The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา 2 Final

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by graphiitii.space, 2021-08-02 05:54:51

เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา 2 Final

เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา 2 Final

รูปท่ี 3.10-11 รปู ดานและรูปตดั สถานีขนาดเลก็
3. ผังพื้นที่ใชสอยสถานีขนาดกลาง ประกอบดวยชานชาลาแบบดานขาง (Siding Platform) ยาว 210
เมตร กวางชานละ 4 เมตร พรอมทางขา มที่มีลิฟต 1 จุด และไมมีลิฟตอีก 1 จุด ทางดา นซาย-ขวา รวมพื้นที่กอสราง
ท้ังหมดประมาณ 3,200 ตารางเมตร ประกอบดวยอาคารสถานี 675 ตารางเมตร และชานชาลาพรอมทางขา ม 2,525
ตารางเมตร

รูปที่ 3.10-12 องคประกอบยานสถานขี องสถานีขนาดกลาง 45

งานศกึ ษาสำรวจ ออกแบบรายละเอยี ดและจัดทำรายงานผลกระทบสง่ิ แวดลอ ม
เพอ่ื เตรยี มการกอ สรา งทางรถไฟ สายแมส อด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

รูปท่ี 3.10-13 ผังบรเิ วณและผงั พืน้ สถานขี นาดกลาง

รปู ท่ี 3.10-14 พน้ื ที่ใชสอย 750 ตารางเมตร สถานขี นาดกลาง 46

งานศึกษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจัดทำรายงานผลกระทบสิง่ แวดลอ ม
เพ่ือเตรยี มการกอสรา งทางรถไฟ สายแมส อด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

รูปที่ 3.10-15 รปู ดา นและรูปตดั สถานีขนาดกลาง
4. ผังพื้นที่ใชสอยสถานีขนาดใหญ ประกอบดวยชานชาลาแบบดานขาง (Siding Platform) ยาว 350
เมตร กวา งชานละ 4-7 เมตร พรอ มทางขามท่มี ลี ฟิ ต 1 จุด และไมมลี ฟิ ตอ กี 1 จดุ ทางดา นซา ย-ขวา รวมพ้นื ทก่ี อสราง
ทั้งหมดประมาณ 7,950 ตารางเมตร ประกอบดวยอาคารสถานี 1,400 ตารางเมตร และชานชาลาพรอมทางขาม
6,550 ตารางเมตร

รปู ที่ 3.10-16 องคป ระกอบยา นสถานีของสถานีขนาดกลาง 47

งานศกึ ษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม
เพื่อเตรียมการกอ สรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

รปู ที่ 3.10-17 ผงั บรเิ วณสถานีขนาดใหญ

รปู ที่ 3.10-18 พนื้ ท่ีใชสอยอาคารสถานีรวม 1,700 ตารางเมตร สถานขี นาดใหญ

งานศึกษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอ ม 48
เพือ่ เตรียมการกอสรา งทางรถไฟ สายแมส อด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

รูปท่ี 3.10-19 (ก) รปู ดานและรปู ตดั สถานีขนาดใหญ

รูปท่ี 3.10-19 (ข) รปู ดานและรปู ตัด สถานขี นาดใหญ 49

งานศกึ ษาสำรวจ ออกแบบรายละเอยี ดและจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอ ม
เพอ่ื เตรยี มการกอ สรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

รูปท่ี 3.10-19 (ค) รปู ดา นและรูปตดั สถานีขนาดใหญ

รูปที่ 3.10-20 ทศั นียภาพของสถานรี ถไฟแบบขนาดตา ง ๆ 50

งานศึกษาสำรวจ ออกแบบรายละเอยี ดและจดั ทำรายงานผลกระทบสิง่ แวดลอ ม
เพ่อื เตรียมการกอสรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

(5) ลกั ษณะชานชาลา
1. รูปแบบชานชาลา เปนสวนรองรับผูโดยสารที่เตรียม ขึ้น-ลง รถไฟ รวมถึงเปนพื้นที่สำหรับทางขึ้น-ลง ในการ
เช่ือมตอ ไปยังชานชาลาอนื่ ๆ หากมมี ากกวา 2 ชานชาลา ทัง้ นี้ในการออกแบบกลุมที่ปรกึ ษาฯ จะพิจารณาถงึ ความสอดคลอง
กบั งานระบบเดินรถ โดยท่ัวไปมรี ูปแบบดงั น้ี
1.1 ชานชาลาดานขาง (Siding Platform) เปนรูปแบบชานชาลาของสถานี
รถไฟซ่งึ มี 2 ชานชาลา ตงั้ อยูตรงขา มกนั โดยมรี ถไฟเปน ตัวแบง การจดั วางชานชาลา
รูปแบบนี้ หากเปนชานชาลาสูง จะไมสามารถเดินขามรางรถไฟไดโดยตรง ตองอาศัย
สะพานลอย หรอื ทางลอด เปนตวั เช่ือมระหวา งชานชาลา
1.2 ชานชาลากลาง (Island Platform) เปนรปู แบบชานชาลาสถานรี ถไฟซงึ่
มีชานชาลาเดียว ตั้งอยูตรงกลาง โดยมีรางรถไฟขนาบอยูสองขาง การกอสรางชาน
ชาลาลักษณะนี้คอนขางยุงยาก เนื่องจากตองใชรางรถไฟคูเบี่ยงออกจากกัน แตมี
ประสิทธิภาพสูง เพราะสะดวกในการเปลี่ยนขบวนรถ หรือเปลี่ยนเสนทางของ
ผโู ดยสาร
2. ขนาดชานชาลา การออกแบบความกวางชานชาลา
มุงเนน เรื่องความปลอดภัยตอผูใช ตามมาตรฐาน NFPA 130 (ฉบบั
ปจจุบัน) โดยหลักแลวบนชานชาลาจะมีบันได ลิฟต บันไดเลื่อน
เมื่อรวมความกวางตามมาตรฐานของแตละสวนบวกกับมาตรฐาน
การออกแบบ ชานชาลาจะตองมีความกวา งไมนอ ยกวา 2 เมตร
3. ความสูงชานชาลา สำหรับระดับความสูงของชาน
ชาลาที่ยังไมไดขอยุติที่แนชัดวาจะเปน 1.10 ม. หรือ 0.50 ม. นน้ั
ไมวา จะมีขอ สรปุ ไปในทศิ ทางใด ในโครงการน้ที ป่ี รกึ ษาฯ จะใชแนวทางการออกแบบความสงู ชานชาลาท่ี +1.10 เมตร และจะ
ออกแบบใหมสี ่งิ อำนวนความสะดวกท่ีจำเปน ปลอดภยั ในการใชงาน และดูแลบำรุงรกั ษาไดง า ย เชน ทางขา ม ทางลาด บนั ได
ลฟิ ต หรอื บันไดเลอื่ น (หากจำเปน ตองม)ี
หลงั คาชานชาลาเนน ความเรียบงาย ตอบสนองการใชงานสำหรับพ้นื ท่สี าธารณะ โดยมีระยะย่นื ของหลังคาท่ี
สามารถกันแดดกันฝน ระบายน้ำไดดี เลือกใชวัสดุที่ทนทานตอ การใชงาน บำรุงดูแลรักษางายสามารถหาทดแทนได
ภายในทองถ่ิน มรี าคาทเ่ี หมาะสม

(6) ลักษณะทางขามชานชาลา
ทางขามชานชาลามีทั้งหมด 2 รูปแบบ แบงตามชนิดช้ันของสถานี ที่มีจำนวนของชานชาลา ความยาว และ
แนวรางรถไฟทแ่ี ตกตา งกันออกไปตามลักษณะการใชง าน ไดแ ก
1. ทางขามชานชาลาสำหรับที่หยุดรถ มีชานชาลา 2 ฝง สำหรับขาขึ้นและขาลอง ชานชาลายาว 210
เมตร โดยทุกแหงจะมที างเชอ่ื มท่กี ลางชานชาลา 1 จดุ ดังน้ี
1.1 บันไดสำหรับบุคคลทั่วไปและผูพิการหรือทุพพลภาพ 2 บันได บันไดแตละชวงมีลูกตั้งสูงไมเกิน 18
เซนติเมตร โดยผลรวมของลกู ตงั้ กับลกู นอนไมน อยกวา 43 เซนติเมตรและไมเ กนิ 48 เซนติเมตร
1.2 ไมมลี ิฟตโ ดยสาร เพื่องา ยตอการดูแลรักษา
2. ทางขามชานชาลาสำหรับสถานีขนาดเล็ก สถานีขนาดกลาง และสถานีขนาดใหญ มีชานชาลา 2 ฝง
สำหรบั ขาขึน้ และขาลอ ง ชานชาลายาวฝง ละ 210 และ 350 เมตรตามลำดับ โดยทัง้ 2 ชานชาลาจะมีทางเชือ่ ม 2 จุด
ตัง้ หา งจากจุดกึ่งกลางสถานขี า งละประมาณ 40-50 เมตร แตล ะฝงชานชาลาจะมบี นั ไดสำหรับบุคคลท่วั ไปและผพู กิ าร
หรอื ทพุ พลภาพ 2 บนั ได บนั ไดแตละชว งมลี กู ต้งั สงู ไมเ กิน 18 เซนติเมตร โดยผลรวมของลกู ตั้งกบั ลูกนอนไมนอยกวา
43 เซนตเิ มตรและไมเกนิ 48 เซนติเมตร และมีลฟิ ตโ ดยสารท่มี ีขนาดของหองลิฟตไมนอยกวา 1.40x1.60 เมตร และ
มีชองกระจกใสนริ ภยั ทสี่ ามารถมองเห็นระหวางภายนอกและภายในได เพอื่ รองรับผพู กิ ารและผูเดนิ ทางท่ีมีสัมภาระ

