ก า ร ส ร้ า ง ส ร ร ค์ บ ท เ พ ล ง ป ร ะ จำ ส ถ า บั น
ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย
ศูนย์วัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
การสร้างสรรค์บทเพลงประจาสถาบนั ให้สอดคล้องกับเอกลักษณม์ หาวิทยาลัย
ชิงชัย วิชิตกุล
ศนู ยว์ ฒั นธรรม มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ปีการศกึ ษา 2564
คานา
งานสร้างสรรคช์ ้ินน้ีไดท้ าขนึ้ เพือ่ แสดงความเปน็ เอกลักษณ์ของมหาวิทยาลยั และเพ่ือใหค้ นใน
สถาบนั ไดร้ ว่ มภาคภูมิใจไปกับปรัชญาและประวัติศาสตรก์ ารกอ่ กาเนดิ ของมหาวิทยาลยั แหง่ นี้ และมุ่งหวงั ให้
งานช้นิ นเ้ี ปน็ การขับเคลอ่ื นอารมณแ์ ห่งความรกั ความผูกพันธ์ และความสามัคคขี องหมู่สมาชกิ ทอี่ ยู่ร่วมกัน
เปน็ เครอ่ื งมือทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพในการปลูกฝังอุดมการณค์ วามคดิ ให้กับผฟู้ ังท่จี ะสง่ ต่อให้กบั นกั ศึกษารนุ่ ต่อรุ่น
และสรา้ งนวตั กรรมใหมข่ องบทเพลงประจาสถาบนั ท่ีใช้วฒั นธรรมดนตรตี ะวนั ออกผสมผสานกับดนตรี
ตะวนั ตก มาถา่ ยทอดเร่ืองราวในมหาวทิ ยาลยั ทาใหเ้ กิดมติ ิแห่งความรู้สึกท่ีสะท้อนรากเหง้าและตัวตน
ชิงชยั วชิ ิตกลุ
กรกฎาคม 2565
สารบญั หนา้
1
บทท่ี 1 บทนา 1
ความสาคญั ของปัญหา 2
วตั ถุประสงค์ 2
วิธีดาเนนิ การวจิ ยั 3
ประโยชนท์ ่คี าดว่าไดร้ ับ
4
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง
9
บทที่ 3 สรปุ และอภิปรายผลการสรา้ งสรรค์
18
บรรณานกุ รม
1
บทท่ี 1
บทนา
มนษุ ย์เป็นสิ่งมชี วี ิตที่มีความรู้สึกอารมณใ์ นการสร้างสรรค์ทางดนตรี อารมณ์สะเทือนใจ
ประสานกบั จนิ ตนาการของมนุษยท์ ี่มีต่อธรรมชาตแิ ละชีวิตไดก้ ่อใหเ้ กิดดนตรีขน้ึ และเป็นภาษาสากลที่ย่ิงใหญท่ ี่
ปรากฏอยู่ในสังคมของมนุษยชาตมิ นุษยช์ าตทิ ุกเผา่ พนั ธุไ์ ม่วา่ จะเปน็ เผ่าพนั ธ์ุทล่ี ้าหลังหรือเผ่าพนั ธุท์ ี่มอี ารยธรรม
ทงั้ ท่สี ูญสน้ิ ชาตพิ ันธุ์ไปแล้วหรอื ยังสืบทอดต่อพนั ธ์อย่จู นถึงปจั จบุ นั ต่างกม็ ีวัฒนธรรมทางดนตรจี ึงมคี วาม
แตกตา่ งกนั ไปตามลักษณะขององคป์ ระกอบทางสงั คมและวัฒนธรรมของตน
ดนตรีและบทเพลงจงึ ถอื ไดว้ า่ เป็นศิลปวัฒนธรรมอยา่ งหนึ่งทแี่ สดงออกถึงความเป็นอารยะของ
สังคมทุกยุคทุกสมัย และมวี ัฒนาการมาอยา่ งต่อเน่ือง เปน็ งานศิลปะทถี่ กู สร้างขน้ึ โดยใช้เสียงเปน็ สื่อในการ
