The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย2_กระบวนการเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saychon, 2022-07-07 04:53:02

หน่วย2_กระบวนการเทคโนโลยี

หน่วย2_กระบวนการเทคโนโลยี

๒หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี

กระบวนการเทคโนโลยี

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
• ระบุปญั หาหรือความต้องการในชวี ิตประจาวัน รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมูล และแนวคดิ ท่ีเกยี่ วข้องกับปัญหา
• ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกขอ้ มูลท่ีจาเปน็ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ วางแผนและดาเนินการแกป้ ัญหา
• ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบุขอ้ บกพร่องทีเ่ กิดข้นึ พรอ้ มทั้งหาแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา

1 กระบวนการเทคโนโลยี

สง่ิ อานวยความสะดวกในชวี ติ ประจาวันของมนษุ ย์ล้วนแล้วแตเ่ ปน็ เทคโนโลยี เกิดจากกระบวนการคิดที่เป็นระบบเพื่อแก้ปญั หาและทาให้คณุ ภาพชวี ติ ของมนุษยด์ ขี ึ้น
บคุ คลท่ีมีส่วนสาคัญในการแก้ปญั หาตามทก่ี ลา่ วมา คอื วิศวกร (engineer) แสดงไดด้ ังแผนผัง

ข้นั ตอนการแก้ปญั หาของวิศวกร กระบวนการ
เทคโนโลยี

ความจาเป็น 1 ระบุปญั หา หรอื ความต้องการ
หรอื ความต้องการ

กระบวนการ 2 รวบรวมข้อมลู ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ปญั หา
เทคโนโลยี 3 เลือกวิธีการแกป้ ญั หา

ความรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ ออกแบบวิธีการแก้ปญั หา
และคณติ ศาสตร์
4
สง่ิ ท่ีนามาตอบสนองความจาเป็น
หรือความต้องการ ปรบั ปรงุ 6 5
แกไ้ ข และ
ประเมนิ ผล ทดสอบ

7 นาเสนอผลงาน

1 ระบปุ ญั หา หรอื ความต้องการ

ข้นั ตอนระบุปัญหาหรอื ความต้องการ ผู้สรา้ งเทคโนโลยจี ะตอ้ งตอบคาถามเบ้ืองต้นใหไ้ ด้ 3 คาถาม กอ่ นสร้างช้ินงานหรอื สิ่งทต่ี อบสนองความต้องการ ดงั นี้

? 1 ปัญหา ที่จาเปน็ ต้องแกค้ ืออะไร

2 ใคร คือผทู้ ่เี ผชิญปญั หาทเ่ี ราจาเป็นตอ้ งแก้

3 เหตใุ ด ปัญหาน้จี งึ จาเปน็ ต้องแก้

การระบปุ ัญหาหรือความต้องการตอ้ งเร่มิ จากทัศนคตทิ ีด่ ี ฝกึ มองปัญหาในมุมมองของผู้ท่ีประสบปญั หามากกวา่ ในมมุ มองของตัวเอง เรยี กทศั นคตเิ ชน่ นี้ว่า
การรูจ้ ักเอาใจเขามาใส่ใจเรา (empathy)

เทคโนโลยที ่ดี คี วรเปน็ นวัตกรรม (innovation) มากกวา่ ส่งิ ประดิษฐ์ (invention) เปน็ การเอาวิทยาการตา่ ง ๆ มาออกแบบเพอ่ื ตอบโจทยป์ ญั หาที่สร้างคุณคา่ ให้กบั สงั คม
และมนุษย์ โดยเริม่ ต้นจากความเขา้ ใจในความต้องการ ไมใ่ ช่การใชค้ วามคดิ สร้างสรรคอ์ ย่างไร้ทิศทาง

ส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรม

เทียนไขและหลอดไฟแบบไส้ หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์

ปากกาลูกลน่ื ปากกาลบได้

2 รวบรวมขอ้ มูลทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับปญั หา

เมอื่ เราระบปุ ัญหาหรือความตอ้ งการแล้ว ข้นั ตอนต่อไป คือ เก็บรวบรวมข้อมูลและความรู้ทีเ่ กยี่ วข้องกบั ปัญหาหรือความต้องการนน้ั ๆ เพ่ือหาวธิ ีการท่เี หมาะสมสาหรับ
แกป้ ญั หา การรวบรวมข้อมูลทาได้ 2 วิธีหลัก ดังนี้