งานศกึ ษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจัดทำรายงานผลกระทบสิง่ แวดลอ ม 51
เพ่ือเตรียมการกอสรา งทางรถไฟ สายแมส อด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

รูปท่ี 3.10-21 องคประกอบของทางขา มชานชาลา
4. งานประมาณราคาคากอสราง

ที่ปรึกษาไดประมาณราคาคากอสรางของโครงการโดยมีแนวทางวิธีการดำเนินงานตามหลักเกณฑการ
คำนวณราคากลางงานกอสราง ที่ไดรับความเห็นชอบตามมติ ครม. วันที่ 13 มีนาคม 2555 ปรับปรุง 15 มีนาคม
2560 ประกอบดวย

1. หลกั เกณฑร าคากลางประกอบดวย
• หลกั เกณฑราคากลางงานอาคาร
• หลกั เกณฑร าคากลางงานทาง
• หลักเกณฑราคากลางงานสะพานและทอเหลีย่ ม
• บัญชคี า แรง/คา ดำเนินการ 19 ตลุ าคม 2560
• อัตราดอกเบย้ี 5%
• ราคานำ้ มันคดิ ราคาปจจบุ นั ณ.วันทด่ี ำเนินการประเมินราคา
• ประกาศใชราคาคา แรงงานขัน้ ตำ่ ณ ปจ จบุ ัน (ฉบับที่ 10 1 มกราคม 2563)

2. การคำนวณคา งานตนทุน (Direct Cost)
การประมาณราคาคากอสรางในสวนที่เกี่ยวของกับการคำนวณหาคางานตนทุน หรือคาใชจายตรง (Direct

Cost) ของงานกอสรางโครงการ โดยใชวิธีการถอดแบบ คำนวณราคาคากอสรา ง เพื่อสำรวจรายการและปรมิ าณงาน
วัสดุ และแรงงาน ที่ตองใชในโครงการ แลวนำมาคำนวณกับราคาวัสดุกอสราง คาขนสงวัสดุกอสราง คาแรงงาน คา
ดำเนินการ และคาเสอ่ื มราคาเคร่ืองจกั ร

3. คา ใชจายในการดำเนินงานกอสราง (Indirect Cost)
คา ใชจายในการดำเนินงานกอสราง (Indirect Cost) ในงานกอ สรา งของทางราชการ จำแนกไดเปน 4 หมวด

ไดแก คาอำนวยการ คาดอกเบี้ย กำไร และภาษี และเพื่อความสะดวกและคลองตัวตอการนำไปใชปฏิบัติงาน จึงได
กำหนดคาใชจา ยทง้ั 4 หมวดดงั กลาว ไวในรูปของตาราง เรยี กวา ตาราง Factor F

งานศึกษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจดั ทำรายงานผลกระทบสงิ่ แวดลอ ม 52
เพอื่ เตรียมการกอสรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

ตารางที่ 4-1 ประมาณราคาคากอสรา งโครงการเบอื้ งตน

รายการ คางานตนทนุ Factot F คา งานตนทุน หมายเหตุ

LAND AND ACQUISITION 2,679,556,200.00 1.0000 2,679,556,200.00 เงื่อนไขตารางใช Factor F 10%
GENERAL REQUIREMENTS 623,355,015.66 1.0000 623,355,015.66 - เงินลวงหนา จาย 10%
EARTHWORKS FOR RAILWAYS 1.1451 - เงินประกนั ผลงานหกั 5%
ROADWORKS FOR OVERPASS, UNDERPASS AND STATION ACCESS ROADS 6,301,974,614.10 1.1451 7,216,391,130.61 - ดอกเบย้ี เงินกู 7%
STRUCTURES WORKS 1,514,942,190.00 1.1473 1,734,760,301.77 - ภาษมี ลู คา เพ่มิ (VAT)
BUILDING (STATION AND ASSOCIATED FACILITIES) 34,721,034,555.80 1.1761 39,835,442,945.87
DRAINAGE SYSTEMS 3,525,700,000.00 1.1451 4,146,575,770.00
UTILITIES 1.1451
TRACKWORKS 456,645,360.00 1.1451 522,904,601.74
TUNNELING WORKS 340,000,000.00 1.1473 389,334,000.00
SIGNALLING AND TELECOMMUNICATION WORKS 7,820,620,078.40 1.1451 8,955,392,051.77
PROVISIONAL WORKS 35,488,002,187.92 1.0000 40,715,384,910.20
CONSULTANTS 2,550,000,000.00 1.0000 2,920,005,000.00
1,530,000,000.00 1,530,000,000.00
รวมคา กอสรา ง 2,857,238,643.19 2,857,238,643.19
คดิ เปนเงินกอ สรางประมาณ
114,126,340,570.81
114,126,340,000.00

5. การดำเนินการตามพระราชบญั ญตั วิ า ดว ยการเวนคนื และการไดม าซง่ึ
อสังหารมิ ทรพั ย พ.ศ.2562

5.1 การตราพระราชกฤษฎกี ากำหนดเขตที่ดินท่จี ะเวนคืน

การดำเนินการดานการสำรวจเพื่อการเวนคืนและจัดกรรมสิทธิ์ในโครงการ ดำเนินการโดยตามพระราชบัญญัติวา
ดวยการเวนคืนและการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย พ.ศ. 2562 ที่ออกมาโดยเหตุผลและความจำเปนในการใหรัฐไดมาซึ่ง
อสังหาริมทรัพยเพื่อการอันเปนสาธารณูปโภค การปองกันประเทศ การไดมาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ หรือเพื่อประโยชน
สาธารณะอยางอ่นื รวมตลอดท้งั เพื่อนำอสังหาริมทรัพยท่ีเวนคืนไปชดเชยใหเกดิ ความเปน ธรรมแกเจาของท่ีถูกเวนคืน
และใหเจาหนาที่เขาไปในอสังหาริมทรัพยเพื่อประโยชนในการสำรวจและรังวัดได ซึ่งการตราพระราชบัญญัติน้ี
สอดคลอ งกับเงอ่ื นไขทบี่ ัญญัตไิ วใ นมาตรา 26 ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย โดยสรปุ สาระสำคญั ในแนวทาง
ดำเนนิ การสำหรับ “การเวนคืนเพื่อใหไ ดมาซงึ่ ท่ีดินโดยความจำเปนแหงรฐั ” ดงั ระบใุ น

มาตรา 7 เมื่อรัฐมีความจำเปนที่จะตองไดมาซึ่งที่ดินเพื่อการอันจำเปนในกิจการสาธารณูปโภค การปองกัน
ประเทศ การไดมาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ หรือเพื่อประโยชนสาธารณะอยางอื่น หรือเพื่อนำไปชดเชยใหเกิดความเปนธรรมแก
เจาของที่ดินที่ถูกเวนคืน ทั้งนี้ ประโยชนสาธารณะตามพระราชบัญญัติ หมายความรวมถึง การผังเมือง การสงเสริมและ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การพัฒนาการเกษตร การปฏิรูปที่ดิน การจัดรูปที่ดิน การอนุรักษโบราณสถาน และแหลง
ทางประวตั ศิ าสตร การอุตสาหกรรม และการพฒั นาเขตเศรษฐกิจพิเศษ

