The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ม.2 หน่วยที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by รัตนาวดี ปากวิเศษ, 2023-09-10 09:32:23

สาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ม.2 หน่วยที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์

สาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ม.2 หน่วยที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์

Keywords: ประวัติศาสตร์

สาระการเรีรี รี ย รี ยนรู้รู้ รู้ ป รู้ ประวัวั วั ติ วั ติ ติศติ าสตร์ร์ ร์ร์ หน่น่ น่ ว น่ วยการเรีรี รี ย รี ยนรู้รู้ รู้ ที่ รู้ ที่ ที่ที่ 1 หลัลั ลั ก ลั กฐานทางประวัวั วั ติ วั ติ ติศติ าสตร์ร์ ร์ร์ ครูตั๊ก


หน่น่ น่ ว น่ วยการเรีรี รี ย รี ยนรู้รู้ รู้ ที่ รู้ ที่ ที่1ที่ หลัลั ลั ก ลั กฐานทางประวัวั วั ติ วั ติ ติศติ าสตร์ร์ ร์ร์


1. การประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ 1. การประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ หลัก ลั ฐานทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์กับ กั การศึกษาประวัติ วั หลัก ลั ฐานทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์กับ กั การศึกษาประวัติ วั ศ ติติ าสตร์ร์ ร์ร์ นักประวัติศาสตร์แบ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ หลักฐานขั้นปฐมภูมิ หรือหลักฐานชั้นต้น และหลักฐาน ขั้นทุติยภูมิ หรือหลักฐานชั้นรอง


หลัลัก ลั ฐานขั้น ขั้ ปฐมภูมิ ก ลั ฐานขั้น ขั้ ปฐมภูมิ หลักฐานที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ต้องการศึกษา และบันทึกหรือจัด ทำ ขึ้นโดยบุคคลที่รู้เห็นหรืออยู่ร่วมในเหตุการณ์นั้น ๆ หลักฐาน ขั้นปฐมภูมิเป็นได้ทั้งหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรและที่ไม่ใช่ลาย ลักษณ์อักษร


กฎหมายตราสามดวง หลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร ได้แก่ จารึกและเอกสารต่าง ๆ เช่น ศิลาจารึกสมัยสุโขทัย บันทึกประเภท พงศาวดาร รวมทั้งหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์อื่น ๆ เช่น กฎหมายตราสามดวง ใบบอก ปูมโหร


เจดีย์วัดพระศรีสรรเพชญ์ และวิหารพระมงคลบพิตร หลักฐานที่ไม่เป็นลาย ลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐาน ประเภทโบราณสถาน โบราณ วัตถุ และศิลปวัตถุต่าง ๆ เช่น โบสถ์ วิหาร เจดีย์ ประติมากรรม จิตรกรรมฝาผนัง


งานวิจัยทางประวัติศาสตร์ในหอสมุดแห่งชาติ หลักฐานที่นักประวัติศาสตร์ หรือนักวิจัยรวบรวมและเรียบเรียง ขึ้นภายหลังจากหลักฐาน ประวัติศาสตร์ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ เหตุการณ์ในอดีต เช่น หนังสือ ตำ รา งานวิจัย ตลอดจนข้อมูลทาง ประวัติศาสตร์จากเอกสารอื่น ๆ เช่น วารสาร วรรณคดี ภาพยนตร์อิงประวัติศาสตร์ หลัลัก ลั ฐานขั้น ขั้ ทุติย ติ ภูมิ ก ลั ฐานขั้น ขั้ ทุติย ติ ภูมิ


วิธี วิ ก ธี ารประเมิน มิ ความน่าเชื่อ ชื่ ถือ ถื ของหลัก ลั ฐานทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ วิธี วิ ก ธี ารประเมิน มิ ความน่าเชื่อ ชื่ ถือ ถื ของหลัก ลั ฐานทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ การประเมินหลักฐานเป็นขั้นตอนสำ คัญขั้นตอนหนึ่งของวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ เพราะหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีจำ นวนมากและ หลากหลาย ทั้งยังมีข้อมูลที่สอดคล้องและขัดแย้งกัน ผู้ศึกษาจึงต้อง ไต่สวนหลักฐานที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีการประเมินหลักฐาน เพื่อให้ได้ข้อเท็จ จริงที่น่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับมากที่สุด โดยมีการประเมินหลัก ฐานทั้งภายในและภายนอก


2. ความจริงกับข้อเท็จจริง ของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ 2. ความจริงกับข้อเท็จจริง ของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ความจริง ริ ของเหตุการณ์ทางประวัติ วั ความจริง ริ ของเหตุการณ์ทางประวัติ วั ศ ติติ าสตร์ร์ ร์ร์ ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็น “ความจริง” โดยมีหลักฐานขั้นปฐมภูมิยืนยัน เหตุการณ์นั้นและมีหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษรอื่น ๆ ร่วมตรวจสอบ ความถูกต้อง และยืนยันได้ว่าเป็นจริงหรือมีอยู่จริง