การรวบรวมขอ้ มูลขั้นปฐมภูมิ (primary data) การเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพ่อื ศกึ ษาและทาความเขา้ ใจด้วยตนเอง โดยวธิ ีการรวบรวมข้อมูลขน้ั ปฐมภูมนิ น้ั ทาไดห้ ลายวธิ ี

การพดู คยุ หรอื การสมั ภาษณ์ การสงั เกต การรว่ มประสบการณ์
(deep interview) (observation) (immersion)

การตง้ั คาถามเพือ่ สร้างความเขา้ ใจ การพิจารณาปญั หาด้วยการมองอย่างวเิ คราะห์ การทาความเข้าใจดว้ ยการลองเอาตวั เอง
เกย่ี วกับความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายที่เราตอ้ งการจะแกป้ ญั หา เพื่อสรา้ งความเข้าใจในปญั หา เขา้ ไปอยู่ในส่ิงแวดล้อมเดียวกบั ผทู้ เ่ี ราพยายามจะสร้างเทคโนโลยใี ห้
ท่ีเราตอ้ งการจะแกม้ ากข้ึน
การพูดคยุ หรอื สมั ภาษณท์ ี่ดี คอื
การตัง้ ใจรบั ฟงั เพอ่ื เรียนรู้ ความตอ้ งการเบอื้ งลกึ

การรวบรวมขอ้ มลู ขัน้ ทตุ ยิ ภมู ิ (secondary data) การเก็บรวบรวมข้อมูลเพอื่ ศึกษาจากขอ้ มูลท่ีมีอยผู่ า่ นการสรุปผลและการวิเคราะหผ์ ล ในทางปฏิบัติการวจิ ัยขน้ั ทตุ ยิ ภมู ิ
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากหนังสอื วารสารตา่ ง ๆ หรือสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต

ไม่ต้องใช้เวลาและคา่ ใชจ้ ่ายมาก ระมัดระวงั ในการใช้ ตรวจสอบความถกู ต้อง และความนา่ เชอ่ื ถือ การวเิ คราะหแ์ หลง่ ทีม่ าของข้อมูล
เพราะข้อมลู อาจเกา่ หรือไมส่ มบรู ณ์
ของแหล่งขอ้ มลู วา่ น่าเชือ่ ถือได้หรอื ไม่

หลังจากที่มกี ารรวบรวมขอ้ มูลแลว้ สง่ิ ท่ตี ามมาก็คือการนาขอ้ มลู ทเ่ี ก็บมาระดมสมอง (brainstroming) สรา้ งคาถามเพือ่ ทาใหม้ องเหน็ ปญั หาอยา่ งแทจ้ รงิ นาไปสู่การคน้ พบ
ทางเลือกในการแก้ไขปัญหา

หลักการการระดมสมองท่ีดี ?

เน้นปรมิ าณมากกว่าคณุ ภาพ มองปัญหาใหเ้ ป็นโอกาสดว้ ยการต้งั คาถาม

แยกการคิดและการประเมินออกจากกัน โดยคดิ และเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาใหไ้ ด้จานวนมากกอ่ น การตงั้ คาถามช่วยให้การคิดวิธีแก้ปญั หามีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน รปู แบบคาถามที่องคก์ รระดบั โลกมากมายใช้คอื
แลว้ จึงเร่มิ ประเมนิ และคดั เลือกวิธีการแกป้ ัญหาท่ีเหมาะสมในภายหลัง การต้ังคาถามวา่ “เราจะ...ไดอ้ ยา่ งไร” (How might we...?)