เมือ่ มคี วามจำเปน ตอ งเวนคืนทด่ี ินตามมาตรา 7 และจำเปนตองสำรวจเพื่อใหทราบถงึ ทด่ี นิ ทตี่ องไดม าโดยแนช ดั ใน
พระราชบญั ญตั วิ าดว ยการเวนคืนและการไดม าซึ่งอสงั หารมิ ทรัพย พ.ศ. 2562 ไดก ำหนดใน มาตรา 8 เมอ่ื มคี วามจำเปน ตอ ง
เวนคืนทดี่ นิ ตามมาตรา 7 และจำเปน ตอ งสำรวจ เพ่ือใหท ราบถึงทดี่ นิ ทต่ี องไดม าโดยแนช ัด ใหต ราพระราชกฤษฎีกากำหนด
เขตที่ดินที่จะเวนคืน โดยในพระราชกฤษฎีกาดงั กลา วอยา งนอ ยตองกำหนดรายละเอียด ดังตอไปนี้

งานศกึ ษาสำรวจ ออกแบบรายละเอยี ดและจัดทำรายงานผลกระทบส่ิงแวดลอม 53
เพือ่ เตรยี มการกอสรา งทางรถไฟ สายแมส อด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

(1) วัตถุประสงคแ หงการเวนคืน
(2) ระยะเวลาการใชบงั คบั พระราชกฤษฎีกา
(3) แนวเขตทดี่ ินท่ีจะเวนคืนเทา ที่จำเปน
(4) ระยะเวลาการเร่ิมตน เขา สำรวจ
(5) เจา หนาท่ีเวนคนื
(6) แผนท่ีหรือแผนผงั แสดงแนวเขตที่ดนิ ทจ่ี ะเวนคืน
ทั้งนี้ พระราชบัญญัติวาดวยการเวนคืนและการไดมาซึ่งอสังหาริมทรัพย พ.ศ. 2562 ยังไดบัญญัติถึงการ
เผยแพรพระราชกฤษฎีกาใหประชาชนทราบเปนการทั่วไป ซ่งึ ใน มาตรา 11 เจาหนา ทีต่ องเผยแพรพ ระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8
ใหประชาชนทราบเปนการทว่ั ไป โดยใหปด ประกาศไวโดยเปด เผย ณ สถานท่ี ดังตอ ไปนีด้ วย
(1) ท่ที ำการของเจาหนา ท่ี
(2) ศาลาวาการกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขต ศาลากลางจังหวัด ที่วาการอำเภอหรือ กิ่งอำเภอ ที่ทำการ
กำนนั ทที่ ำการผูใหญบาน และท่ีทำการขององคก รปกครองสวนทองถิน่ ท้งั น้ี เฉพาะในทองทีท่ ่ีอสงั หารมิ ทรัพยนัน้ ต้งั อยู
(3) สำนักงานทดี่ ินจงั หวดั และสำนักงานทด่ี ินอำเภอในทองท่ีท่อี สังหารมิ ทรัพยน ั้นตั้งอยู
5.2 การสำรวจเพอ่ื ใหท ราบเกีย่ วกับอสงั หาริมทรพั ย
ในการดำเนินงานสำรวจเพื่อใหทราบเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย พระราชบัญญัติวาดวยการเวนคืนและการไดมาซ่ึง
อสังหาริมทรัพย พ.ศ. 2562 กำหนดแนวทางปฏิบัติของเจาหนาที่ตาม มาตรา 12 ภายในกำหนดระยะเวลาการใชบังคับ
พระราชกฤษฎีกา พนักงานเจาหนาที่มีสิทธิ เขาไปในที่ดินและอสังหาริมทรัพยที่อยูภายในแนวเขตที่ดินที่จะเวนคืน และ
กระทำการเทาท่ีจำเปน เพื่อทำการสำรวจใหท ราบขอเทจ็ จรงิ เกีย่ วกบั อสังหาริมทรพั ย แตต องแจง เปน หนังสอื ใหเจาของ
ทราบถึง กิจการที่จะกระทำลวงหนาไมนอยกวาสิบหาวันกอนวันเขาทำการสำรวจ และตองระมัดระวังมิใหเกิดความเสียหาย
แกเจาของ ในกรณีที่เกิดความเสยี หาย เจาของชอบที่จะไดรับเงินคาชดเชยสำหรับความเสียหายที่เกิดขึน้ จากกิจการที่
กระทำนน้ั โดยกำหนดระยะเวลาการเริ่มตนเขา สำรวจไมเ กนิ หนึง่ รอ ยแปดสบิ วันนับแตว ันที่พระราชกฤษฎกี าตามมาตรา
8 ใชบังคบั ตามที่บัญญัติใน มาตรา 13 นอกจากนี้ ยังไดกำหนดใน มาตรา 14 ใหพนักงานเจาหนาที่ท่ีเขา ทำการสำรวจตาม
มาตรา 12 ช้ีแจง เผยแพรข อ มลู และสรางความเขาใจเกี่ยวกับวตั ถปุ ระสงคแหงการเวนคืนใหป ระชาชนทราบ พรอมท้ัง
รับฟงความคิดเห็น ของประชาชนเพื่อนำมาประกอบการพิจารณาดวย ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่เจาหนาที่
ประกาศกำหนด
5.3 แนวทางการเขา ครอบครอง ดแู ล และใชประโยชนท่ดี นิ กรณีที่ดินทตี่ อ งเวนคืนเปน ที่ดนิ ของรัฐ
มาตรา 17 เวนแตมีกฎหมายเฉพาะกำหนดไวเปนอยางอื่น เมื่อพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 ใชบังคับแลว ถาใน
แนวเขตทีด่ นิ ทีจ่ ะเวนคนื นน้ั
(1) มที ีด่ ินแปลงใดหรือสวนใดทีจ่ ำเปนตอ งใชต ามวัตถปุ ระสงคแ หงการเวนคนื เปนสาธารณสมบตั ขิ องแผนดนิ
สำหรับพลเมืองใชรว มกัน แตพ ลเมืองเลิกใชป ระโยชนใ นทด่ี ินนนั้ หรอื ไดเปลี่ยนสภาพจากการเปนที่ดนิ สำหรับพลเมือง
ใชร วมกนั เม่ือกระทรวงมหาดไทยไดใหความยินยอมแลว หรือพลเมือง ยังใชป ระโยชนในทด่ี นิ นน้ั อยหู รือยังไมเปลี่ยนสภาพ
จากการเปนที่ดินสำหรับพลเมืองใชรวมกัน เมื่อกระทรวงมหาดไทยไดใหความยินยอมตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี
กระทรวงมหาดไทยกำหนด โดยรับฟงความคดิ เห็นของประชาชนดว ย และเจาหนา ท่ีไดจ ัดทีด่ ินแปลงอ่นื ใหพลเมืองใชร วมกนั
แทน ตามทกี่ ระทรวงมหาดไทยกำหนดแลว ใหพ ระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 มีผลเปนการถอนสภาพการเปนสาธารณสมบัติ
ของแผนดินสำหรับที่ดินเฉพาะแปลงหรือสวนที่จำเปนตองใชตามวัตถุประสงคแหงการเวนคืนดังกลาว โดยมิตอง

งานศึกษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจดั ทำรายงานผลกระทบสง่ิ แวดลอ ม 54
เพื่อเตรียมการกอ สรา งทางรถไฟ สายแมส อด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

ดำเนินการถอนสภาพหรือโอนตามประมวลกฎหมายท่ีดนิ และใหเจาหนา ที่ มอี ำนาจเขาครอบครอง ดูแล และใชประโยชน
ในท่ีดนิ น้ันได

(2) มที ีด่ นิ แปลงใดหรือสว นใดทจ่ี ำเปนตองใชตามวตั ถปุ ระสงคแ หงการเวนคืนเปน สาธารณสมบัตขิ องแผน ดิน
ใชเพื่อประโยชนของแผนดินโดยเฉพาะ หรือท่ีดินทไี่ ดสงวนหวงหามไวต ามความตอ งการของทางราชการ เมอ่ื กระทรวงการคลังให
ความยินยอมหรือเจาหนาที่ผูมีอำนาจในการหวงหาม ใหความยินยอม และไดรับความยินยอมจากหนวยงานของรัฐท่ี
ครอบครองหรือใชประโยชนในทีด่ ินนั้น อยูในวนั ทีพ่ ระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 ใชบังคบั ใหพระราชกฤษฎกี ากำหนด
เขตที่ดินที่จะเวนคนื น้ันมีผลเปนการถอนสภาพการเปนสาธารณสมบัติของแผนดินหรือถอนการหวงหามสำหรับที่ดิน
เฉพาะแปลง หรือสวนที่จำเปนตองใชตามวัตถุประสงคแหงการเวนคืนดงั กลาว โดยมิตองดำเนินการถอนสภาพ หรือ
ถอนการหวงหามตามกฎหมายวาดวยที่ราชพัสดุ หรือตามประมวลกฎหมายที่ดิน แลวแตกรณี และใหเจาหนาที่มี
อำนาจครอบครอง ดแู ล และใชประโยชนท่ดี ินนัน้ ได

