลน์ค่ายอื่นได้
• การใหข้ ้อมลู ผูป้ ระสานงาน ทาให้การนิเทศครงั้ น้ี
ผูเ้ ขา้ รับการนเิ ทศมีความพร้อมทง้ั อุปกรณ์และความตั้งใจ รู้แนวทางในการเข้ารับการนเิ ทศ
• กลมุ่ ผ้เู ข้ารับการนเิ ทศครัง้ น้ี ควรได้รบั พฒั นาต่อ อาทิ การนเิ ทศครั้งต่อไป
การจัดโครงการของศูนย์สง่ เสรมิ ฯ ภาคเหนือ

แนวทางสาหรบั สถานศกึ ษา
• สถานศกึ ษา มีสอื่ ออนไลน์ และออฟไลน์ อยา่ งนอ้ ย 1 ชน้ิ /ต่อคน
• การสร้างกลุ่มเพ่อื นาสื่อทั้งหมดของครู มาไวใ้ นแหลง่ เดียวกัน (ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ใหแ้ นวทางเพิม่ เตมิ )
• เพือ่ นครู สามารถสอนหรือบอกตอ่ ใหผ้ ู้ทไ่ี ม่ไดร้ ับการนิเทศได้
• ทางสถานศึกษา สามารถขออีเมล office 365 เพิม่ เติมจากศูนย์ส่งเสริมฯ ภาคเหนือได้

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 16

นิเทศตดิ ตามการจัดการเรียนการสอน โดยบูรณาการไอซที ี
วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก จ.ตาก
วันที่ 15 มกราคม 2562

ครู
• ทกุ คนมอี เี มลในค่ายไมโครซอฟท์ hotmail/outlook
• ทกุ คนไม่ไดใ้ ช้อเี มลในการจดั ทาแบบทดสอบ อีเมล office 365 ทีเ่ คยแจกจากศนู ยฯ์ เหนอื ปีก่อน
ก็ไม่ได้ใช้
• สามารถแก้ไขรหัสและเขา้ ใชง้ านอีเมล office 365 ได้รวดเร็ว
• มีการใช้ social media และไม่เจอปัญหาการจารหัสจากโทรศัพท์ แลว้ มาเปิดใช้ใน โน้ตบุ๊ก
• การใช้เฟซบุ๊ก สง่ งานกล่มุ ยงั เป็นประสบการณ์ใหม่ สาหรับหลายคนในหอ้ งนี้ แต่เม่ือได้ทดลองทา
กท็ าได้อย่างรวดเรว็
• การฝกึ ใช้สแกน QR-Code ทาไดอ้ ย่างรวดเร็ว เหมอื นมที ักษะดา้ นนีอ้ ยา่ งดีแล้ว
• ครสู ามารถสร้างส่ือเปน็ แบบทดสอบ ไดแ้ ก่ เลือกตอบ เติมคา การจดั ลาดับ (Ranking)
โดยดจู ากผลงานที่ส่งใน socail media
• การตัดภาพ ใช้ snipping tool ได้
• การใช้สอื่ powerpoint แบบทรกิ เกอร์ เป็นความรู้ใหม่สาหรบั หลายคน ทกั ษะในการใช้เทมเพลต ไดแ้ ก่
การปรับข้อความ รปู ภาพ การแกไ้ ขข้อความ การเปลยี่ นสี การเพิ่มจานวนสไลด์ การสลับเปลย่ี นสไลด์
• ครสู ามารถปรับการใช้งานแอปจาก hotmail/outlook มาใชแ้ อปของอีเมล office 365 ได้อย่างรวดเร็ว

อปุ กรณ์ และห้องประชุม
• ครมู ีโนต้ บกุ๊ และมือถือ ใช้งานร่วมกนั ได้
• ครูมเี ฟซบ๊กุ สาหรับการจดั การเรียนการสอน
• สามารถเลือกใชร้ ะบบไวไฟ สลับเปลี่ยนจากของตนเองและหอ้ งนิเทศได้
• ระบบไวไฟในห้องท่ีใช้นิเทศไมต่ ดิ ขัดและมีผดู้ ูแลและชว่ ยเหลอื
กรณีโปรแกรมออฟฟศิ ของเพื่อนครไู ม่อปั เดท
• ระบบไวไฟมีการดแู ลความปลอดภัยเพราะตงั้ ระบบ firewall ดงั นน้ั การจะใช้อเี มล
ตอ้ งแจ้งผ้ดู ูแลระบบกอ่ น
• อปุ กรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 17

ภาพกจิ กรรมการนิเทศวิทยาลยั การอาชีพบ้านตาก
ขอ้ เสนอแนะจากผ้เู ข้ารับการนเิ ทศ

• อยากให้นเิ ทศช่วงปดิ ภาคเรยี นเพื่อเตรียมการสอนก่อนเปดิ ภาคเรียน
• ควรจดั ให้ความรแู้ ด่ครไู ปเลย
• อยากให้มกี ารจดั การอบรมสอื่ การสอนบ่อย ๆ
• เวลาในการรบั การอบรมน้อยเกินไปต้องให้มเี วลามากกว่าน้ี
• ควรมาตดิ ตามการนเิ ทศบ่อย ๆ
• ขอบคุณท่ีเสียสละเวลามามอบความร้ใู หม่ ๆ ใหน้ ะครับ
• อยากให้ทกี ารนิเทศติดตามทุก ๆ ปกี ารศึกษา
แนวทางสาหรบั การนิเทศและปรบั ในส่วนของผนู้ เิ ทศในคร้ังตอ่ ไป
• การติดตามนเิ ทศออนไลน์ สาหรบั กล่มุ ผเู้ ข้ารับการนเิ ทศ สามารถดาเนินการได้จากข้อมูลท่ีพบ

จากการลงมือปฏิบัติและวสั ดุ อปุ กรณ์ สามารถจดั สง่ ใหผ้ ู้นิเทศ อย่างนอ้ ย จานวน 1 สอ่ื

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 18

• การนิเทศในครัง้ ต่อไป (ถ้าม)ี สาหรบั ชว่ งเวลาสัน้ ๆ สามารถต่อยอดโปรแกรมออนไลน์ค่ายอืน่ ได้
• การใหข้ ้อมลู ผู้ประสานงาน ทาให้การนิเทศครงั้ นี้

ผู้เข้ารบั การนเิ ทศมีความพร้อมทง้ั อุปกรณ์และความตงั้ ใจ รู้แนวทางในการเข้ารับการนิเทศ
• กลุ่มผู้เข้ารบั การนเิ ทศครงั้ น้ี ควรไดร้ ับพัฒนาต่อ อาทิ การนิเทศคร้งั ต่อไป