3 เลอื กวิธกี ารแกป้ ัญหา

การเลือกวิธีแก้ปัญหา ทาใหเ้ ทคโนโลยีท่ีจะถกู สร้างขึ้นสามารถตอบโจทยก์ ับปัญหาในทกุ ด้านทไ่ี ดก้ าหนดไว้ ข้ันตอนนจ้ี ะมีกระบวนการย่อยเพ่อื นามาสู่การตดั สินใจเพือ่ ท่ีจะเลอื ก
วิธแี ก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม ดงั นี้

เลือกวธิ ีการแก้ปัญหาโดยคานงึ ถงึ ผลลัพธ์ โดยการพจิ ารณาว่าวธิ กี ารแก้ปัญหาทคี่ ิดคน้ มาน้ันจะนาไปสคู่ ณุ ภาพการทางานทดี่ ขี ึ้น เรว็ ขน้ึ ประหยดั ขนึ้ หรอื สะดวกข้ึนหรือไม่
อยา่ งไร วิธีการหนง่ึ ท่ที าได้ คือ การประเมินดว้ ยตารางประเมนิ คณุ ภาพ ดังตวั อยา่ ง

แนวคดิ ที่ 1 ความเรว็ ความสะดวก ความเป็นไปได้ รวมคะแนน
แนวคดิ ที่ 2 +1 +1 +1 +3
แนวคดิ ท่ี 3 +1 0 -1 0
0 +1 +1 +2

จากตารางข้างต้น เมื่อเราใชเ้ กณฑค์ วามเรว็ ความสะดวก และความเปน็ ไปได้ มาคัดเลอื กแนวคิด และกาหนดคะแนนไว้วา่ +1 หมายถงึ ดี 0 หมายถึง ปานกลาง -1 หมายถึง ไม่ดี
เม่ือพิจารณาคะแนนรวม จะเห็นได้วา่ แนวคดิ ท่ี 1 นน้ั ตอบโจทย์ความตอ้ งการในดา้ นต่าง ๆ มากกวา่ แนวคดิ ท่ี 2 และแนวคิดท่ี 3

4 ออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา

เมอ่ื เลือกวิธีการแกป้ ญั หาทีเ่ หมาะสมแลว้ ข้ันตอนต่อไป คือ การออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา ในการสรา้ งสรรค์เทคโนโลยีการออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหาจะเรม่ิ ตน้ ด้วยการสรา้ งต้นแบบ
ต้นแบบ (prototype) คอื การสรา้ งแบบจาลองของเทคโนโลยีเพื่อตรวจสอบวา่ ตรงกับความตอ้ งการของผู้ใชห้ รอื ไม่ ส่งิ ที่เราต้องการจากต้นแบบ คือ ความคดิ เหน็
หรอื ผลสะท้อนกลบั (feedback) จากผูใ้ ช้ว่าชอบหรือไมช่ อบแนวคิดเทคโนโลยที เ่ี ราออกแบบมาอย่างไร

กราฟดา้ นบนเป็นกราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างระยะเวลาโครงการกบั มูลคา่ ท่ีเกิดจากความผิดพลาด แสดงใหเ้ ห็นว่า การสรา้ งต้นแบบชว่ ยใหเ้ ราประหยัดทง้ั ทรพั ยากรเงินและเวลา

การออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หาดว้ ยการสรา้ งต้นแบบ ทาให้เราสามารถทดสอบสมมตฐิ านท่ีเรามกี อ่ นทจ่ี ะลงทุนและลงแรงสรา้ งเทคโนโลยอี อกมาอย่างเตม็ รปู แบบ
หลักการสาคญั ในการสรา้ งตน้ แบบมี 3 ขอ้

1 ความง่าย (rough) 2 ความเร็ว (rapid) 3 ความเหมาะสม (right)

สร้างตน้ แบบด้วยวสั ดุสามารถส่อื สารได้ เนน้ ความเรว็ เพอ่ื รีบนาตน้ แบบไปทดสอบขอ ไม่เพยี งสร้างให้เหมือนจรงิ แต่ออกแบบมาเพื่อ
แต่ไม่ตอ้ งลงทนุ มาก ความคิดเหน็ และปรับปรงุ ทดสอบสมมติฐานท่ีผคู้ ิดเทคโนโลยตี อ้ งการจะ
หาคาตอบ