(3) มีที่ดินแปลงใดหรือสวนใดที่จำเปนตองใชตามวัตถุประสงคแหงการเวนคืนเปนที่ดิน รกรางวางเปลา หรือ
ที่ดินซง่ึ มผี เู วนคนื หรือทอดทง้ิ หรอื กลับมาเปนของแผนดนิ โดยประการอ่นื ตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ และทด่ี ินน้ันอยู
นอกเขตปาไมถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อไดแจงใหกระทรวงมหาดไทยทราบแลว ใหเจาหนาที่มีอำนาจเขา
ครอบครอง ดูแล และใชประโยชนทด่ี นิ นนั้ ได

(4) มีที่ดินแปลงใดหรือสวนใดที่จำเปนตองใชตามวัตถุประสงคแหงการเวนคืนเปนปาสงวนแหงชาติ ให
เจาหนาที่ขอความเห็นชอบการใชพื้นที่นั้นจากอธิบดีกรมปาไม และเมื่ออธิบดีกรมปาไม ใหความเห็นชอบแลว ใหพระราชกฤษฎีกา
ตามมาตรา 8 มีผลเปนการเพิกถอนปาสงวนแหง ชาติ เฉพาะแปลงหรือสวนทีจ่ ำเปนตองใชต ามวัตถุประสงคแหงการเวนคนื
ดังกลา ว ตั้งแตวันที่อธิบดีกรมปาไม ใหความเห็นชอบ โดยมิตองดำเนินการเพิกถอนสภาพตามกฎหมายวา ดว ยปาสงวนแหง ชาติ
และใหเจาหนาท่มี ีอำนาจเขา ครอบครอง ดูแล และใชประโยชนท ่ีดินนั้นได

ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ถาเจาหนาที่ไดจายคาตอบแทนใหแกกระทรวงการคลัง ตามอัตรา
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีแลว ใหกรรมสิทธิ์ใน
ที่ดนิ นัน้ ตกเปน ของเจา หนาท่ี

มาตรา 18 ในกรณีที่หนวยงานของรัฐประสงคจะเขาใชอสังหาริมทรัพยของรัฐหรือที่หนวยงานของรัฐเปน
เจาของกรรมสิทธิ์ ทั้งนี้ เฉพาะอสังหาริมทรัพยท่ีรัฐหรือหนวยงานของรัฐไดมาโดยการเวนคืน และการเขาใช
อสังหาริมทรัพยนั้น ไมทำใหวัตถุประสงคของการเวนคืนเดิมตองเสียไปโดยสิ้นเชิง และวัตถุประสงคในการใชนั้นเปน
วัตถุประสงคท่ีใชเปนเหตุในการเวนคืนได ใหหนวยงานของรัฐมอี ำนาจเขาใช อสังหาริมทรัพยดังกลาวได โดยทำความตกลงกับ
หนวยงานของรัฐที่เปนเจาของกรรมสิทธิ์หรือท่ีมีสทิ ธิ์ใชป ระโยชนใ นอสังหารมิ ทรัพยนัน้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และ
เง่อื นไขทค่ี ณะรฐั มนตรีกำหนด

5.4 หลักเกณฑแ ละแนวทางการกำหนดราคา

5.4.1 คณะกรรมการกำหนดราคาอสงั หาริมทรัพยเ บื้องตน

มาตรา 19 เมื่อพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 ใชบังคับแลว ใหเจาหนาที่ แตงตั้งคณะกรรมการขึน้ คณะหนึ่ง เพื่อทำ
หนาทกี่ ำหนดราคาอสงั หารมิ ทรพั ยเบ้อื งตน และเงนิ คา ทดแทน ประกอบดวย

• ผแู ทนของเจา หนา ท่ี
• ผแู ทนกรมธนารักษ
• ผูแทนกรมท่ีดิน
• นายอำเภอหรอื ผอู ำนวยการเขต และ
• ผูบรหิ ารทอ งถ่นิ ท่เี กย่ี วขอ ง

งานศกึ ษาสำรวจ ออกแบบรายละเอยี ดและจดั ทำรายงานผลกระทบส่ิงแวดลอ ม 55
เพื่อเตรียมการกอ สรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

ในกรณที ่ีมีความจำเปน เจาหนาทอ่ี าจพจิ ารณาแตงตงั้ ผูแทนหนวยงานอ่นื ของรฐั เขา รว มเปน กรรมการดวย
ผูบริหารทองถิ่นที่เกี่ยวของตามวรรคหนึ่ง หมายถึง ผูบริหารทองถิ่นขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นที่มี
อสงั หาริมทรัพยอ ยูในแนวเขตพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 ถาแนวเขตท่ีดินทจ่ี ะเวนคนื ครอบคลุมพ้ืนท่ีขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นมากกวาหนึ่งแหง เมื่อจะพิจารณากำหนดเงินคาทดแทน หรือปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับที่ดินและ
อสังหาริมทรัพยที่อยูในเขตขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใด ใหผูบริหารทองถิ่นตามวรรคหนึ่ง หมายถึงเฉพาะ
ผูบรหิ ารทอ งถ่นิ ขององคกรปกครองสว นทอ งถนิ่ นน้ั
ใหน ำความในวรรคสามมาใชบังคับกบั กรณีท่ีแนวเขตทด่ี นิ ท่ีจะเวนคนื ครอบคลุมทองที่มากกวาหน่ึงอำเภอดวยโดย
อนุโลม
5.4.2 การกำหนดราคาอสงั หาริมทรัพยเบ้ืองตน
มาตรา 20 การกำหนดราคาเบื้องตนสำหรับทีด่ นิ ท่เี วนคืน ใหค ำนงึ ถึงราคา สภาพ เหตุ และวตั ถุประสงคดังตอไปน้ี
ประกอบกนั

(1) ราคาทซี่ ื้อขายกันตามปกตใิ นทอ งตลาดของทด่ี นิ ในวันใชบ งั คบั พระราชกฤษฎกี า ตามมาตรา 8
(2) ราคาประเมินท่ดี นิ ของทางราชการทก่ี ำหนดขึน้ เพือ่ ประโยชนในการจดั เก็บภาษที ่ีดินและส่งิ ปลูกสรา ง
(3) ราคาประเมินทุนทรัพยเพื่อเรียกเก็บคาธรรมเนียมในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ตามประมวล
กฎหมายท่ดี ิน
(4) สภาพและทต่ี ั้งของทีด่ นิ นั้น และ
(5) เหตุและวตั ถุประสงคแหงการเวนคืน
การกำหนดราคาเบอ้ื งตนตามวรรคหนงึ่ ใหเปน ไปตามหลกั เกณฑและวธิ กี ารท่ีกำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 22 ถา การดำเนินกิจการตามวตั ถุประสงคแหง การเวนคนื ไดก ระทำใหทีด่ ินท่ีเหลืออยูในแปลงเดียวกันน้ัน
มีราคาสูงขึ้น ใหเอาราคาที่สูงขึ้นนั้นหักออกจากเงินคาทดแทน แตไมวากรณีจะเปนประการใดจะหักเกินรอยละหาสิบ
ของเงินคา ทดแทนมิได (มิใหใ ชบังคับ ในกรณีทเ่ี จาของมีหนา ทีต่ อ งเสยี ภาษีทเ่ี รียกเก็บสำหรับทดี่ ิน แปลงนน้ั จากการไดร บั
ประโยชนจ ากการพฒั นาระบบสาธารณปู โภคขน้ั พน้ื ฐานดานคมนาคมขนสง ของรฐั ตามกฎหมายวา ดวยการนั้น)
ในกรณี ถาทำใหทีด่ ินในแปลงเดียวกันที่เหลืออยูนั้นมีราคาลดลง ใหกำหนดเงนิ คาทดแทนใหสำหรบั ท่ดี ินสวน
ท่เี หลอื อนั มรี าคาลดลงนัน้
ในกรณีท่ี ที่ดินแปลงใดที่เจาของหรือผูครอบครองไดกระทำอยางใดใหที่ดินเปล่ียนสภาพไป ในลักษณะที่จะทำให
เกิดความเสียหายหรือไมเหมาะสมท่ีจะใชประโยชนจ ากที่ดินน้ัน ใหเจาของดำเนินการแกไ ขปรับปรงุ ที่ดนิ ใหอ ยูในสภาพเดมิ
หากเจาของไมสามารถดำเนนิ การดงั กลาวได ใหเ จา หนา ท่ีหกั คาใชจ ายในการดำเนนิ การออกจากคาท่ีดิน แตต อ งไมเกินราคา
เบ้ืองตน สำหรับที่ดนิ ที่เวนคืน (ตามมาตรา 20 ทง้ั นี้ ใหค ำนึงถึงความเสียหายหรอื คาใชจา ยในการแกไขหรือปรับปรุงที่ดินน้ัน
ประกอบดวย การดำเนินการตามวรรคหนึ่ง วรรคสาม และวรรคส่ี ใหเปนไปตามหลกั เกณฑ วิธีการ และ เงื่อนไขท่กี ำหนดใน
กฎกระทรวง)
มาตรา 23 ในกรณีท่ีราคาท่ีดินที่เวนคืนมาสูงขึ้นเพราะทรัพยสนิ โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสราง ที่ไดส รางหรือตอเติม
ขนึ้ การเพาะปลูก การทำใหท ี่ดินเจรญิ ข้นึ หรอื การเชา ที่ไดท ำข้นึ กอนวนั ที่ พระราชกฤษฎีกาใชบังคับ โดยอุบายฉอฉล เพื่อ
ประสงคที่จะไดรับเงินคาทดแทน หรือทำขึ้นภายหลัง วันใชบังคับพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 โดยมิไดรับอนุญาตจาก
เจาหนาที่ หามมิใหกำหนดราคา อสังหาริมทรัพยเบื้องตนหรือเงินคาทดแทนสำหรับราคาที่ดินที่สูงขึ้นเพราะทรัพยสิน
โรงเรือน หรือ สิง่ ปลกู สรา งดังกลา ว
มาตรา 24 ในกรณีที่เจาของไดที่ดินใดมาโดยมิไดใชอยูอาศัยหรือใชประกอบการทำมาหาเลี้ยงชีพ หรือทำ
ประโยชนใ นทีด่ นิ น้นั อยา งแทจรงิ ถา หากมกี ารตราพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 ภายในหาปนับแตวนั ทเี่ จาของไดท่ีดินนั้น
มา คณะกรรมการตามมาตรา 19 จะกำหนดราคาต่ำกวา ทีก่ ำหนดไวต ามมาตรา 20 ก็ได แตตอ งไมต ่ำกวาราคาที่ดนิ ในขณะที่
เจาของไดท ่ีดินน้นั มา ความในวรรคหนงึ่ มใิ หใ ชบ งั คับกบั ทีด่ นิ ท่ีไดมาโดยการยกใหห รอื ทางมรดก