การจดั โครงการของศนู ยส์ ง่ เสรมิ ฯ ภาคเหนอื
แนวทางสาหรับสถานศึกษา

• สถานศึกษา มสี ื่อออนไลน์ และออฟไลน์ อยา่ งน้อย 1 ชนิ้ /ต่อชิน้

• เพอ่ื นครู สามารถสอนหรือบอกตอ่ ใหผ้ ู้ท่ไี ม่ไดร้ ับการนเิ ทศได้
• ทางศนู ยส์ ่งเสรมิ ฯ ภาคเหนือ ได้ให้อีเมล office 365 สาหรับทกุ คน

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 19

นิเทศตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี
วิทยาลัยการอาชีพเวียงสา จ.นา่ น
วันที่ 29 มกราคม 2562

ครู
• ทกุ คนมีอเี มล office 365 จากทไ่ี ดร้ ับจากศูนย์ การแก้ไขเปล่ียนแปลงรหัสทาได้
และครเู กือบท้งั หมดเขา้ รบั การนิเทศ
• ทกุ คนใช้อีเมลจากหลายค่ายท่ีเปน็ ของธรุ กจิ เป็นประสบการณ์แรกที่ใชข้ องอีเมล office 365
• มีการใช้ social media และไม่เจอปัญหาการจารหสั จากโทรศัพท์ แล้วมาเปิดใชใ้ น โน้ตบกุ๊
• การใช้เฟซบุ๊ก สง่ งานกลุ่ม ยังเป็นประสบการณ์ใหม่ สาหรับหลายคนในหอ้ งน้ี แตเ่ มื่อได้ทดลองทา
ก็ทาไดอ้ ย่างรวดเรว็
• การฝกึ ใช้สแกน QR-Code ทาไดอ้ ย่างรวดเร็ว เหมือนมที ักษะดา้ นนีอ้ ยา่ งดแี ล้ว
• ครูสามารถสร้างสื่อเปน็ แบบทดสอบ ได้แก่ เลือกตอบ เติมคา การจัดลาดบั (Ranking)
โดยดูจากผลงานท่สี ง่ ใน socail media
• การตดั ภาพ ใช้เคร่ืองมอื ท่หี ลากหลาย แนะนาการใช้ snipping tool
• การใช้สื่อ powerpoint แบบทรกิ เกอร์ เป็นความรู้ใหม่สาหรับหลายคน ทกั ษะในการใช้เทมเพลต ไดแ้ ก่
การปรับข้อความ รปู ภาพ การแก้ไขข้อความ การเปล่ียนสี การเพ่ิมจานวนสไลด์ การสลบั เปลย่ี นสไลด์
ทดสอบให้ดเู ป็นตัวอย่าง แต่ยังไม่ไดส้ ่งงาน

อปุ กรณ์ และห้องประชุม
• ครูมีโนต้ บกุ๊ และมือถือ ใช้งานร่วมกนั ได้
• ครมู เี ฟซบุก๊ สาหรับการจดั การเรยี นการสอน
• สามารถเลอื กใชร้ ะบบไวไฟ สลับเปลี่ยนจากของตนเองและหอ้ งนเิ ทศได้
• ระบบไวไฟในห้องท่ีใชน้ ิเทศติดขัดแตม่ ีผดู้ ูแลและช่วยเหลอื แกไ้ ขระบบได้ทนั ที
• อปุ กรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

ข้อเสนอแนะจากผเู้ ขา้ รบั การนิเทศ
• มเี วลาในการอบรมมากกว่านี้
• อยากให้ครปู อ้ นสอนเยอะอีก
• Wifi ช้าไปหน่อยครบั

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 20

• ได้นาควรมรใู้ หม่ ๆ ไปใชใ้ นการเรยี นการสอน
• อยากให้เพม่ิ เวลาให้ความรูใ้ ห้นานอกี นดิ
• มาแนะนาความรู้ใหมๆ่ ครบั
• จะนาไปพฒั นาตัวเองและนักเรยี นใหด้ ีทีส่ ดุ ครับผม
• เปน็ การนิเทศติดตามทที่ าให้ครไู ดม้ สี ่วนร่วม และไดร้ ับความร้อู ยา่ งดเี ยย่ี ม
• เทคนคิ การสอน
• ไดร้ ับความรแู้ ละสนกุ
• ได้รับความรู้จากวิทยากรมาก สามารถนาไปใช้ได้จริง
• รปู แบบการนาเสนอสื่อแบบใหม่ ๆ
• ไดร้ ับความรู้เพมิ่ เติมในการจัดการเรยี นการสอน
• การใชง้ านข้นั ท่ีสูงขน้ึ

ภาพกจิ กรรมการนิเทศวิทยาลัยการอาชพี เวียงสา 21

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี

แนวทางสาหรบั การนิเทศและปรบั ในส่วนของผู้นิเทศในครั้งต่อไป
• การตดิ ตามนเิ ทศออนไลน์ สาหรบั กลมุ่ ผเู้ ขา้ รบั การนเิ ทศ สามารถดาเนินการได้จากข้อมูลที่พบ
จากการลงมือปฏบิ ัตแิ ละวัสดุ อุปกรณ์ สามารถจดั ส่งให้ผ้นู ิเทศ อย่างน้อย จานวน 1 สือ่
• การนเิ ทศในครัง้ ต่อไป (ถ้าม)ี สาหรับชว่ งเวลาสัน้ ๆ สามารถต่อยอดโปรแกรมออนไลน์ค่ายอืน่ ได้
• จานวนครเู ข้ารับการนิเทศมจี านวนมากระบบไวไฟ ไมร่ องรับการทางานกลมุ่ ใหญ่
• การใหข้ ้อมูลผปู้ ระสานงาน ทาใหก้ ารนิเทศครง้ั นี้
ผ้เู ข้ารบั การนิเทศมีความพร้อมท้งั อุปกรณ์และความต้ังใจ รู้แนวทางในการเขา้ รับการนเิ ทศ
• ผรู้ ับการนิเทศเปน็ วัยหนุม่ สาว เรยี นรู้ได้อยา่ งรวดเรว็ และแบ่งปัน สอนเพื่อนรว่ มงานได้
• กลุ่มผเู้ ขา้ รบั การนเิ ทศครัง้ น้ี ควรไดร้ บั พฒั นาตอ่ อาทิ การนเิ ทศครัง้ ต่อไป
การจดั โครงการของศนู ยส์ ่งเสรมิ ฯ ภาคเหนอื

แนวทางสาหรบั สถานศกึ ษา
• สถานศึกษา มีสอ่ื ออนไลน์ และออฟไลน์ อยา่ งนอ้ ย 1 ชนิ้ /ต่อคน
• เพอ่ื นครู สามารถสอนหรือบอกตอ่ ให้ผู้ท่ไี ม่ได้รับการนเิ ทศได้
• ทางสถานศึกษา สามารถขออีเมล office 365 เพิม่ เติมจากศนู ย์ส่งเสริมฯ ภาคเหนอื ได้