ได้ผลลพั ธป์ ระสทิ ธภิ าพตา่ ไดผ้ ลลัพธป์ ระสทิ ธภิ าพสูง

5 ทดสอบ

เปน็ การทดสอบวา่ แนวคิดของเทคโนโลยนี น้ั ตอบโจทยข์ องผู้ใช้งานหรือไม่ มีสว่ นใดที่ต้องพัฒนาหรือแก้ไข
การทดสอบท่ีดี คอื การให้ผู้ใช้ไดท้ ดลองใช้งานตน้ แบบของชิ้นงานทอี่ อกแบบและแสดงความคดิ เหน็ วิธีการ
เก็บความคดิ เห็นมีหลายวิธี โดยแบบทดสอบทีด่ ีควรใหผ้ ้ใู ช้งานใชง้ านไดง้ า่ ย

แบบทดสอบการเก็บความคิดเห็นเกยี่ วกบั เครอื่ งชาระเงนิ แบบบริการตนเองในซูเปอร์มาเก็ต

6 ปรับปรงุ แก้ไข และประเมินผล

การปรบั ปรุง แกไ้ ข และประเมินผลนนั้ ไมไ่ ด้ทาเพียงคร้งั เดยี ว แตส่ ามารถทาไดห้ ลายคร้ังเพ่ือทดสอบองค์ประกอบตา่ ง ๆ ของชิ้นงานเทคโนโลยี โดยหลกั การแลว้ ยิ่งทดสอบ
มากเทา่ ไร โอกาสทช่ี น้ิ งานเทคโนโลยนี น้ั ๆ จะตอบโจทยผ์ ใู้ ชแ้ ละสามารถเอาไปใชไ้ ดจ้ รงิ ยิ่งมมี ากขนึ้ เท่านั้น

ออกแบบ สร้าง

เรยี นรู้

ทดสอบและ ต้นแบบ
ประเมินผล

วดั ผล

7 นาเสนอผลงาน

สามารถทาไดห้ ลายวิธี เชน่ การเขียนรายงาน การทาแผ่นนาเสนอผลงาน การเล่าเร่อื ง เครื่องมือทชี่ ่วยใหเ้ ราสามารถนาเสนอเร่ืองราวได้ครบถ้วนครอบคลมุ ท้งั กระบวนการ
เทคโนโลยี คือ สตอรบี อร์ด (storyboard) หรอื การสร้างภาพให้เห็นลาดับขั้นตอนการทางาน

1 ปัญหาทต่ี ้องการแก้ การนาเสนอผลงานผา่ นสตอรบี อรด์
2 ข้อมลู ที่พบเกี่ยวกบั ปัญหา 3 แนวทางการแก้ปัญหา

4 การทดลอง 5 ผลการทดลองและ 6 เทคโนโลยีท่พี ัฒนาสาเรจ็
การประเมนิ ผล

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (Engineering Design Process) มี 2 ส่วน คอื สว่ นที่นาวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตรม์ าใช้ให้เปน็ ประโยชนก์ ับส่วนท่ีออกแบบ
ใหไ้ ดผ้ ลงานทต่ี อ้ งการ

ระบุปัญหา หรอื ความต้องการ

นาเสนอผลงาน 1 ระดมสมอง หาคาตอบท่ีเปน็ ไปได้
12 2

สรา้ งชิ้นงาน 11 หาข้อมลู และสารวจ แนวทางแก้ปัญหา

3 ท่เี ปน็ ไปได้

ปรับปรงุ แกไ้ ข และประเมินผล 10 4 ระบขุ อ้ จากัดและกาหนดเกณฑ์

ทดสอบ 9 5 พิจารณาทางเลือกการแก้ปญั หา
6 เลือกวธิ กี ารแก้ปัญหา
8

ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 7

เขียนภาพร่างของการแกป้ ัญหา

2 ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยี

1 ยคุ พาลโิ อลธิ คิ (Paleolithic Age) ประวัตศิ าสตรข์ องเทคโนโลยี แบง่ ออกเป็น 9 ยคุ
๒ ยุคเมโซลิธติ (Mesolithic Age)

เป็นยุคหนิ เกา่ (The Old Stone Age) เป็นยคุ หินกลาง (The Middle Stone Age)
500,000 - 10,000 ก่อนคริสตกาล 10,000 - 4,000 ก่อนครสิ ตกาล

มีการปรับปรงุ เรื่องอาหารและเพิ่มความปลอดภยั เริม่ มีการเล้ยี งสตั ว์ และเกษตรกรรม นาไปส่กู ารตง้ั
เพ่อื ทาใหม้ กี ารเพิ่มจานวนประชากร รกรากหรือชมุ ชน