งานศึกษาสำรวจ ออกแบบรายละเอยี ดและจัดทำรายงานผลกระทบสิง่ แวดลอม 56
เพอื่ เตรยี มการกอสรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

>>>> กรณีท่ี “โรงเรือน สง่ิ ปลูกสราง หรืออสงั หารมิ ทรัพยอ นื่ ” ไมอ าจแบงแยกได
มาตรา 33 ถาโรงเรือน สิ่งปลูกสราง หรืออสังหาริมทรัพยอื่นที่ถูกเวนคืนนั้นมีบางสวนอยูบน ที่ดินที่มิไดเวนคืน
และเปนโรงเรือน สิ่งปลูกสราง หรืออสังหาริมทรัพยอื่นเดียวกันโดยไมอาจแบงแยกได เจาของจะขอใหเจาหนาที่เวนคืน
โรงเรือน สง่ิ ปลกู สรา ง หรอื อสงั หาริมทรัพยอ ่ืนสว นท่ีเหลือดังกลา วดวยกไ็ ด

• ถาเจาของที่ดินที่มิไดถูกเวนคืน แตผลแหงการเวนคืนตามวรรคหนึ่ง ทำใหโรงเรือน สิ่งปลูกสราง หรือ
อสงั หาริมทรพั ยอยางอน่ื ของตนไมอาจใชป ระโยชนไ ด หรอื ไมอาจใชประโยชนไ ดตามวัตถปุ ระสงคท่ใี ชอยู
เดมิ หรืออาจเกิดอันตรายในการอยอู าศยั หรอื ใชประโยชน ถา เจา ของรองขอ ใหเจา หนา ที่ ซ้อื โรงเรือน
สิ่งปลูกสราง หรืออสังหาริมทรัพยอื่นนั้น ใหเจาหนาที่มีอำนาจซื้อโรงเรือน สิ่งปลูกสราง หรือ
อสังหารมิ ทรัพยดังกลาวได ภายในเกาสิบวันนับแตวันทีไ่ ดรบั หนังสือรอ งขอ ทั้งนี้ การพิจารณาคำรอง
ขอใหคำนึงถึงสภาพความเปนอยขู องผอู ยูอาศยั วัตถปุ ระสงคเดิมของการใชส อยโรงเรือนหรอื สง่ิ ปลกู สรา ง
โครงสรางอาคาร และความปลอดภัยของผูใชอาคาร เพื่อใหเกิดความเปน ธรรมแกเจาของดวยโดยให นำ
ความในมาตรา 38 วรรคสอง และมาตรา 60 มาใชบ งั คบั กบั ราคาซอ้ื ขายดังกลา วดว ยโดยอนโุ ลม

>>>> กรณที ่ี “เมื่อทีด่ ินทเ่ี หลอื อยู” ไมสามารถอยอู าศัยไดอยางปลอดภยั หรอื ใชป ระโยชนไ ด
มาตรา 34 ในกรณที ตี่ องเวนคนื ที่ดนิ แปลงใดแตเ พียงบางสว น ถา เนือ้ ท่สี ว นทเ่ี หลืออยูนน้ั

• นอ ยกวายส่ี ิบหา ตารางวา หรือ
• ท่ดี นิ ทเี่ หลอื อยดู านใดดา นหน่ึงมคี วามยาวนอยกวาหาวา
• เหลืออยูมากกวายี่สิบหาตารางวาแตไมสามารถอยูอาศัยไดอยางปลอดภัยหรือใชประโยชนได ถา

เจา ของรอ งขอใหเจา หนาท่ีซือ้ ท่ดี นิ สว นทเ่ี หลือดว ย
แตที่ดินสวนทีเ่ หลืออยูน ั้น ตองไมติดตอเปนผืนเดียวกนั กับที่ดินแปลงอื่นของเจาของเดียวกัน และเมื่อรวม
กบั ท่ดี ินแปลงอ่นื ดงั กลาวแลว ทำใหไมม ลี ักษณะอยา งหนึ่งอยางใดตามวรรคหนึ่ง
ในการซือ้ ท่ีดินตามวรรคหน่งึ ใหเจาหนาท่ีซอื้ โรงเรือนหรือสง่ิ ปลูกสรา งอยา งอนื่ รวมท้ังตนไมยืนตนท่ีมีอยูกอนวัน
ใชบ ังคบั พระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 หรอื พระราชบัญญตั ิเวนคนื อสังหาริมทรพั ย ไปในคราวเดยี วกนั เวน แตเ จา ของจะ
แสดงเจตนาเปนหนังสือตอเจาหนาที่วาไมประสงคจะขาย ในกรณีเชนนี้ เจาของมีหนาที่ตองรื้อถอนโรงเรือน สิ่งปลูกสราง
หรอื ตนไมยืนตน น้นั ออกไปภายในหกสบิ วันนับแตว ันท่ี เจา ของไดรับชำระราคา
>>>> เงนิ คาทดแทน
มาตรา 37 เงนิ คาทดแทนสำหรับกรณีเวนคืนเฉพาะทดี่ ินใหประกอบดวยคาท่ดี ิน คา รอ้ื ถอน คา ขนยาย คาปลูก
สรางโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางใหมและอสงั หาริมทรัพยอื่นอันตดิ อยูกับที่ดิน และคาเสียหายอื่นอันเกดิ จากการท่ีเจาของ
ตองออกจากทีด่ ินทเ่ี วนคืน
เงินคาทดแทนสำหรับกรณีเวนคืนที่ดินและโรงเรือน สิ่งปลูกสราง และอสังหาริมทรัพยอื่น อันติดอยูกับที่ดิน ให
ประกอบดวยคาที่ดนิ คาโรงเรือนหรอื สิ่งปลูกสรางและอสงั หาริมทรพั ยอนื่ อนั ตดิ อยูกบั ทด่ี นิ และคาเสียหายอืน่ อันเกิดจาก
การทเ่ี จาของตองออกจากทดี่ ินท่ีเวนคนื
ในการเวนคืนที่ดิน ถาเจาของประสงคจะใหเวนคืนโรงเรือน สิ่งปลูกสราง และอสังหาริมทรัพยอื่น อันติดอยูกับ
ท่ีดนิ ดวย ใหเ จาหนา ที่ดำเนินการตามความประสงคข องเจาของ

งานศึกษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจดั ทำรายงานผลกระทบส่ิงแวดลอม 57
เพอ่ื เตรียมการกอสรา งทางรถไฟ สายแมส อด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