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 22

นิเทศติดตามการจัดการเรยี นการสอน โดยบูรณาการไอซีที
วิทยาลัยสารพดั ชา่ งนา่ น จ.นา่ น
วันท่ี 30 มกราคม 2562

ครู
• ทกุ คนมอี เี มล office 365 จากท่ีไดร้ ับจากศูนย์ การแก้ไขเปลย่ี นแปลงรหสั ทาได้
• ทุกคนใช้อเี มลจากหลายคา่ ยที่เปน็ ของธุรกิจ เป็นประสบการณแ์ รกที่ใช้ของอีเมล office 365
• มีการใช้ social media และไม่เจอปัญหาการจารหสั จากโทรศัพท์ แล้วมาเปิดใช้ใน โน้ตบุ๊ก
• การใช้เฟซบุ๊ก สง่ งานกล่มุ ยงั เปน็ ประสบการณใ์ หม่ สาหรับหลายคนในห้องนี้ แตเ่ ม่ือได้ทดลองทา
กท็ าไดอ้ ย่างรวดเรว็
• การฝกึ ใช้สแกน QR-Code ทาได้อย่างรวดเรว็ เหมือนมที ักษะดา้ นนี้อยา่ งดแี ลว้
• ครสู ามารถสร้างส่ือเป็นแบบทดสอบ ไดแ้ ก่ เลือกตอบ เติมคา การจดั ลาดับ (Ranking)
โดยดูจากผลงานทส่ี ง่ ใน socail media
• การตดั ภาพ ใช้เคร่ืองมอื ท่ีหลากหลาย แนะนาการใช้ snipping tool
• การใช้ส่อื powerpoint แบบทรกิ เกอร์ เป็นความรู้ใหมส่ าหรับหลายคน ทักษะในการใช้เทมเพลต ไดแ้ ก่
การปรับข้อความ รูปภาพ การแก้ไขข้อความ การเปลีย่ นสี การเพิม่ จานวนสไลด์ การสลับเปลี่ยนสไลด์
และสามารถสง่ งานได้

อปุ กรณ์ และห้องประชุม
• ครูมโี น้ตบุ๊กและมือถือ ใชง้ านร่วมกันได้
• ครมู เี ฟซบุ๊ก สาหรับการจัดการเรียนการสอน
• สามารถเลอื กใช้ระบบไวไฟ สลับเปลี่ยนจากของตนเองและห้องนเิ ทศได้
• ระบบไวไฟในห้องท่ีใช้นิเทศติดขัดแต่มีผู้ดูแลและชว่ ยเหลอื แก้ไขระบบไดท้ ันที
• อุปกรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

ขอ้ เสนอแนะจากผู้เขา้ รับการนิเทศ
• จัดขยายผลอีกรอบ
• ได้รับความรแู้ ละประสบการณ์อย่างดีเย่ยี ม
• ได้ทราบเทคนคิ การสอนทดี่ ีมาก
• คร้ังหนา้ ขอใหค้ วามรู้ครทู งั้ วทิ ยาลยั

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 23

• อยากให้มกี ารนเิ ทศอย่างต่อเน่อื ง

• สอ่ื ทนี่ ามาอบรมมีประโยชน์ ต่อการเรียนการสอนมาก
• ควรเพม่ิ ระยะเวลาให้ยาวขึ้น
• ถ่ายทอดความรู้ไดด้ ี ใจเย็น เป็นกันเอง จะนาความรู้ที่ไปถ่ายทอดให้กับเพอ่ื นครู /นักเรียน นกั ศกึ ษา

ต่อไป
• ระยะเวลาส้นั ไปครบั เกบ็ ความร้ไู ด้ไมห่ มด
• มีนิเทศบ่อย ๆ การใช้เทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา

ภาพกจิ กรรมการนิเทศวทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งน่าน 24

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที

แนวทางสาหรับการนเิ ทศและปรับในสว่ นของผู้นิเทศในครงั้ ต่อไป
• การตดิ ตามนิเทศออนไลน์ สาหรบั กลมุ่ ผูเ้ ข้ารบั การนเิ ทศ สามารถดาเนินการไดจ้ ากข้อมูลท่ีพบ
จากการลงมือปฏบิ ตั แิ ละวสั ดุ อปุ กรณ์ สามารถจดั สง่ ใหผ้ ู้นิเทศ อยา่ งน้อย จานวน 1 ส่ือ
• การนิเทศในครัง้ ต่อไป (ถ้าม)ี สาหรบั ชว่ งเวลาส้นั ๆ สามารถต่อยอดโปรแกรมออนไลน์ค่ายอนื่ ได้
• จานวนครเู ข้ารบั การนิเทศมีจานวนเหมาะสมสาหรบั การนิเทศ
• การใหข้ ้อมูลผู้ประสานงาน ทาใหก้ ารนเิ ทศครั้งน้ี
ผูเ้ ขา้ รบั การนเิ ทศมีความพร้อมท้งั อุปกรณ์และความต้งั ใจ รู้แนวทางในการเขา้ รับการนเิ ทศ
• ผ้รู ับการนเิ ทศเป็นวัยหนุ่มสาวและวัยอื่นปนกัน แต่สามารถเรียนรู้ไดอ้ ย่างรวดเร็วและแบ่งปัน
สอนเพื่อนรว่ มงานได้
• กลุ่มผู้เข้ารบั การนิเทศครั้งนี้ ควรได้รับพัฒนาต่อ อาทิ การนเิ ทศครงั้ ต่อไป
การจดั โครงการของศูนย์สง่ เสริมฯ ภาคเหนือ

แนวทางสาหรับสถานศึกษา
• สถานศึกษา มสี อื่ ออนไลน์ และออฟไลน์ อย่างน้อย 1 ชน้ิ /ต่อคน
• เพื่อนครู สามารถสอนหรือบอกตอ่ ใหผ้ ู้ท่ีไม่ได้รับการนเิ ทศได้
• ทางสถานศึกษา สามารถขออีเมล office 365 เพิม่ เติมจากศนู ย์สง่ เสริมฯ ภาคเหนอื ได้

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 25

นิเทศติดตามการจดั การเรียนการสอน โดยบูรณาการไอซีที
วทิ ยาลัยการอาชีพสอง จ.แพร่
วันท่ี 31 มกราคม 2562