ขวานหนิ เข็มท่ที าจากกระดกู เตาไฟ งานเครือ่ งหนงั อุปกรณต์ กปลา แวดวงหนิ

มนษุ ยย์ ุคนี้จะเรร่ อ่ นเคล่อื นย้ายตามแหล่งอาหาร มนษุ ยย์ ุคน้ีเร่ิมรู้จักการล่าสตั ว์ และมีการสรา้ ง
มที ี่อยอู่ าศยั ชว่ั คราว ทอ่ี ยอู่ าศยั เปน็ หลักแหลง่

3 ยคุ นโี อลธิ คิ (Neolithic Age) 4 ยุคเมโซลธิ ิต (Mesolithic Age)

เป็นยคุ หนิ ใหม่ (The New Stone Age)

4,000 - 2,300 กอ่ นครสิ ตกาล

มีการจดั หาอาหารตลอดท้ังปี มีการแบง่ แรงงาน
และความเช่ียวชาญเฉพาะดา้ น ซ่งึ ส่ิงเหล่านไี้ ป

กระตุ้นทาใหเ้ กดิ การสร้างส่งิ ประดิษฐต์ า่ ง ๆ

เคร่อื งถักทอผา้ เคียว เครอื่ งปน้ั ดนิ เผา เป็นยคุ หินกลาง (The Middle Stone Age)

มนษุ ย์ยคุ นี้เริม่ มีการต้งั ถ่ินฐานแบบถาวร ที่อยู่ 10,000 - 4,000 กอ่ นครสิ ตกาล
อาศัยสร้างดว้ ยหนิ ไม้ มีความคงทน
เรม่ิ มกี ารเลี้ยงสัตว์ และเกษตรกรรม นาไปสกู่ ารตงั้
• ชาวอยี ปิ ต์สร้างพีระมิด รกรากหรือชมุ ชน
• ชาวเมโสโปเตเมียใชแ้ ผ่นดินเหนียวในการ งานเคร่อื งหนัง อุปกรณต์ กปลา แวดวงหนิ

บนั ทกึ เปน็ เอกสารเกย่ี วกบั ระบบชลประทาน
• ชาวบาบิโลเนียใช้แนวคิดทางคณติ ศาสตร์

เชน่ ใชพ้ ีชคณิตในการคานวณเพ่ือการ
ขุดเจาะอุโมงค์

5 ยคุ เหลก็ (Iron Age) 6 ยุคกลาง (Middle Age)

สถาปัตยกรรมในยคุ น้ถี กู สรา้ งจากเหลก็ หรอื เหลก็ กล้า เปน็ ยคุ หลงั จากอาณาจักรโรมันลม่ สลาย ถูกแบง่ ออกเปน็ ยคุ กลางเรม่ิ ตน้ ยคุ กลางสงู สดุ
และยคุ กลางตอนปลาย
700 กอ่ นคริสตกาล - ค.ศ. 450
ค.ศ. 450 - ค.ศ. 1400
เร่ิมมีการปกครองทางทหาร มวี ัฒนธรรม นาไปสู่
การผลติ อาวุธท่ที าจากเหล็ก มเี คร่อื งไถใบมีดเหลก็ ยุคกลางตอนตน้ ถูกเพ่มิ ความกดดนั จากการถูกบกุ รกุ
ทาใหม้ นษุ ย์สามารถเพม่ิ ผลผลติ ทางอาหาร
ซึ่งนาไปสู่การลดลงของจานวนประชากร
อาวุธหรอื เครื่องมือการเกษตรท่ที าจากเหล็ก
แบบร่างหรือตน้ ฉบบั รา่ งทีเ่ ขียนดว้ ยมือ ยุคกลางสงู สดุ มกี ารเรม่ิ ระบบศกั ดนิ า มปี ระชากร