5.4.3 การเวนคนื ที่ดนิ เพ่ิมเติมเพื่อนำไปชดเชยทดี่ นิ เพือ่ ใชเ ปน ทอี่ ยูอาศยั หรอื ประกอบการทำมาหาเลยี้ งชพี ได
มาตรา 35 ในการเวนคืนที่ดิน หากปรากฏวาเจาของที่ดินที่ถูกเวนคืนไมมีที่ดินเหลืออยู หรือมีเหลืออยูไมเพียง

พอที่จะใชเปนที่อยูอาศัยหรือประกอบการทำมาหาเลี้ยงชพี ได เจาหนาที่จะดำเนินการเวนคืนที่ดินเพิ่มเติมเพื่อนำไปชดเชย
ที่ดินของเจาของผูน้นั ท้ังหมดหรือบางสว นแทนการจา ยเงินคาทดแทน ก็ได แตตองไดร ับความยินยอมจากเจา ของทีจ่ ะไดรับ
การชดเชยทด่ี ินดังกลา ว

• ท่ีดนิ ท่ีจะดำเนนิ การใหไดมาเพือ่ การชดเชยตามวรรคหน่ึง ตองเปนท่ีดนิ ท่ีเจาของคนเดียวหรือ หลายคนมี
กรรมสทิ ธ์ิ คนละไมน อยกวา ย่สี บิ หาไรส ำหรับทดี่ นิ ท่ีใชเพอ่ื เกษตรกรรม และไมนอ ยกวา หาไรสำหรับที่ดิน
ที่ใชเพื่อการอื่น และจะเวนคืนเพื่อการนี้เกินรอยละสิบของที่ดินที่ผูนั้นมีอยูในแปลงนั้นไมได เวนแต
เจาของจะยนิ ยอมใหเวนคนื มากกวา นน้ั

• ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ถาที่ดินที่อยูติดตอกันเปนของเจาของคนเดียวกัน ให
พจิ ารณาเสมือนหนึ่งวาที่ดนิ น้นั เปน ท่ดี ินแปลงเดยี วกนั

• ในการเขาสำรวจตามมาตรา 12 ใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบขอเท็จจริงตามวรรคหนึ่งและ สอบถาม
ความยนิ ยอมของเจา ของและทำรายงานเสนอความเหน็ ตอ เจา หนาทเ่ี พอื่ พจิ ารณาดว ย

• การดำเนินการเวนคืนท่ีดินเพิ่มเติมตามวรรคหน่ึง ใหกระทำเทา ที่จำเปนและเพียงพอใหเจาของ สามารถ
อยูอาศยั ประกอบการทำมาหาเลีย้ งชีพ หรือทำประโยชนในท่ีดิน ทั้งน้ี ตองไมก ระทบเจา ของท่ีดินแปลง
อื่นที่ถูกเวนคืนเพื่อการนี้ จนเกิดความเดือดรอนเกินสมควร ไมสามารถทำมาหาเลี้ยงชีพได หรือทำให
ที่ดนิ ที่เหลืออยดู อ ยคาจนเกินสมควร

5.5 การเจรจาตกลงซ้ือขาย
มาตรา 25 เมื่อประกาศกำหนดราคาอสังหาริมทรัพยเบื้องตนแลว ใหเจาหนาที่ดำเนินการเจรจาตกลงซื้อขายและ

กำหนดเงินคาทดแทนไดในราคาทีไ่ มเกินราคาอสังหาริมทรัพยเ บื้องตนทีค่ ณะกรรมการ ดังกลาวกำหนด หากเจาของ
ตกลงซ้ือขายอสังหารมิ ทรัพย ใหพ นกั งานเจา หนาท่จี ัดทำสญั ญาซอื้ ขายกับเจา ของ โดยเร็วตามแบบทเ่ี จา หนา ทกี่ ำหนด
และใหพนักงานเจาหนา ที่จา ยเงนิ คาทดแทนใหแกเจา ของภายในหนง่ึ รอ ยยี่สบิ วันนับแตวันทำสัญญาซ้อื ขาย ท้งั น้ี ใหถือ
วา ไดมีการโอนกรรมสทิ ธ์ใิ นอสังหาริมทรพั ยดงั กลา ว นับแตวนั ชำระเงนิ

มาตรา 26 ในกรณีที่เจาของตกลงซื้อขายตามมาตรา 25 ใหเพิ่มเงินคาทดแทนอีกรอยละสองของราคา
อสังหาริมทรัพยเบื้องตนที่คณะกรรมการตามมาตรา 19 กำหนด การจายเงินคาทดแทนสำหรับที่ดิน โรงเรือน สิ่งปลูกสราง
หรืออสังหารมิ ทรพั ยอ ื่นไมต ดั สทิ ธใิ นการอทุ ธรณต ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

มาตรา 27 การซื้อขายอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 25 และการโอนที่ดินที่ไดมาจากการเวนคืน ใหไดรับยกเวน
คาธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน และไดรับการยกเวนภาษีเงินไดสำหรับบุคคล
ธรรมดา ภาษธี ุรกิจเฉพาะ และคา อากรแสตมป โดยใหด ำเนนิ การตามทก่ี ำหนดในประมวลรษั ฎากร
5.6 การตราพระราชบญั ญัติเวนคนื อสงั หาริมทรัพย

มาตรา 28 ในกรณีที่เจาของรายใด “ไมตกลงซื้อขาย”อสังหาริมทรัพยตามมาตรา 25 ใหดำเนินการตรา
พระราชบัญญตั ิเวนคืนอสังหารมิ ทรัพยต อ ไปโดยเรว็

• ในระหวางที่ยังมิไดตราพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพยตามวรรคหนึ่ง และพระราชกฤษฎีกา ตาม
มาตรา 8 ยังมีผลใชบังคับ ถามีเหตุจำเปนเรงดวนที่ถาปลอยเนิ่นชาไป จะเปนอุปสรรคแกการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมหรือประโยชนของรัฐอันสำคัญอยางอื่น เจาหนาที่โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีจะ

งานศกึ ษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจัดทำรายงานผลกระทบส่ิงแวดลอ ม 58
เพอ่ื เตรียมการกอสรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

ประกาศการเขา ครอบครองและใชอ สงั หาริมทรพั ยนนั้ กอนการเวนคนื กไ็ ด แตเ จา หนาทจ่ี ะเขาครอบครอง
หรือใชประโยชนในอสงั หารมิ ทรัพยน ั้นได เมื่อไดจายเงินคาทดแทนใหแกเจา ของหรือวางเงนิ ตามมาตรา
46 แลว
• การประกาศตามวรรคสองไมเปน การตัดสิทธิของเจาของและอำนาจของเจาหนาที่ที่จะทำสัญญา ซื้อขาย
อสังหาริมทรัพยตามมาตรา 25 แมพ ระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 จะสน้ิ อายุแลว กต็ าม แตต องกระทำ
กอนที่จะมีการเสนอรางพระราชบัญญัติเวนคืนที่ดินนั้นตอสภาผูแทนราษฎร และใหถือวาการทำ
สญั ญาซอื้ ขายดงั กลา วเปนการซ้อื ขายอสังหารมิ ทรัพยต ามมาตรา 25

มาตรา 29 ในการตราพระราชบญั ญัติเวนคนื อสังหารมิ ทรัพยอ ยา งนอ ยตองกำหนดรายละเอียด ดงั ตอ ไปน้ี
(1) วัตถปุ ระสงคแหงการเวนคนื
(2) ระยะเวลาการเขาใชท ดี่ ินหรืออสังหารมิ ทรพั ย
(3) เจาหนา ทเ่ี วนคืน
(4) รายละเอยี ดเกยี่ วกับทด่ี นิ หรอื อสังหารมิ ทรัพยท ต่ี อ งเวนคนื
(5) รายชอื่ เจา ของทด่ี ินหรืออสังหาริมทรพั ย
(6) แผนทีแ่ สดงแนวเขตที่ดนิ ที่เวนคนื อยา งชดั เจน

มาตรา 31 เมื่อมีการตราพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพยสำหรับอสังหาริมทรัพยใดแลว ใหกรรมสิทธิ์ใน
อสังหาริมทรพั ยน ัน้ ตกเปนของเจาหนา ที่นับแตวันที่พระราชบญั ญัติดังกลาวใชบังคับ แตเจาหนา ท่ีจะเขาครอบครองหรอื ใช
อสงั หารมิ ทรัพยนน้ั ได กต็ อ เมื่อไดจา ยหรือวางเงนิ คาทดแทนตามที่ บัญญัตไิ วใ นพระราชบญั ญตั ินแ้ี ลว