ครู
• ทุกคนมอี เี มล office 365 จากทีไ่ ดร้ ับจากศนู ย์ฯ จากโครงการของไมโครซอฟทฯ์ จากกิจกรรมของศนู ย์ฯ
การแก้ไขเปลย่ี นแปลงรหัสทาไดร้ วดเร็ว
• สว่ นใหญ่ สามารถแก้ไขรหัสไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
• มีการใช้ social media และไมเ่ จอปญั หาการจารหสั จากโทรศพั ท์ แลว้ มาเปิดใชใ้ น โน้ตบุก๊
• การใช้เฟซบุ๊ก สง่ งานกล่มุ ยงั เปน็ ประสบการณใ์ หม่ สาหรับหลายคนในห้องนี้ แตเ่ มื่อได้ทดลองทา
กท็ าไดอ้ ย่างรวดเรว็
• การฝึกใชส้ แกน QR-Code ทาไดอ้ ย่างรวดเร็ว มที ักษะอย่างดีเย่ียม
• ครูสามารถสรา้ งสื่อเปน็ แบบทดสอบ ได้แก่ เลอื กตอบ เติมคา การจดั ลาดับ (Ranking) ทาไดอ้ ย่างรวดเรว็
โดยดจู ากผลงานที่ส่งใน socail media
• การตดั ภาพ ใชเ้ คร่ืองมือทห่ี ลากหลาย แนะนาการใช้ snipping tool
• การใช้สื่อ powerpoint แบบทรกิ เกอร์ เป็นความรู้ใหม่สาหรับหลายคน ทักษะในการใชเ้ ทมเพลต ได้แก่
การปรับข้อความ รปู ภาพ การแก้ไขข้อความ การเปล่ียนสี การเพ่มิ จานวนสไลด์ การสลับเปล่ียนสไลด์
และสามารถส่งงานได้

อุปกรณ์ และห้องประชุม
• ครมู โี น้ตบุก๊ และมือถือ ใช้งานรว่ มกันได้
• ครูมีเฟซบุ๊ก สาหรับการจดั การเรยี นการสอน
• สามารถเลือกใช้ระบบไวไฟ สลับเปลีย่ นจากของตนเองและหอ้ งนเิ ทศได้
• ระบบไวไฟในห้องมีความพรอ้ มและมผี ดู้ ูแล แก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
• อปุ กรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

ข้อเสนอแนะจากผู้เข้ารับการนิเทศ
• อยากเพิม่ โปรแกรมพูดแล้วออกเปน็ ตัวอักษรเลย จะไดป้ ระหยัดเวลาทาข้อสอบ
• ควรเพ่ิมระยะเวลาการฝึกอบรม
• อยากให้ทุก ๆ คนได้อบรมและเพ่ิมเวลาในการอบรมนานขึ้น

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 26

• อยากเรยี นร้เู รื่องการทาส่อื การสอนโดยใช้โปรแกรมออฟฟศิ 365
• ช่วงระยะเวลาในการนิเทศส้ันไป
• เพ่ิมเวลาในการอบรม ส่ือบางตัวยังไม่ได้อธิบายการนาไปประยกุ ตใ์ ชง้ าน
• อยากให้นาส่อื มานาเสนอให้เยอะมากขึ้น
• มีการจดั การสื่อทหี่ ลากหลาย
• เพิม่ ระยะเวลาการให้ความร้คู รบั
• อยากให้เพมิ่ เทคนิคการใช้ส่ือหลาย ๆ รูปแบบและเพิ่มเวลานิเทศ
• อยากให้มาสอนเทคนิคการใช้สื่อ ict อยู่เรื่อย ๆ
• เป็นการอบรมท่ไี ด้ความรูม้ าก ๆ จะนาไปใช้กับนกั เรียนนักศึกษาใหเ้ กิดประโยชน์มากที่สุด
• อบรมอยา่ งต่อเนือ่ ง
• เป็นการนาเสนอความรใู้ หม่

ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศวทิ ยาลัยการอาชพี สอง 27

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที

แนวทางสาหรบั การนเิ ทศและปรับในส่วนของผู้นเิ ทศในครง้ั ตอ่ ไป
• การตดิ ตามนเิ ทศออนไลน์ สาหรบั กลุม่ ผ้เู ข้ารบั การนเิ ทศ สามารถดาเนนิ การได้จากข้อมูลที่พบ
จากการลงมือปฏิบัติและวัสดุ อุปกรณ์ สามารถจัดส่งใหผ้ ู้นิเทศ อยา่ งน้อย จานวน 1 ส่ือ
• การนิเทศในคร้ังต่อไป (ถ้าม)ี สาหรบั ช่วงเวลาสน้ั ๆ สามารถต่อยอดโปรแกรมออนไลน์คา่ ยอ่ืนได้
• จานวนครูเขา้ รบั การนเิ ทศมจี านวนเหมาะสมสาหรับการนเิ ทศและพ้นื ฐานการใช้ไอที มคี ่อนข้างสูง
• การให้ข้อมลู ผ้ปู ระสานงาน ทาใหก้ ารนเิ ทศคร้ังน้ี
ผู้เข้ารับการนิเทศมีความพร้อมท้งั อุปกรณ์และความตงั้ ใจ รู้แนวทางในการเข้ารบั การนิเทศ
• ผรู้ ับการนิเทศเป็นวัยหนุ่มสาวเรียนร้ไู ดร้ วดเรว็
• กลุม่ ผู้เข้ารับการนิเทศครง้ั น้ี ควรได้รบั พฒั นาตอ่ อาทิ การนเิ ทศครง้ั ต่อไป
การจัดโครงการของศูนย์ส่งเสริมฯ ภาคเหนือ
• การนเิ ทศครง้ั ต่อไป ควรให้ครูนาโนต้ บกุ๊ ท่ีใช้ในห้องเรียนเตรียมมาเอง

แนวทางสาหรับสถานศึกษา
• สถานศกึ ษา มสี ่อื ออนไลน์ และออฟไลน์ อย่างน้อย 1 ช้นิ /ต่อคน
• เพื่อนครู สามารถสอนหรือบอกต่อใหผ้ ู้ท่ีไม่ไดร้ ับการนิเทศได้
• ทางสถานศึกษา สามารถทาอีเมล office 365 ไดเ้ องรองรับการทางานเป็นชั้นเรยี นและของนักศึกษาเอง
• อบรมให้ความรู้ จากประสบการณ์ของครูในสถานศึกษาได้เลย

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 28

นิเทศตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอน โดยบูรณาการไอซีที
วิทยาลัยการอาชีพลอง จ.แพร่
วนั ท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2562