ข้อเท็จ ท็ จริง ริ ของเหตุการณ์ทางประวัติ วั ข้ ศ ติ าสตร์ ข้ อเท็จ ท็ จริง ริ ของเหตุการณ์ทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ทั้งข้อมูลจากเอกสาร และหลักฐานทางโบราณคดี ศิลปกรรม ซึ่งยังไม่ได้ตรวจสอบว่าข้อมูลใด เป็นความจริง ข้อมูลใดเป็นข้อมูลเท็จซึ่งอาจเกิดจากผู้สร้างหลักฐาน ไม่มีความรู้หรืออาจจงใจปกปิด ปิ ข้อมูลจริง ข้อเท็จจริงจึงเป็นข้อมูลที่เป็น เรื่องราวในอดีตตามผู้สร้างหลักฐานเข้าใจ หรือเป็นข้อสรุปความคิด เห็น อาจรวมถึงข้อสันนิษฐาน และคำ อธิบายปะปนรวมอยู่ด้วยกัน


การวิเ วิ คราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริง ริ กับ กั ข้อเท็จ ท็ จริง ริ ของเหตุการณ์ทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ การวิเ วิ คราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริง ริ กับ กั ข้อเท็จ ท็ จริง ริ ของเหตุการณ์ทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์แม้จะให้ข้อมูล หรือคำ อธิบายว่าเกิดอะไรขึ้นในอดีต แต่ก็ไม่อาจสรุปได้ว่าข้อเท็จจริง นั้นคือความจริงตามที่ปรากฏในเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ทั้งหมด จึงต้องอาศัยการวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์เพื่อสรุป ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง โดยยึดเกณฑ์การ วิเคราะห์ ดังนี้


การวิเ วิ คราะห์ความจริง ริ และข้อเท็จ ท็ จริง ริ ของเหตุการณ์ทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์


3. การตีตีตีคตี วามหลัลั ลั ก ลั กฐานทางประวัวั วั ติ วั ติ ติศติ าสตร์ร์ ร์ร์ ความสำ คัญ คั ของการวิเ วิ คราะห์ข้อมูล และตีค ตี วามหลัก ลั ฐานทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ ความสำ คัญ คั ของการวิเ วิ คราะห์ข้อมูล และตีค ตี วามหลัก ลั ฐานทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลและการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์มี ความสำ คัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์มาก เพราะจะช่วยให้ผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์รับรู้ถึงข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์อย่าง ถ่องแท้และช่วยขยายขอบเขตของความรู้ที่มีอยู่เดิมให้กว้างขวางออกไป นอกจากนี้ การตีความจากหลักฐานที่ค้นพบใหม่ยังอาจเป็นการนำ เสนอ องค์ความรู้ใหม่ให้แก่ผู้สนใจอื่น ๆ อย่างไรก็ตามการวิเคราะห์ข้อมูลและ การตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์จำ เป็นต้องศึกษาหลักฐานอื่น ๆ ประกอบด้วย


ตัว ตั อย่างการตีค ตี วามข้อมูลจาก หลัก ลั ฐานทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ ตัว ตั อย่างการตีค ตี วามข้อมูลจาก หลัก ลั ฐานทางประวัติ วั ศ ติ าสตร์ บทความเรื่อง “อัจฉริยะของขุนหลวงตาก (พิจารณาจากผลการรบที่ เมืองพิษณุโลก พ.ศ. 2319)” ของศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช ในหนังสือ ข้อมูลประวัติศาสตร์ : สมัยบางกอก ได้วิเคราะห์และตีความสาเหตุที่สมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราชทรงเลือกเมืองบางกอก (ชื่อเดิมของกรุงธนบุรี) เนื่องจากไม่พบหลักฐานและพระราชพงศาวดารกรุงธนบุรีก็ไม่ได้กล่าวไว้ โดยตั้งประเด็นว่า “ทำ ไมพระองค์จึงทรงเลือกเมืองบางกอกไม่ทรงเลือก เมืองอื่น เช่น จันทบุรี เป็นราชธานี ความข้อนี้เราไม่มีเอกสารหลักฐาน ที่จะบอกให้เราทราบว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น”


หนังสือ ข้อมูลประวัติศาสตร์ : สมัยบางกอก ผลงานของศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช ดังนั้นผู้เขียนจึงวิเคราะห์ และตีความสาเหตุที่มีการเลือกเมือง บางกอก ซึ่งได้แก่ ปัจจัยทางด้าน ยุทธศาสตร์และด้านเศรษฐกิจ


สื่อการเรียนการสอน Powerpoint สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ ประวัติศาสตร์ ม.2 หน่วยที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ขอบคุณแหล่งที่มา ครูตั๊ก


Click to View FlipBook Version