5.7 ผมู ีสทิ ธไิ ดรบั คาทดแทน

มาตรา 40 เงนิ คา ทดแทนนน้ั ใหก ำหนดแกบ คุ คล ดงั ตอไปนี้
(1) เจา ของท่ดี นิ ที่ตองเวนคืน
(2) เจาของโรงเรือน สิ่งปลูกสราง หรืออสังหาริมทรัพยอ่ืน ซึ่งมีอยูในที่ดนิ ที่ตองเวนคืนน้ัน ในวันใชบ ังคับ

พระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพยหรือพระราชกฤษฎีกาตามมาตรา 8 หรือไดปลูกสรางขึ้นภายหลังโดยไดรับ
อนุญาตจากเจา หนา ท่ี

(3) เจาของตนไมย ืนตนทขี่ ้ึนอยูใ นทีด่ นิ ในวันทใี่ ชบ งั คับพระราชบัญญตั เิ วนคืนอสงั หาริมทรพั ย หรือพระราชกฤษฎกี า
ตามมาตรา 8

(4) ผเู ชาหรอื ผเู ชาชว งท่ีดนิ โรงเรอื น หรือส่งิ ปลกู สรางอ่นื ในท่ดี ินทตี่ อ งเวนคนื
(5) บุคคลผูเสยี สิทธิในการใชท าง วางทอ น้ำ ทอ ระบายน้ำ สายไฟฟา หรือสิง่ อืน่ ซึ่งคลายกัน ผานที่ดิน
ท่ตี อ งเวนคืนนนั้ ตามมาตรา 1349 หรือมาตรา 1352 แหง ประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย
(6) เจาของหรือบุคคลใดซึ่งอยูอาศัยหรือประกอบการคาขายหรือการงานอันชอบดวยกฎหมาย ใน
อสงั หาริมทรัพยที่ตอ งเวนคนื นัน้ และไดรบั ความเสยี หายเน่อื งจากการทีต่ องออกจากอสงั หารมิ ทรัพยน ้ัน

มาตรา 41 ในกรณที ่ีมกี ารเชา ทด่ี นิ หรืออสงั หารมิ ทรัพยท ตี่ งั้ อยบู นทีด่ ินที่เวนคนื
• มีหลักฐานเปนหนังสือ หรือแมไมมีหลักฐานเปนหนังสือ แตปรากฏขอเท็จจริงวาเปนผูเชาที่ดินหรือ
อสงั หารมิ ทรพั ย ดังกลาวจริง ใหเ จา หนาทีจ่ ายเงินคาทดแทนใหแกผ ูเชาหรอื ผูเชาชว งแตล ะราย เปนคาขน
ยาย และคา เสียหายอื่นทีต่ องออกจากอสงั หารมิ ทรพั ย
• ผูเชาหรอื ผเู ชา ชว งทไ่ี มมหี ลักฐานเปน หนังสอื ใหจ ายใหเฉพาะคา ขนยา ย

งานศึกษาสำรวจ ออกแบบรายละเอียดและจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม 59
เพื่อเตรยี มการกอสรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

• การเชาที่ดินและผูเชาหรือผูเชาชวงเปนผูลงทุนหรือกอสรางอสังหาริมทรัพยหรือมีขอตกลงอื่นใดใน
ลักษณะเดียวกัน หรือไดมีการชำระคาเชาหรือคาตอบแทนลวงหนา ใหเจาหนาที่จายเงินคาทดแทนเปนคา
เสียสิทธิการเชาจากการที่สัญญาเชาตองระงับกอนกำหนด โดยคิดตามสวนของ ระยะเวลาเชาที่เหลืออยู
นับแตวันที่ตกลงซื้อขายอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 25 จนถึงวันที่สัญญาเชาสิ้นสุดลง ทั้งนี้ ใหหักเงินคา
ทดแทนท่ีจา ยตามวรรคนี้ออกจากเงินคา ทดแทนท่ีจายใหแ กเ จา ของดว ย

• ในกรณีที่เจาของโรงเรือน สิ่งปลูกสราง หรืออสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูบนที่ดิน มีสัญญากำหนด ให
กรรมสิทธใ์ิ นโรงเรือน สง่ิ ปลูกสราง หรอื อสังหารมิ ทรัพยท ตี่ ง้ั อยูบนทดี่ นิ นั้นตกเปน กรรมสิทธิข์ อง เจา ของ
ที่ดินเมือ่ ครบระยะเวลาการเชาที่ดิน ใหเจาของท่ีดินมีสิทธิไดรับเงินคา ทดแทนสำหรับโรงเรือน สิ่งปลูก
สราง หรืออสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูบนที่ดิน โดยผูเชาหรือผูเชาชวงมีสิทธิไดรับคาเสียสิทธิในการใช
ที่ดินและโรงเรือน สิ่งปลูกสราง หรืออสังหาริมทรัพยที่ตั้งอยูบนที่ดินนั้น โดยคำนวณตามสวนของ
ระยะเวลาเชาที่เหลืออยู คาขนยาย และคาเสียหายอื่น สำหรับคาเสียสิทธิในการใชที่ดินใหหักออกจาก
เงนิ คา ทดแทนท่เี จาของไดร บั

งานศกึ ษาสำรวจ ออกแบบรายละเอยี ดและจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดลอม 60
เพ่อื เตรียมการกอสรา งทางรถไฟ สายแมสอด-ตาก-กำแพงเพชร-นครสวรรค

เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๔๔ ก หน้า ๑ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔
ราชกจิ จานุเบกษา

กฎกระทรวง

กำหนดรำคำเบื้องตน้ สำหรบั ท่ดี นิ ทเ่ี วนคนื
พ.ศ. ๒๕๖๔

อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๖ วรรคหน่ึง และมำตรำ ๒๐ วรรคสอง
แห่งพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรเวนคืนและกำรได้มำซึ่งอสังหำริมทรัพย์ พ.ศ. ๒๕๖๒ นำยกรัฐมนตรี
ออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้

ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงน้ี
“ค่ำมัธยฐำน” หมำยควำมว่ำ ค่ำของข้อมูลท่ีอยู่ตำแหน่งก่ึงกลำงของข้อมูลทั้งหมด
เมอ่ื นำข้อมลู มำเรยี งลำดับจำกมำกไปนอ้ ยหรือจำกน้อยไปมำก
“คณะกรรมกำร” หมำยควำมวำ่ คณะกรรมกำรตำมมำตรำ ๑๙
ข้อ ๒ กำรกำหนดรำคำเบ้ืองต้นสำหรับที่ดินท่ีเวนคืน ให้คณะกรรมกำรคำนึงถึงรำคำ
สภำพ เหตุ และวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนป้ี ระกอบกัน
(๑) รำคำที่ซื้อขำยกันตำมปกติในท้องตลำดของที่ดินในวันใช้บังคับพระรำชกฤษฎีกำ
ตำมมำตรำ ๘
(๒) รำคำประเมินท่ีดินของทำงรำชกำรท่ีกำหนดข้ึนเพื่อประโยชน์ในกำรจัดเก็บภำษีท่ีดิน
และส่ิงปลกู สรำ้ ง
(๓) รำคำประเมินทุนทรัพย์เพ่ือเรียกเก็บค่ำธรรมเนียมในกำรจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ตำมประมวลกฎหมำยทีด่ ิน
(๔) สภำพและท่ีตงั้ ของท่ดี ินนั้น และ
(๕) เหตุและวตั ถุประสงคแ์ ห่งกำรเวนคนื
ข้อ ๓ รำคำที่ซ้ือขำยกันตำมปกติในท้องตลำดของท่ีดินตำมข้อ ๒ (๑) ให้คณะกรรมกำร
พิจำรณำจำกรำคำซื้อขำยท่ีดินที่เวนคืนหรือที่ดินในบริเวณใกล้เคียงท่ีจดทะเบียนไว้กับสำนักงำนที่ดิน
ในวันใช้บังคับพระรำชกฤษฎีกำตำมมำตรำ ๘ ในกรณีที่ไม่มีกำรซ้ือขำยท่ีดินในวันดังกล่ำว หรือมีแต่
คณะกรรมกำรเห็นว่ำ รำคำซื้อขำยที่ดินดังกล่ำวมิใช่รำคำที่ซ้ือขำยกันตำมปกติในท้องตลำดของที่ดิน
ให้ใช้รำคำซื้อขำยท่ีดินก่อนวันใช้บังคับพระรำชกฤษฎีกำได้ โดยย้อนหลังไม่เกินสองปี แล้วนำรำคำ

เล่ม ๑๓๘ ตอนที่ ๔๔ ก หน้า ๒ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔
ราชกจิ จานเุ บกษา

ซื้อขำยท้ังหมดดังกล่ำวมำหำค่ำมัธยฐำน เพื่อให้ได้รำคำใกล้เคียงกับรำคำที่ซื้อขำยกันตำมปกติ
ในทอ้ งตลำดของที่ดนิ ใหม้ ำกทีส่ ุดเทำ่ ทจี่ ะทำได้

