The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nongploy.pathomkap, 2022-05-31 02:34:50

สื่อดิจิทัล

สื่อดิจิทัล

สื่อดิจิทัล
(Digital media)

สื่อดิจิทัล

สื่ อ ดิ จิ ทั ล ห ม า ย ถึ ง สื่ อ ที่ มี ก า ร นำ เ อ า ข้ อ ค ว า ม ก ร า ฟิก
ภ า พ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว เ สี ย ง ม า จั ด รู ป แ บ บ โ ด ย อ า ศั ย เ ท ค โ น โ ล ยี
ค ว า ม เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า ท า ง ด้ า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ สื่ อ ส า ร ท า ง
อ อ น ไ ล น์ ห รื อ ตั ว ก ล า ง ที่ ถู ก ส ร้ า ง ขึ้ น โ ด ย อ า ศั ย ค ว า ม
ก้ า ว ห น้ า ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ที่ นำ เ อ า ข้ อ ค ว า ม
ก ร า ฟิก ภ า พ เ ค ลื่ อ น ไ ห ว เ สี ย ง แ ล ะ วิ ดี โ อ ม า จั ด ก า ร ต า ม
ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ วิ ธี ก า ร ผ ลิ ต โ ด ย นำ ม า เ ชื่ อ ม โ ย ง กั น เ พื่ อ ใ ห้
เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น แ ล ะ ต ร ง กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห รื อ
สื่ อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ซึ่ ง ทำ ง า น โ ด ย ใ ช้ ร หั ส ดิ จิ ต อ ล แ ย ก แ ย ะ
ร ะ ห ว่ า ง “ 0 ” กั บ “ 1 ” ใ น ก า ร แ ส ด ง ข้ อ มู ล

ดิจิทัล ( DIGITAL) คืออะไร

คือ เทคโนโลยีอีเล็คโทรนิคส์ที่ใช้สร้าง เก็บ และประมวลข้อมูล
ในลักษณะ 2 สถานะ คือ
บวก (positive) และไม่บวก (non-positive)
-บวก (positive) แสดงด้วย เลข 1
-ไม่บวก (non-positive) แสดงด้วย เลข 0
ดังนั้น ข้อมูลส่งผ่าน หรือเก็บด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล เป็นการ
แสดงด้วยข้อความ 0 และ 1 แต่ละค่าของตำแหน่งสถานะเหล่านี้
เป็นการอ้างแบบ binary digital เป็นเลขฐาน 2 เลขฐานสองนั้น
ถูกนำมาใช้ในทางคอมพิวเตอร์ เพราะว่าเลข 0 กับเลข 1 ในหน่วย
ความจำตัวเก็บข้อมูล , การประมวลผล เลขฐานสองเป็นพื้นฐาน
ในการทำงานของคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของสื่อดิจิทัล

ประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิด ดังนี้

1.ข้อความ (Text)เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด หรือเนื้อหาของ
เรื่องที่นำเสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นำเสนอผ่าน
จอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้เลือกมากมายตามความ
ต้องการแล้วยังสามารถกำหนดลักษณะของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนาเสนอได้อีกด้วย
ซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ

2 . ภ า พ นิ่ ง ( S T I L L I M A G E ) เ ป็ น ภ า พ ที่ ไ ม่ มี ก า ร เ ค ลื่ อ น ไ ห ว เ ช่ น
ภ า พ ถ่ า ย ภ า พ ว า ด แ ล ะ ภ า พ ล า ย เ ส้ น เ ป็ น ต้ น ภ า พ นิ่ ง นั บ ว่ า มี บ ท บ า ท ต่ อ
ร ะ บ บ ง า น มั ล ติ มี เ ดี ย ม า ก ก ว่ า ข้ อ ค ว า ม ห รื อ ตั ว อั ก ษ ร เ นื่ อ ง จ า ก ภ า พ จ ะ ใ ห้
ผ ล ใ น เ ชิ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ห รื อ รั บ รู้ ด้ ว ย ก า ร ม อ ง เ ห็ น ไ ด้ ดี ก ว่ า น อ ก จ า ก นี้ ยั ง
ส า ม า ร ถ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม ห ม า ย ไ ด้ ลึ ก ซึ่ ง ม า ก ก ว่ า ข้ อ ค ว า ม ห รื อ ตั ว อั ก ษ ร ซึ่ ง
ข้ อ ค ว า ม ห รื อ ตั ว อั ก ษ ร จ ะ มี ข้ อ จำ กั ด ท า ง ด้ า น ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง แ ต่ ล ะ ภ า ษ า
แ ต่ ภ า พ นั้ น ส า ม า ร ถ สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ไ ด้ กั บ ทุ ก ช น ช า ติ ภ า พ นิ่ ง มั ก จ ะ แ ส ด ง อ ยู่
บ น สื่ อ ช นิ ด ต่ า ง ๆ เ ช่ น โ ท ร ทั ศ น์ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ห รื อ ว า ร ส า ร วิ ช า ก า ร
เ ป็ น ต้ น

3. เสียง ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นซ้า
กลับไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทา
งานด้านเสียง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและ
สอดคล้องกับเนื้อหาใน การนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดียนั้นเกิด
ความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยสร้างความน่าสนใจ
และน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมี
อิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่งดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์
ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่งสามารถนาเข้าเสียงผ่านทาง
ไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และวิทยุ เป็นต้น

4. ภาพเคลื่อนไหว ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหว
เพื่อแสดงขั้นตอนหรือปรากฏ การณ์ต่างๆ ที่เกิด
ขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของ
เครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการ
ให้เกิดแรงจูงใจจากผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะ
ต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติเฉพาะทางซึ่งอาจมี
ปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้างเกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่ต้องใช้
พื้นที่ในการจัดเก็บมากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า

5. วิดีโอ เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก
เนื่องจากวิดีโอในระบบดิจิตอล สามารถ นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ
(ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์
ประกอบชนิดอื่นๆ อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบ
มัลติมีเดียก็คือ การสิ้นเปลืองทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็น
จานวนมาก เนื่องจากการนาเสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real-
Time) จะต้องประกอบด้วยจานวนภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพต่อ
วินาที(Frame/Second) ถ้าหากการประมวลผลภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่าน
กระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนาเสนอภาพเพียง 1
นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ซึ่งจะทาให้ไฟล์มีขนาด
ใหญ่เกินขนาดและมีประสิทธิภาพในการทางานที่ด้อยลงนั้นเอง


Click to View FlipBook Version