ถ่ายทอดออกมา มักจะมาพร้อมกับความคิดและเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขนึ้ รายล้อมตัวผูป้ ระพันธ์ ดนตรีและบทเพลงจึง
เป็นเสมอื นวรรณกรรมของสังคม เป็นวรรณกรรมของยุคสมัย เปน็ สงิ่ ทม่ี คี ณุ ค่าต่อมนุษย์ในการปรงุ แตง่ ชวี ิตให้มี
ความสุข ผ่อนคลายความทุกข์ความโศกเศร้า แม้กระทงั่ สร้างความรกั ความสามัคคี ความเปน็ อตั ลกั ษณ์ของ
สถาบันไปจนถึงสงั คม ซง่ึ ในปจั จบุ ันสถาบันตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนและดารงอย่ใู นสังคม ต่างก็ได้จัดให้มีดนตรแี ละบท
เพลงประจาสถาบันของตนขึ้นเพือ่ ให้บุคคลในสถาบันนนั้ ๆ ได้ภาคภูมใิ จถงึ ความเป็นอารยะ และเอกลกั ษณ์ของ
สถาบนั ของตน
มหาวิทยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกียรติ เปน็ สถาบนั หนึ่งของสังคมทจ่ี ดั ต้ังขึ้นด้วยปณธิ านอนั แน่ว
แนข่ องมลู นธิ ฮิ วั่ เค้ียวปอ่ เตก็ เซีย่ งตึ๊งหรือมูลนธิ ปิ อ่ เต็กต๊งึ ท่ีสานกึ ในพระมหากรุณาธิคุณบรมกษตั รยิ ์ไทยและมุ่ง
บาเพ็ญประโยชน์ตอ่ สงั คมดว้ ยการกระจายโอกาสสร้างความเสมอภาคในระดบั อุดมศกึ ษา สง่ เสริมวฒั นธรรมดี
งามตามพืน้ ฐานพระพทุ ธศาสนาและบูชาคุณธรรมของบรรพชน มหาวิทยาลัยนเ้ี ล่อื มใสในบทบาทความร้รู อบ รู้
ลึก และความชานาญงานอนั เก้ือหนนุ คุณภาพของทั้งบุคคลและสังคมประชาชาติ จึงมุ่งม่ันพฒั นาประสทิ ธภิ าพของ
การศึกษานาไปสูค่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อสร้างสรรค์บัณฑิตที่รู้จรงิ ปฏิบัติงานไดจ้ รงิ และแสวงหา สะสม
ถ่ายทอดวิชาการอนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ มวลมนุษย์ บัณฑติ ของมหาวทิ ยาลัย จักเปน็ ผู้ประกอบด้วยความรู้ควบคู่
คณุ ธรรม เป็นแบบฉบับสมบูรณ์ของปัญญาชนผพู้ ร้อมทจ่ี ะอทุ ศิ ตนรับใชส้ งั คม ซึ่งทุกมหาวิทยาลัยลว้ นมี
ประวัติความเป็นมาเฉพาะตน บทเพลงประจาสถาบันคือหนึ่งในส่ิงที่สามารถบอกเล่าความน่าสนใจที่ของ
มหาวิทยาลัยได้อย่างงดงามโดยการใช้ บทเพลงท่ีมีเน้ือหากินใจ มีทานองไพเราะ และมีจังหวะดนตรีท่ีเหมาะสม
นั้น ย่อมมีผลต่อความรู้สึกของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลเป็นอย่างย่ิง ด้วยเหตุน้ี โรงเรียน มหาวิทยาลัย รวมทั้ง
2
องค์กรธุรกิจ และหน่วยงานต่างๆของรัฐและเอกชนจึงมีเพลงสถาบันเพื่อใช้ขับร้องร่วมกัน เป็นการขับเคลื่อน
อารมณ์แห่งความรัก ความผูกพัน ให้แก่หมู่สมาชิกของสถาบันนั้นๆ
