ภาษาถนิ่ คอื คาท่เี รยี กภาษาท่ใี ชพ้ ดู ในผู้คนท่ี
อยใู่ นพ้นื ท่ีทางภมู ิศาสตร์ตา่ งๆกันโดยมีลกั ษณะ
เฉพาะท่สี าคัญของภาษาน้ัน
คือ ภาษาถิ่นท่ีได้รับการยอมรับว่าเป็นภาษา
ที่ถูกต้องเหมาะสมทั้งการพูดและการเขียนถือ
เป็นภาษากลาง ใช้ในโอกาสที่เป็นทางการต่าง ๆ
และภาษาท่ีส่ือสารมวลชนต่าง ๆ ใช้เป็นภาษา
ราชการ ใช้ในการเรียนการสอนในโรงเรียน ใช้
ตดิ ต่อสอื่ สารเข้าใจกันทง้ั ประเทศ
ภาษาถ่นิ ที่ใช้ส่อื สารอยูใ่ นบางจงั หวัดของภาค
กลาง เช่น เพชรบุรี กาญจนบุรี สพุ รรณบุรี
ราชบรุ ี นครปฐม อ่างทอง พระนครศรีอยธุ ยา
เป็นตน้ ภาษาถน่ิ ท่ใี ชส้ ื่อสารอยูใ่ นจังหวดั เหลา่ น้ี
มสี าเนยี งพูดที่แตกต่างกันออกไป จะมลี ักษณะ
เพี้ยนเสียงไปจากภาษากลางที่เป็นภาษามาตรฐาน
หรือภาษาถ่ินพายัพ (คาเมือง) ได้แก่ ภาษา
ถ่ินที่ใช้ส่ือสารอยู่ในบางจังหวัดของภาคเหนือ
ตอนบน หรอื ภาษาในอาณาจักรลา้ นนาเดมิ มกั จะ
พูดกันมากในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
เชียงราย พะเยา ลาปาง นา่ น ลาพนู ตาก แพร่
เปน็ ต้น
ภาษาถ่นิ อีสานของประเทศไทยมีลักษณะ
ใกล้เคยี งกับภาษาท่ีพดู ท่ีใชก้ นั ในประเทศลาว แต่
ภาษาอีสานก็ยงั ถอื วา่ เป็นภาษาถน่ิ ของภาษาไทย
ซึ่งใช้สอ่ื สารอยใู่ นจงั หวดั ต่าง ๆ ของภาคอีสาน
หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน่ สกลนคร
หนองคาย นครพนม ขอนแก่น อดุ รธานี เลย
ชยั ภูมิ เป็นต้น
ภาษาถิน่ ที่ใช้สอื่ สารอยูใ่ นจงั หวัดต่าง ๆ ของ
ภาคใต้ของประเทศไทย ลงไปถึงชายแดนประเทศ
มาเลเซยี เช่น ชุมพร ระนอง สรุ าษฎร์ธานี ภเู ก็ต
ในแต่ละภาคก็จะมภี าษาถน่ิ ใต้ เป็นภาษาถิ่นยอ่ ย
ลงไปอกี เช่น ภาษาถน่ิ ระนอง ภาษาถิ่นภเู ก็ต
ภาษาถน่ิ สงขลา เป็นตน้
ภาษาถน่ิ กลาง ภาษาถ่นิ เหนอื
สับปะรด บ่าขะนัด
ภาษาถิน่ อสิ าน ภาษาถน่ิ ใต้
บกั นดั ยานัด
ภาษาถ่ินกลาง ภาษาถ่นิ เหนอื
ชมพู่ บะจุมปู
ภาษาถนิ่ อสิ าน ภาษาถ่นิ ใต้
ชมพู่ น้าดอกไม้
ภาษาถ่นิ กลาง ภาษาถนิ่ เหนอื
น้อยหน่า บะน้อแน้
ภาษาถิ่นอสิ าน ภาษาถ่นิ ใต้
บกั เขยี บ นอ้ ยหน่า
ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถนิ่ เหนอื
มะละกอ บะกว้ ยเตด๊
ภาษาถิน่ อสิ าน ภาษาถน่ิ ใต้
บักหงุ่ ลอกอ
ภาษาถิน่ กลาง ภาษาถิน่ เหนอื
มะพรา้ ว บะปา้ ว
ภาษาถน่ิ อสิ าน ภาษาถนิ่ ใต้
บกั พา่ ว ลูกพร้าว
ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถ่นิ เหนอื
ฟักทอง บะฟักแกว้
ภาษาถนิ่ อสิ าน ภาษาถนิ่ ใต้
บกั อึ น้าเตา้
ภาษาถ่นิ กลาง ภาษาถิ่นเหนอื
แตงโม บะเต้า
ภาษาถ่นิ อสิ าน ภาษาถ่ินใต้
บักโม แตงจีน
ภาษาถิน่ กลาง ภาษาถิ่นเหนอื
มะเขือยาว มะเขอื ม้า
ภาษาถ่ินอสิ าน ภาษาถน่ิ ใต้
บกั เขือยาว ลูกเขอื ยาว
ภาษาถิน่ กลาง ภาษาถิน่ เหนอื
ขนนุ หมะหนุน
ภาษาถน่ิ อสิ าน ภาษาถ่ินใต้
บักม่ี ลูกหนนุ
ภาษาถ่ินกลาง ภาษาถน่ิ เหนอื
ฝร่ัง บะแกว/
บะก้วย
ภาษาถิ่นอสิ าน
ภาษาถิ่นใต้
บักสดี า
ชมพู่
ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถ่นิ เหนอื
ฉัน/หน/ู ผม เป้ิน
ภาษาถ่นิ อสิ าน ภาษาถ่นิ ใต้
ขอ่ ย ฉาน/นุ้ย
ภาษาถ่ินกลาง ภาษาถิน่ เหนอื
รกั ฮกั
ภาษาถน่ิ อสิ าน ภาษาถิ่นใต้
ฮัก รัก
ภาษาถิน่ กลาง ภาษาถนิ่ เหนอื
โกหก ข้จี ุ๊
ภาษาถ่นิ อสิ าน ภาษาถนิ่ ใต้
ขีต้ ๊วั ขฮ้ี ก
ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถิน่ เหนอื
พ่ี อา้ ย/ปี้
ภาษาถน่ิ อสิ าน ภาษาถน่ิ ใต้
อ้าย/เออ้ื ย พบ่ี ่าว/พ่สี าว
ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถ่ินเหนอื
พดู อู้
ภาษาถ่ินอสิ าน ภาษาถ่ินใต้
เวา่ แหลง