ครู
• ทุกคนมอี ีเมล office 365 จากที่ไดร้ ับจากศูนย์ฯ
• สว่ นใหญ่ สามารถแก้ไขรหสั ได้ และทางานบนโทรศพั ท์มือถอื โดยใช้ไวไฟจากเคร่อื งของครูเอง
• มีการใช้ social media
• การใช้เฟซบุ๊ก สง่ งานกลมุ่ ยงั เป็นประสบการณ์ใหม่ สาหรับหลายคนในห้องนี้ แตเ่ มื่อได้ทดลองทา
ก็ทาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
• การฝกึ ใชส้ แกน QR-Code ทาได้
• ครสู ามารถสรา้ งส่ือเป็นแบบทดสอบ ได้แก่ เลือกตอบ เติมคา การจดั ลาดับ (Ranking) ทาได้
โดยดูจากผลงานที่ส่งใน socail media
• การตัดภาพ ใช้เคร่ืองมอื ที่หลากหลาย แนะนาการใช้ snipping tool
• การใช้สอ่ื powerpoint แบบทรกิ เกอร์ เป็นความรู้ใหม่สาหรับหลายคน ทกั ษะในการใช้เทมเพลต ได้แก่
การปรบั ข้อความ รปู ภาพ การแกไ้ ขข้อความ การเปลย่ี นสี การเพิม่ จานวนสไลด์ การสลับเปล่ียนสไลด์
ทดลองให้ดูเปน็ ตัวอย่าง ไม่ได้ส่งงาน

อปุ กรณ์ และห้องประชุม
• ครมู ีโน้ตบุ๊กและมือถือ ใชง้ านร่วมกันได้
• ครมู ีเฟซบกุ๊ สาหรับการจดั การเรยี นการสอน
• สามารถเลอื กใชร้ ะบบไวไฟ สลับเปลี่ยนจากของตนเองและห้องนเิ ทศได้
• ระบบไวไฟในห้องไม่เสถียร
• อปุ กรณ์ไมโครโฟนและจอภาพ พร้อม

ข้อเสนอแนะจากผู้เขา้ รบั การนเิ ทศ
• อยากใหเ้ พม่ิ เวลาในการสาธติ เพม่ิ ขึ้น
• อบรมบ่อย ๆ และใหส้ ื่อทห่ี ลากหลาย
• สถานท่กี ารฝกึ ปฏบิ ตั ิยงั ไมส่ ะดวกเท่าที่ควร
• ไดร้ บั ความร้เู พ่ิมเติม

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 29

• ไดส้ ื่อทีส่ ามารถใช้สอนไดจ้ รงิ และได้ความรใู้ หม่ ๆ เพ่มิ ยงิ่ ขึ้น
• เพม่ิ ระยะเวลาการนิเทศ
• ได้ความร้เู พม่ิ เติม
• อยากให้มกี ารจดั นิเทศแบบนี้อกี
• สอนเข้าใจง่าย
• มีโอกาสอยากให้มาใหค้ วามรู้กับครูในวิทยาลัยบ่อย ๆ
• ให้มีการนิเทศอย่างสมา่ เสมอ
• ขอขอบคุณผู้นิเทศท่ไี ดอ้ บรมวิถกี ารสรา้ งแบบทดสอบออนไลน์และวธิ ีการเลือกสือท่เี หมาะสม

ภาพกจิ กรรมการนิเทศวทิ ยาลัยการอาชพี ลอง 30

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที

แนวทางสาหรบั การนิเทศและปรับในส่วนของผนู้ เิ ทศในคร้ังต่อไป
• การตดิ ตามนิเทศออนไลน์ สาหรับกลุ่มผเู้ ข้ารับการนิเทศ สามารถดาเนนิ การได้จากข้อมูลท่ีพบ
จากการลงมือปฏิบตั แิ ละวัสดุ อุปกรณ์ สามารถจัดสง่ ใหผ้ นู้ ิเทศ อย่างน้อย จานวน 1 สื่อ
• การนิเทศในครง้ั ต่อไป (ถ้ามี) สาหรับช่วงเวลาสนั้ ๆ สามารถต่อยอดโปรแกรมออนไลน์ค่ายอ่นื ได้
• จานวนครูเข้ารบั การนิเทศมีจานวนเหมาะสม
• ควรไดร้ ับการพัฒนาด้านไอทีเบอ้ื งต้น
• การให้ข้อมูลผู้ประสานงาน ทาให้การนิเทศครัง้ ต่อไปต้องให้ชัดเจนท้งั สองฝ่าย
• ผู้รับการนเิ ทศเป็นวยั หนมุ่ สาวและปน ๆ กันเรยี นรู้ได้ดีพอสมควร
• กลุม่ ผเู้ ขา้ รับการนเิ ทศครงั้ น้ี ควรได้รบั พัฒนาต่อ อาทิ การนเิ ทศคร้งั ต่อไป
การจดั โครงการของศนู ยส์ ง่ เสรมิ ฯ ภาคเหนือ
• การนิเทศคร้งั ต่อไป ควรให้ครูเตรียมโน้ตบุ๊กส่วนตัวมาใช้

แนวทางสาหรบั สถานศกึ ษา
• สถานศกึ ษา มสี ่อื ออนไลน์ และออฟไลน์ อยา่ งน้อย 1 ชิน้ /ต่อคน
• เพ่ือนครู สามารถสอนหรอื บอกต่อให้ผู้ทไ่ี ม่ได้รับการนิเทศได้
• ทางสถานศึกษา สามารถขออีเมล office 365 จากศูนยฯ์ เหนือได้

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 31

ภำคผนวก

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 32

จังหวัด โครงการนิเทศเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนอาชวี ศกึ ษา ว/ด/ป
แม่ฮ่องสอน ตารางกาหนดการนเิ ทศตดิ ตามสถานศึกษาอาชวี ศึกษา ภาคเหนอื 21 ธ.ค. 61
เชียงราย 24 ธ.ค. 61
ลำดบั สถำนศกึ ษำ 25 ธ.ค. 61
พะเยา 1 วทิ ยาลัยการอาชีพแมส่ ะเรยี ง 26 ธ.ค. 61
2 วิทยาลยั เทคนคิ กาญจนาภิเษกเชียงราย 8 ม.ค. 62
พิษณุโลก 3 วิทยาลยั การอาชีพเวยี งเชียงรุ้ง 9 ม.ค. 62
ลาปาง 4 วิทยาลัยเทคนิคเวยี งป่าเป้า 9 ม.ค. 62
สุโขทัย 5 วิทยาลัยเทคนิคดอกคาใต้ 10 ม.ค. 62
ลาปาง 6 วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา 10 ม.ค. 62
ตาก 7 วทิ ยาลัยเทคนิคสองแคว 11 ม.ค. 62
8 วิทยาลัยเทคโนโลยแี ละการจัดการ กฟผ แม่เมาะ 14 ม.ค. 62
กาแพงเพชร 9 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสุโขทัย 15 ม.ค. 62
10 วิทยาลัยการอาชีพเถิน 21 ม.ค. 62
อตุ รดติ ถ์ 11 วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก 22 ม.ค. 62
12 วิทยาลัยเทคนคิ แมส่ อด 23 ม.ค. 62
นา่ น 13 วทิ ยาลัยการอาชีพขาณุวรลักษบุรี 24 ม.ค. 62
14 วทิ ยาลัยสารพดั ช่างกาแพงเพชร 29 ม.ค. 62
แพร่ 15 วิทยาลัยการอาชีพพิชยั 30 ม.ค. 62
16 วิทยาลยั การอาชีพรัตนประสิทธว์ิ ทิ ย์ 31 ม.ค. 62
17 วิทยาลยั การอาชีพเวยี งสา 1 ก.พ. 62
18 วทิ ยาลยั สารพัดช่างนา่ น
19 วทิ ยาลยั การอาชีพสอง
20 วทิ ยาลัยการอาชีพลอง

นเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซที ี 33

รำยช่ือผไู้ ด้รบั เกียรตบิ ัตรออนไลน์

จำกกิจกรรมนิเทศติดตามการจัดการเรยี นการสอน โดยบูรณาการไอซีที
นิเทศออนไลนเ์ พมิ่ เติมจำกกำรนเิ ทศทสี่ ถำนศึกษำ
จำนวน 2 ร่นุ

ตวั อยา่ งเกียรตบิ ัตร

นิเทศตดิ ตามการจดั การเรียการสอน โดยบรู ณาการไอซีที 34

ลำดบั ชอื่ สกุล แผนก/รำยวชิ ำทีส่ อน สถำนศกึ ษำ
๑ นายวนิ ยั โพธิตา แผนกวชิ าช่างยนต์ วทิ ยาลยั การอาชพี แม่สะเรียง
๒ นายวันชัย ขจรศักดศิ์ รี แผนกวิชาชา่ งไฟฟ้ากาลงั วิทยาลัยการอาชพี แม่สะเรียง
๓ นายโยฮนั คงประหยดั แผนกช่างไฟฟ้า วทิ ยาลยั การอาชีพแม่สะเรียง
๔ นายชนาธปิ วารมนตรี วทิ ยาลัยการอาชีพแม่สะเรียง
๕ นายธนากร ชวาลาศรีสกลุ แผนกวิชาสามัญสัมพันธ์ สอนภาษาพม่า วิทยาลัยเทคนคิ แมส่ อด
๖ นายธวชั ชยั มากล้น แผนกไฟฟ้ากาลัง วทิ ยาลยั เทคนิคแม่สอด
๗ นายอชั นยั เมอื งมา คอมพิวเตอร์ธุรกจิ วทิ ยาลยั เทคนคิ แมส่ อด
๘ นายชชั วาลย์ ไชยเกดิ แผนกเทคนิคพน้ื ฐาน วิทยาลัยเทคนิคแมส่ อด
๙ นางสาวมนัสชนก ปนั เถนิ สาขาการตลาด วิทยาลัยเทคนคิ แมส่ อด
๑๐ นางสาวปยิ ธดิ า พวงบหุ งา สาขาวชิ าการโรงแรม วทิ ยาลยั เทคนคิ แมส่ อด
๑๑ นายอาทร เอกวลิ ัย สาขาวิชาช่างกลโรงงาน วิทยาลยั เทคนิคแม่สอด
๑๒ ว่าที่ร้อยตรีพงศกร อนิ ทรีย์ สาขาชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์ รายวิชาโทรศพั ท์ วทิ ยาลัยเทคนคิ แม่สอด
๑๓ นายณรงค์ เอ่ยี มสืบทับ ชา่ งโลหะการ วิทยาลัยการอาชพี บ้านตาก
๑๔ นางสาวปาริชาติ ดอกคา แผนกวชิ า สามญั สัมพันธ์ สอนรายวชิ าคณติ ศาสตร์ วทิ ยาลยั การอาชพี บ้านตาก
๑๕ นายสมรถษ์ อนิ จนั ทร์ แผนกวชิ า สามญั สมั พันธ์ สอนรายวิชวิทยาศาสตร์ วิทยาลยั การอาชพี บา้ นตาก
๑๖ นายอานาจ รอดมา แผนกวิชาช่างยนต์ สอนรายวชิ า งานวดั ละเอยี ดช่างยนต์ วทิ ยาลัยการอาชีพบ้านตาก
๑๗ นายสนั ติ คาไหว แผนกวชิ าชา่ งยนต์ วิทยาลัยการอาชพี บา้ นตาก
๑๘ นายวชั รพงศ์ ฝ้ันพยอม แผนกวชิ าโลหะการ วทิ ยาลยั การอาชพี บ้านตาก
๑๙ นางสาวธัญลักษณ์ หมโี ชติ แผนกช่างไฟฟ้ากาลัง วิทยาลยั การอาชพี บ้านตาก
๒๐ นางสาวกณั ชราพร ยกย่ิง สาขาการบญั ชี วิทยาลยั การอาชีพบา้ นตาก
๒๑ นางพินรัฎ สตี ลวรางค์ การใชค้ อมพิวเตอร์ในงานบญั ชี วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสุโขทัย
๒๒ นางรุ่งฤดี เดชฟุ้ง การบัญชีต้นทุน 1 วิทยาลัยอาชีวศึกษาสโุ ขทัย
๒๓ นางกนกวรรณ หาญกาธร บัญชี วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสุโขทัย
๒๔ นางธดิ าวรรณ เขยี วปน้ั การผลติ สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาสุโขทัย
๒๕ นางฐิตกิ าญจน์ พลบั พลาสี แผนกวชิ าการบญั ชี วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสุโขทัย
๒๖ นางปาริชาติ โปยขนุ ทด อนิ เทอร์เน็ตธุรกจิ วิทยาลยั อาชีวศึกษาสุโขทัย
๒๗ นางสาวศรีสุดา ภาคชยั แผนกวิชาการบญั ชี วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาสุโขทัย
๒๘ นางวิกานดา ละอองเดช บญั ชขี ้ันสูง 2 วิทยาลยั อาชีวศึกษาสโุ ขทัย
๒๙ นายสทิ ธิชัย วนั ทอง แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาสโุ ขทัย
๓๐ นายวุฒิศักดิ์ พยคั นอ้ ย แผนกวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสุโขทัย
๓๑ นางสาวศุภรลคั น์ นนท์แกว้ สอนวชิ ากลยทุ ธ์การตลาด วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาสุโขทัย
๓๒ นางสาวพลอยนภัส สาแกว้ สาขาวิชาภาษาไทย วทิ ยาลยั การอาชีพเถนิ