เพมิ่ ขึ้น และเรมิ่ มนี วัตกรรมดา้ นการเกษตร

ยุคกลางตอนปลาย เกิดภยั พบิ ัติ ขา้ วยากหมากแพง

และเกดิ สงคราม ประชากรล้มตายหน่ึงในสามของทมี่ ีอยู่

• ชาวกรกี สร้างธนทู ม่ี ีคันตดิ กบั ด้าม และ เหล็กหลอ่ ปืนใหญ่ นาฬกิ าเชงิ กล เขม็ ทิศ
เครือ่ งยงิ ก้อนหินเพอื่ ปอ้ งกนั และขยาย
อาณาเขต • กังหนั ลมท่ถี กู ผลติ โดยเคร่อื งจักรกล
• แท่นพมิ พ์มีไว้เพ่ือส่งขอ้ มูลขา่ วสารและ
• ชาวโรมนั สรา้ งระบบท่อระบายนา้ ระบบ
สุขาภบิ าล และมีการสร้างถนนเพ่อื การ ความรู้
คมนาคม

7 ยคุ เรอเนสซองส์ (The Renaissance) 8 ยคุ อุตสาหกรรม (The Industrial Age)

เปน็ ยคุ การฟนื้ ฟูอทิ ธพิ ลของสถาปัตยกรรมคลาสสิก และมกี ารแบง่ ปนั ทางดา้ นความคดิ เปน็ ยุคทีม่ ีการเริม่ ใช้เครื่องจักรท่ีมคี วามซับซอ้ น มีโรงงานเกิดขนึ้ และมคี วามเป็นสังคมเมอื ง

ค.ศ. 1400 - ค.ศ. 1750 ค.ศ. 1750 - ค.ศ. 1950

การสรา้ งเครื่องมือ และอปุ กรณ์ต่าง ๆ เกดิ จาก ปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรมเกดิ ศูนย์กลางของเมอื ง
การสังเกตปรากฏการณท์ างธรรมชาติของ เกิดระบบเศรษฐกจิ พึ่งพากนั การแผ่ขยายของ
นกั วิทยาศาสตร์ เศรษฐกิจทาใหป้ ระชากรเพ่ิมข้นึ มกี ารพฒั นา
คุณภาพชวี ติ ของมนุษย์
กล้องโทรทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์
เทอรม์ อมิเตอร์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า รถยนต์ เครือ่ งบิน วทิ ยุ โทรทัศน์
โทรศพั ท์ และจรวด
• ลีโอนารโ์ ด ดา วินชี เกดิ ท่ีประเทศอิตาลี
ค.ศ. 1452 เริม่ ต้นด้วยการเป็นจิตรกร • เจมส์ วัตต์ ปรบั แตง่ เคร่ืองจกั รไอน้าเพ่อื
มกี ารแกะสลกั ระบายสี ออกแบบอาวุธ ตึก นามาใชใ้ นทางปฏิบัติ
และเครื่องจักร
• อเลสซานโดร โวลตา คน้ พบหลักการ
• กาลิเลโอ กาลิเลอี เกดิ ปี ค.ศ. 1564 ทางานของแบตเตอรี่
เป็นนักฟสิ ิกสน์ กั ดาราศาสตร์ และนักปรชั ญา
มีชอื่ เสยี งในเรือ่ งการปรับปรงุ กล้อง- • เฮนรี ฟอร์ด สรา้ งแนวคดิ ระบบการวาง
โทรทรรศน์ สงั เกตการเคล่อื นทข่ี องดาว เครื่องจกั รให้ตดิ ต่อกัน (assembly line)

9 ยคุ ข้อมลู ข่าวสาร (The Information Age) การพฒั นาทางเทคโนโลยี
เปน็ กระบวนการทม่ี ีวิวฒั นาการ
เปน็ ยคุ แหง่ การรวบรวม จดั การ แกไ้ ข และแบง่ ปันขอ้ มูล ข่าวสาร วิวัฒนาการของเทคโนโลยีจาเปน็ ตอ้ งใช้
ความร้ทู างวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
ค.ศ. 1950 - ปัจจุบัน มาเปน็ พนื้ ฐานในการสรา้ งเทคโนโลยี

ขอ้ มูล ขา่ วสารมกี ารแพรก่ ระจายอยา่ งรวดเร็ว และ ในอนาคตต่อไป
มีการเพม่ิ ของจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว

วงจรไฟฟา้ ท่ซี ับซอ้ น คอมพวิ เตอร์ พลงั งานนิวเคลยี ร์
กล้องดิจิทัล


Click to View FlipBook Version