ทด่ี ินในบริเวณใกลเ้ คยี งตำมวรรคหน่ึง หมำยถงึ ทีด่ ินที่มีสภำพ ทำเล ท่ีต้งั และกำรใช้ประโยชน์
ในลกั ษณะเดียวกนั หรอื ใกลเ้ คียงกบั ท่ีดนิ ทเ่ี วนคืนทอ่ี ยูใ่ นรศั มีไมเ่ กนิ สองกโิ ลเมตรจำกทดี่ นิ ที่เวนคนื

ข้อ ๔ รำคำประเมินที่ดินตำมข้อ ๒ (๒) และรำคำประเมินทุนทรัพย์ตำมข้อ ๒ (๓)
ใหค้ ณะกรรมกำรพจิ ำรณำจำกรำคำประเมนิ ท่มี ีผลใช้บังคบั อยู่ในวันทีค่ ณะกรรมกำรมมี ตกิ ำหนดรำคำ

ข้อ ๕ กำรพิจำรณำสภำพและที่ต้ังของที่ดินท่ีเวนคืนตำมข้อ ๒ (๔) ให้คณะกรรมกำร
พจิ ำรณำโดยคำนงึ ถงึ เรื่อง ดังต่อไปนี้

(๑) กำรเข้ำออกสูท่ ำงสำธำรณะ
(๒) ข้อจำกัดกำรใช้ประโยชน์ในท่ีดินโดยชอบตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรผังเมือง กฎหมำย
ว่ำดว้ ยกำรควบคุมอำคำร หรอื กฎหมำยอนื่ ใดที่จำกดั กำรใช้ประโยชนใ์ นทีด่ นิ
(๓) ควำมผิดปกติของสภำพของท่ีดินไม่ว่ำจะเป็นกำรถม กำรขุด สระ หนองน้ำ หลุม
หรอื บ่อ หรอื สภำพอนื่ ใดอนั ทำให้ทดี่ ินน้ันดอ้ ยค่ำ
(๔) จำนวนเนอื้ ที่ รูปแปลง และขนำดของท่ดี ิน
(๕) ภำระผกู พันเหนอื ทด่ี นิ
ในกำรพิจำรณำตำม (๑) หรือ (๔) ถ้ำเป็นท่ีดินหลำยแปลงเป็นเจ้ำของเดียวกันหรอื เปน็ ของ
สำมหี รือภริยำอยชู่ ดิ ตดิ เปน็ ผืนเดยี วกัน ใหถ้ ือเสมือนเป็นที่ดินแปลงเดียวกนั
ใ น ก ร ณี ท่ี ส ภ ำ พ แ ล ะ ที่ ตั้ ง ข อ ง ท่ี ดิ น เ ป็ น ผ ล ท ำ ใ ห้ ร ำ ค ำ ที่ ดิ น ท่ี เ ว น คื น สู ง ข้ึ น ห รื อ ต่ ำ ล ง
ให้คณะกรรมกำรนำสภำพและที่ต้ังของที่ดินน้ันมำพิจำรณำประกอบกำรกำหนดรำคำเบ้ืองต้นสำหรับ
ทีด่ ินท่เี วนคนื ด้วย

ข้อ ๖ กำรพิจำรณำเหตุและวัตถุประสงค์แห่งกำรเวนคืนตำมข้อ ๒ (๕) นอกจำก
วตั ถุประสงค์ตำมทีพ่ ระรำชกฤษฎีกำตำมมำตรำ ๘ กำหนดไวแ้ ล้ว ใหพ้ จิ ำรณำถงึ เหตทุ ท่ี ำให้ตอ้ งเวนคนื
ประกอบด้วย ในกรณีท่ีเหตุและวัตถุประสงค์เป็นไปเพ่ือประโยชน์สำธำรณะแต่ผู้ถูกเวนคืนจะไม่ได้รับ
ประโยชน์นั้นโดยตรงด้วย หรือเป็นกรณีท่ีกำรดำเนินกำรตำมวัตถุประสงค์น้ันมีกำรเรียกเก็บค่ำบริกำร
จำกผูใ้ ช้ประโยชน์ ใหพ้ จิ ำรณำเพิ่มรำคำเบ้ืองตน้ สำหรับท่ดี นิ ที่เวนคืนใหต้ ำมควรแก่กรณี

ขอ้ ๗ ให้คณะกรรมกำรพิจำรณำกำหนดรำคำเบอ้ื งต้นสำหรบั ที่ดนิ ท่ีเวนคืนตำมหลักเกณฑ์
ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) นำรำคำที่ซื้อขำยกันตำมปกติในท้องตลำดของที่ดินตำมข้อ ๓ และรำคำประเมินที่ดิน
และรำคำประเมินทุนทรัพย์ตำมข้อ ๔ มำพิจำรณำหำรำคำโดยเฉลี่ยของท่ีดิน และให้ถือเอำรำคำ
โดยเฉลี่ยดังกล่ำวเป็นฐำนในกำรกำหนดรำคำเบื้องต้นสำหรับท่ีดินท่ีเวนคืน เว้นแต่รำคำโดยเฉลี่ย
ดงั กล่ำวต่ำกว่ำรำคำท่ซี ื้อขำยกนั ตำมปกติ ใหใ้ ชร้ ำคำท่ซี ้ือขำยกนั ตำมปกตใิ นท้องตลำดของทีด่ ินเปน็ ฐำน
ในกำรกำหนดรำคำเบ้ืองต้นสำหรบั ท่ดี ินทเ่ี วนคืน

เล่ม ๑๓๘ ตอนท่ี ๔๔ ก หน้า ๓ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔
ราชกจิ จานุเบกษา

(๒) นำสภำพและท่ีต้ังของที่ดินท่ีเวนคืนตำมข้อ ๕ มำพิจำรณำกำหนดรำคำที่เพิ่มข้ึน
หรอื ลดลงของที่ดนิ

(๓) ในกรณีที่มีเหตุอันจะต้องเพิ่มรำคำเบ้ืองต้นสำหรับท่ีดินที่เวนคืนตำมข้อ ๖ ให้เพิ่มข้ึน
ได้อกี ไมเ่ กินรอ้ ยละสบิ ของรำคำตำม (๒)

ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ำยน พ.ศ. ๒๕๖4
พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชำ
นำยกรฐั มนตรี

ชอ่ งทางการติดต่อสอ่ื สาร

การรถไฟแหง่ ประเทศไทย
ศนู ยว์ างแผนและพัฒนาโครงการ ฝา่ ยโครงการพเิ ศษและก่อสร้าง
ท่ีอยู่ : เลขท่ี 1 ถ.รองเมือง แขวงรองเมอื ง ปทมุ วนั กรงุ เทพมหานคร 10330
โทร : 0 2220 4769 โทรสาร : 0 2221 5763

กลมุ่ บริษทั ท่ปี รกึ ษา :

บริษัท เทสโก้ จำกัด
ทอ่ี ยู่ : 21/11-14 ถ.สุขุมวิท ซอยสุขมุ วิท 18 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรงุ เทพมหานคร 10110
โทรศัพท์ : 0 2258 1320 โทรสาร : 0 2261 4511 หรือ 0 2258 1313
ด้านวศิ วกรรม : คุณชัยศกั ด์ิ ไชยเจรญิ (ต่อ 602)
ดา้ นสิ่งแวดลอ้ มและการมีสว่ นร่วม : ดร.พิเศษ เสนาวงษ์ (ตอ่ 501)
ศูนย์บรกิ ารวิชาการแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
ท่ีอยู่ : 254 ถนนพญาไท แขวงวงั ใหม่ เขตปทมุ วัน กรุงเทพมหานคร 10330
โทรศพั ท์ : 0 2215 3555
บรษิ ัท ดีไซน์ คอนเซป จำกัด
ท่ีอยู่ : 88/29 ซอยทมิ แลนด์ ตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบุรี จงั หวดั นนทบุรี 11000
โทรศัพท์ : 0 2951 7584-6 โทรสาร : 0 2951 7587
บรษิ ทั ดอร์ช คอนซัลท์ เอเซีย จำกดั
ทอ่ี ยู่ : 1168/45 อาคารลุมพินที าวเวอร์ ช้ัน 18 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร

กรงุ เทพมหานคร 10120
โทรศพั ท์ : 0 2679 8900 โทรสาร : 0 2679 8995

www.tescoconsult.com/th/railwaymaq.nsn
E-mail : [email protected]
Line ID : railwaymaq.nsn
Facebook : โครงการกอ่ สรา้ งทางรถไฟสายแมส่ อด ตาก กำแพงเพชร นครสวรรค์ railwaymaq.nsn


Click to View FlipBook Version