๓๓ นายสันติสุข เวทยว์ ิหารธรรม แผนกเทคนคิ พน้ื ฐาน) วิทยาลยั การอาชีพเถนิ
วิทยาลัยการอาชีพเถนิ
๓๔ นางสาวปวีณา แสนบวั บาน พลศึกษา วทิ ยาลัยการอาชพี เถนิ
สาขาการบัญชี วิทยาลัยการอาชีพเถนิ
๓๕ นางสาวกาญจนา ตาวงศ์ สาขางานบญั ชี วิทยาลยั การอาชีพเถนิ
สาขางานยานยนต์ วทิ ยาลยั การอาชพี เถนิ
๓๖ นางพรทนา มงคลกาวิล แผนกช่างยนต์ วทิ ยาลยั การอาชีพเวยี งสา
วิทยาลัยการอาชีพลอง
๓๗ ว่าที่ร้อยตรีหญิงอารยา ตนุ่ หนวิ้ สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากาลงั วทิ ยาลยั การอาชพี ลอง
แผนกวชิ าการบัญชี วิทยาลยั การอาชีพลอง
๓๘ นายอาทิตย์ วิหก แผนกวชิ าอเิ ล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลัยการอาชพี ลอง
วิทยาลยั สารพัดช่างน่าน
๓๙ นายธวัชชยั เมอื งพรหม แผนกอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วิทยาลัยการอาชพี สอง
วิทยาลยั การอาชพี สอง
๔๐ นางสาวรุ่งนภา ดวงแกว้ วิทยาลยั การอาชพี สอง
วิทยาลัยการอาชพี สอง
๔๑ นางสชุ าดา ตะริโย วทิ ยาลยั การอาชพี สอง
วิทยาลยั การอาชีพสอง
๔๒ นายจริ ะศักด์ิ แม่หล่าย วทิ ยาลัยเทคนิคสองแคว
วทิ ยาลัยเทคนคิ สองแคว
๔๓ นายอนศุ ร ทับทิม วิทยาลยั เทคนิคสองแคว
วทิ ยาลัยเทคนิคสองแคว
๔๔ นายมานพ ดหี นองไชย วิทยาลัยเทคนิคสองแคว

๔๕ นายพรพัฒน์ แขง่ ขนั

๔๖ นายวรี ะชาติ ขวดแกว้

๔๗ นางจรุ ียร์ ัตน์ ขวดแกว้

๔๘ นายสถาพร ธรรมโม

๔๙ นายปยิ ะพันธ์ ปญั ญาส่อง

๕๐ นายกฤษฎา โพธิรังสิยากร

๕๑ นายสมคั ร ศรีวงษา

๕๒ นายโสภณ ไทยอู่

๕๓ นายวัชรพล   ปานเพ็ชร์

๕๔ นายณฐั วุฒิ หงษา

๕๕ นายทินกร ตะ๊ แน่ว

ลำดับ ชอื่ - สกุล แผนก/รำยวชิ ำท่ีสอน สถำนศกึ ษำ
แผนกวิชาชา่ งยนต์ วทิ ยาลยั การอาชีพแม่สะเรียง
1 นายวนิ ยั โพธติ า แผนกวิชาชา่ งไฟฟ้ากาลงั วทิ ยาลยั การอาชีพแม่สะเรียง
แผนกชา่ งไฟฟ้า วทิ ยาลัยการอาชพี แม่สะเรียง
2 นายวันชยั ขจรศักดิศ์ รี วิทยาลยั การอาชพี แม่สะเรียง
แผนกวชิ าสามญั สมั พันธ์ สอนภาษาพมา่ วทิ ยาลยั เทคนคิ แมส่ อด
3 นายโยฮัน คงประหยดั แผนกไฟฟ้ากาลงั วิทยาลยั เทคนิคแมส่ อด
คอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลยั เทคนคิ แม่สอด
4 นายชนาธิป วารมนตรี แผนกเทคนิคพ้นื ฐาน วิทยาลัยเทคนิคแม่สอด
สาขาการตลาด วทิ ยาลัยเทคนคิ แมส่ อด
5 นายธนากร ชวาลาศรีสกลุ สาขาวิชาการโรงแรม วิทยาลัยเทคนคิ แม่สอด
สาขาวิชาชา่ งกลโรงงาน วทิ ยาลยั เทคนคิ แม่สอด
6 นายธวัชชัย มากลน้ สาขาชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รายวิชาโทรศัพท์ วทิ ยาลัยเทคนิคแมส่ อด
ช่างโลหะการ วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก
7 นายอชั นยั เมืองมา แผนกวชิ า สามญั สมั พันธ์ สอนรายวชิ าคณิตศาสตร์ วิทยาลยั การอาชพี บ้านตาก
แผนกวชิ า สามญั สมั พันธ์ สอนรายวิชวทิ ยาศาสตร์ วิทยาลยั การอาชพี บ้านตาก
8 นายชัชวาลย์ ไชยเกดิ แผนกวชิ าช่างยนต์ สอนรายวชิ า งานวัดละเอยี ดช่างยนต์ วิทยาลยั การอาชพี บา้ นตาก
แผนกวิชาชา่ งยนต์ วิทยาลัยการอาชพี บา้ นตาก
9 นางสาวมนัสชนก ปันเถนิ แผนกวชิ าโลหะการ วทิ ยาลัยการอาชีพบา้ นตาก
แผนกช่างไฟฟ้ากาลงั วิทยาลัยการอาชีพบา้ นตาก
10 นางสาวปยิ ธิดา พวงบหุ งา สาขาการบัญชี วิทยาลัยการอาชพี บา้ นตาก
การใช้คอมพิวเตอร์ในงานบญั ชี วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาสุโขทัย
11 นายอาทร เอกวลิ ยั การบญั ชตี ้นทุน 1 วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสุโขทัย
บัญชี วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย
12 วา่ ทีร่ ้อยตรีพงศกร อนิ ทรีย์ การผลติ ส่ือสิ่งพิมพ์ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย
แผนกวชิ าการบัญชี วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย
13 นายณรงค์ เอย่ี มสบื ทับ อนิ เทอร์เน็ตธรุ กจิ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย
แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย
14 นางสาวปาริชาติ ดอกคา บญั ชขี ั้นสูง 2 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย
แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลัยอาชีวศึกษาสโุ ขทัย
15 นายสมรถษ์ อนิ จนั ทร์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กจิ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสโุ ขทัย
สอนวิชากลยทุ ธ์การตลาด วิทยาลัยอาชวี ศึกษาสุโขทัย
16 นายอานาจ รอดมา สาขาวิชาภาษาไทย วทิ ยาลยั การอาชีพเถนิ