บทเพลงและดนตรีจงึ เป็นรปู แบบหน่ึงของการสือ่ ความหมายที่มีการสร้างสรรค์คาในการถ่ายทอด
ความคิดอดุ มการณท์ าให้เกดิ ความเข้าใจรว่ มกนั บทเพลงประจาสถาบันก็จะเป็นเพลงประเภทหน่งึ ที่ผู้
ประพนั ธ์จงใจถา่ ยทอดความคดิ และอุดมการณ์ต่างๆโดยใช้คาในการสื่อความหมายเพ่ือให้ผู้ฟังเกดิ ความรสู้ กึ
มีอารมณ์รว่ มกบั อดุ มการณ์มีความรักและศรัทธาในสถาบันในทศิ ทางเดยี วกนั นอกจากนี้บทเพลงประจา
สถาบนั ยงั ผกู พันกบั เหตุการณ์และประวตั ิศาสตรท์ ่ีเกิดขน้ึ ดังนน้ั บทเพลงประจาสถาบันจึงมภี าษาท่ีมพี ลงั เป็น
เครื่องมอื ท่ีมีประสิทธิภาพในการปลูกฝังอุดมการณค์ วามคิดใหผ้ ู้ฟงั เกิดอารมณร์ ว่ มคล้อยตามด้วยการส่อื
ความหมายด้วยภาษาท่ีไพเราะชัดเจนและลกึ ซ้ึงมากกวา่ การใช้ภาษาแบบอื่น
จากแนวคิดดงั กล่าวข้างตน้ ผู้สรา้ งสรรคจ์ ึงมแี รงบนั ดาลใจ ท่ีจะสรา้ งบทเพลงให้สอดคล้องกับความ
เป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลยั โดยผูส้ รา้ งสรรคเ์ ลอื กใช้เพลง “รม่ โพธิท์ อง” ซึ่งเปน็ หนึ่งในบทเพลงประจา
มหาวิทยาลัยมาเรยี บเรียง เพื่อแสดงถึงภมู ิหลงั ประวตั ศิ าสตร์ ทีร่ วมกนั อย่ใู นสถาบนั แห่งน้ี เพ่อื ทาใหผ้ ูฟ้ ังเกดิ
ความร้สู กึ มีอารมณร์ ่วมกับอุดมการณ์ ความรัก และศรทั ธาในสถาบัน เป็นพนื้ หลงั ในการสนับสนนุ
ประวัติศาสตร์การกอ่ กาเนิด ปรชั ญา และปณิธานของมหาวทิ ยาลยั
วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย
1. เพอ่ื สรา้ งสรรคบ์ ทเพลงประจาสถาบันทส่ี ง่ เสริมความเป็นเอกลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัย
2. เพอ่ื สร้างสรรค์งานท่ใี ช้ในการสนบั สนุนประวัตศิ าสตรก์ ารก่อกาเนดิ ปรชั ญา และปณธิ านของ
มหาวิทยาลัย
3. เพื่อสร้างนวตั กรรมใหม่ของบทเพลงประจาสถาบนั ท่ีใช้ดนตรีตะวันออกผสมผสานกบั ดนตรี
ตะวนั ตก
วธิ ดี าเนนิ การวจิ ยั
ใชร้ ะเบยี บวิธีวจิ ยั เชงิ คุณภาพดว้ ยการศกึ ษาข้อมลู เอกสารของการกอ่ กาเนดิ มหาวิทยาลัยหวั เฉยี ว
เฉลิมพระเกยี รติ และนาเสนอผลการวจิ ัยด้วยการสรา้ งสรรค์บทเพลงด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Cubase
10.5) และอธิบายงานดว้ ยการพรรณนาวเิ คราะห์ (Descriptive Analysis)
3
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั
1. ไดบ้ ทเพลงประจาสถาบนั ทีส่ ่งเสริมความเปน็ เอกลักษณข์ องมหาวทิ ยาลยั