17 นายสันติ คาไหว

18 นายวัชรพงศ์ ฝ้ันพยอม

19 นางสาวธญั ลกั ษณ์ หมีโชติ

20 นางสาวกณั ชราพร ยกย่ิง

21 นางพินรัฎ สีตลวรางค์

22 นางรุ่งฤดี เดชฟุ้ง

23 นางกนกวรรณ หาญกาธร

24 นางธดิ าวรรณ เขยี วปน้ั

25 นางฐติ กิ าญจน์ พลบั พลาสี

26 นางปาริชาติ โปยขนุ ทด

27 นางสาวศรีสดุ า ภาคชัย

28 นางวิกานดา ละอองเดช

29 นายสิทธชิ ยั วันทอง

30 นายวุฒิศักดิ์ พยคั น้อย

31 นางสาวศภุ รลคั น์ นนท์แกว้

32 นางสาวพลอยนภัส สาแกว้

33 นายสันตสิ ขุ เวทยว์ ิหารธรรม แผนกเทคนิคพื้นฐาน) วิทยาลยั การอาชีพเถนิ
วิทยาลยั การอาชพี เถนิ
34 นางสาวปวีณา แสนบวั บาน พลศกึ ษา วทิ ยาลัยการอาชพี เถนิ
แผนกไฟฟ้ากาลงั วทิ ยาลยั การอาชพี เถนิ
35 นางสาวกาญจนา ตาวงศ์ แผนกวิชาชา่ งไฟฟ้ากาลงั วิทยาลยั การอาชีพเถนิ
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากาลัง วิทยาลยั การอาชีพเถนิ
36 นางพรทนา มงคลกาวลิ วทิ ยาลัยการอาชีพเวียงสา
แผนกวชิ าการบัญชี วิทยาลัยการอาชพี เวยี งสา
37 ว่าทร่ี ้อยตรีหญงิ อารยา ตุ่นหนว้ิ วิทยาลยั การอาชพี เวยี งสา
สาขาการบญั ชี วิทยาลยั การอาชพี เวยี งสา
38 นายอาทิตย์ วหิ ก สาขางานบญั ชี วิทยาลัยการอาชีพเวียงสา
สาขางานยานยนต์ วทิ ยาลัยการอาชีพเวียงสา
39 นายธวชั ชัย เมืองพรหม แผนกช่างยนต์ วทิ ยาลัยการอาชพี เวียงสา
วทิ ยาลัยการอาชพี เวียงสา
40 นายสทิ ธิโชค ธรรมสละ วทิ ยาลัยการอาชพี เวียงสา
วิทยาลยั การอาชีพเวียงสา
41 นางสาวธนาภรณ์ กนุ ดี วทิ ยาลัยการอาชีพเวียงสา
วทิ ยาลยั การอาชีพเวียงสา
42 นายฤทธิกรณ์ เขื่อนเป็ก วิทยาลยั การอาชพี เวยี งสา
วทิ ยาลัยการอาชีพเวยี งสา
43 นายณรงคช์ ัย บญุ เทพ วทิ ยาลัยการอาชพี เวยี งสา
วิทยาลยั การอาชีพเวยี งสา
44 นางสาวจงจนิ ไชยโนฤทธิ์ วทิ ยาลัยการอาชพี เวยี งสา
วิทยาลยั การอาชีพเวยี งสา
45 นายนพพล คาเผอื วิทยาลยั การอาชีพเวียงสา
วทิ ยาลัยการอาชีพเวียงสา
46 นางสริ ินภสั จมุ ปา วิทยาลยั การอาชพี เวยี งสา
วทิ ยาลยั การอาชีพเวยี งสา
47 นางสาวทรัพยอ์ นนั ต์ อนั ถามล วทิ ยาลยั การอาชีพเวยี งสา
วิทยาลยั การอาชีพลอง
48 นายเสนีย์ เทพสุคนธ์ วิทยาลัยการอาชพี ลอง
วิทยาลัยการอาชีพลอง
49 นายอศั วิน มีเดช วทิ ยาลัยการอาชีพลอง

50 นายวฒุ ิกร ปอ้ งตัน

51 นายอรรถชัย ทิศหน่อ

52 นายจริ วฒั น์ จกั รปิง

53 นายกติ ิกร กองแกว้

54 นางสาวจรวยพร จาปาปัน

55 นายยทุ ธนา คาปาตนั

56 นายธีรวฒั น์ ไชยสมทิพย์

57 นายสุวิทย์ แกว้ บญุ เรือง

58 นายธรี วฒั น์ สมรักษ์

59 นายฉตั รชัย ขระเขื่อน

60 นายอชั ฌาวนิ ทร์ สายะพงษ์

61 นางสาวศิรินทิพย์ โสภา

62 นางสาวรุ่งนภา ดวงแกว้

63 นางสชุ าดา ตะริโย

64 นายจริ ะศกั ด์ิ แม่หลา่ ย

65 นายอนศุ ร ทับทิม

66 นายมานพ ดหี นองไชย สาขาวชิ าช่างไฟฟ้ากาลงั วทิ ยาลยั สารพัดช่างนา่ น
67 นางสาวศริ ิเพ็ญ ทองปนั้ แผนกวชิ าการบัญชี วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งนา่ น
68 นางสาวพิมพ์ทนาถ ณ น่าน แผนกวชิ าอเิ ล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลยั สารพัดช่างน่าน
69 นายชนิ เสนา วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งน่าน
70 นายปยิ ะนนั ท์ บญุ เรือง แผนกเทคโนโลยสี ารสนเทศ วทิ ยาลัยสารพัดชา่ งนา่ น
71 นางจงจนิ ต์ ค่ายบรุ ี แผนกอเิ ล็กทรอนิกส์ วทิ ยาลยั สารพัดชา่ งนา่ น
72 นายพรพัฒน์ แขง่ ขนั วิทยาลยั การอาชีพสอง
73 นายวรี ะชาติ ขวดแกว้ วทิ ยาลัยการอาชพี สอง
74 นางจรุ ียร์ ัตน์ ขวดแกว้ วิทยาลัยการอาชพี สอง
75 นายสถาพร ธรรมโม วทิ ยาลัยการอาชพี สอง
76 นายปยิ ะพันธ์ ปัญญาสอ่ ง วิทยาลยั การอาชีพสอง
77 นายกฤษฎา โพธิรังสิยากร วทิ ยาลัยการอาชพี สอง
78 นายวฒุ ิชัย คามีสว่าง วิทยาลยั การอาชพี สอง
79 นายสมคั ร ศรีวงษา วทิ ยาลัยเทคนิคสองแคว
80 นายโสภณ ไทยอู่ วทิ ยาลัยเทคนิคสองแคว
81 นายวชั รพล   ปานเพ็ชร์ วทิ ยาลยั เทคนิคสองแคว
82 นายณัฐวุฒิ หงษา วทิ ยาลยั เทคนคิ สองแคว
83 นายทินกร ตะ๊ แนว่ วิทยาลัยเทคนคิ สองแคว

ศูนยส์ ่งเสริมและพฒั นอาชีวศึกษาภาคเหนือ


Click to View FlipBook Version