2. ไดช้ นิ้ งานทม่ี ีส่วนในการสนบั สนุนประวัติศาสตร์การก่อกาเนิด ปรัชญา และปณธิ านของ
3. ไดน้ วัตกรรมใหมข่ องบทเพลงประจาสถาบันที่ใชด้ นตรตี ะวันออกผสมผสานกับดนตรตี ะวันตก
4
บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง
บทเพลงถือเปน็ สมบัติอันมคี า่ ของชาตทิ ี่สะท้อนถึงวัฒนธรรมของผู้คนในยคุ น้ันนัน้ บทบาท
หนา้ ทขี่ องเพลงต่อสงั คมมีอยู่หลายด้านไม่วา่ จะเปน็ การให้ความสขุ สนานผ่อนคลายความเครยี ดให้กบั ผคู้ นใน
สังคมการใช้เพลงเปน็ สือ่ กลางในการชว่ ยบาบัดผู้ปว่ ยหรอื แม้กระทงั่ การใชเ้ พลงเพือ่ ส่ือในการสรา้ งพลงั
บางอย่างให้กับกลมุ่ คนและสถาบันเพื่อสรา้ งความสานกึ ให้เกดิ ขน้ึ กบั สงั คมประเทศชาติจึงเหน็ ได้วา่ เพลงหรือ
กระบวนการต่างๆทเี่ ก่ียวข้องกบั ดนตรนี ั้นเปรยี บเสมือนสถาบันหนงึ่ ในโครงสร้างทางสงั คม มหาวิทยาลยั
หวั เฉยี วเฉลิมพระเกยี รติถือเป็นสถาบนั หนงึ่ ของสงั คมท่ตี ง้ั ข้ึนโดย " มูลนิธฮิ ั้วเคี้ยวป่อเต็กเซยี่ งต๊ึง " ซง่ึ เป็น
องค์กรการกศุ ลจนี ทใี่ หญ่ที่สดุ ในสงั คมไทย และนโยบายอันแน่วแน่ ทจี่ ะสง่ เสรมิ ดา้ นการศกึ ษา เพอ่ื พัฒนา
ทรพั ยากรมนุษยใ์ นโครงการ "รบั ใช้สงั คมและพัฒนาการศึกษา" มหาวิทยาลัยหวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติมีประวตั ิ
ในการจดั การศึกษามากว่า 50 ปี โดยมีพัฒนาการซ่ึงแบง่ ออก ได้เปน็ 3 ระยะ คือ
พ.ศ. 2485 จัดต้ังโรงเรียนผดุงครรภ์อนามยั โรงพยาบาลหวั เฉยี วมีวัตถุประสงคเ์ พื่อผลติ
เจา้ หนา้ ท่ผี ดุงครรภ์ ให้มีความรู้ ความสามารถดา้ นการพยาบาล และการผดุงครรภ์ เพ่อื นาความร้ไู ปใชใ้ ห้เกดิ
ประโยชน์แกส่ งั คม และประเทศชาติ
พ.ศ. 2525 คณะกรรมการมูลนธิ ิป่อเต็กต๊ึง ไดต้ ระหนักถึงภารกิจของรัฐบาล ในการพัฒนา
ประเทศ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 4 ( พ.ศ. 2520 - 2524 ) จงึ ไดข้ ยายโรงพยาบาล
หัวเฉียว เดมิ ให้เป็นโรงพยาบาลทั่วไป เปดิ บริการรักษา และให้คาแนะนาแกผ่ มู้ าขอรบั บรกิ ารทุกสาขา
การแพทย์ พร้อมกับการขยายโรงเรียนผดงุ ครรภอ์ นามัย ให้เปน็ วิทยาลยั พยาบาล มีคณะพยาบาลศาสตร์ เปิด
สอนหลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาพยาบาลและผดุงครรภ์ และให้ชอื่ วิทยาลยั วา่ “ วิทยาลยั หวั เฉยี ว
ตอ่ มาได้เปิดคณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรห์ ลกั สตู รสังคมสงเคราะห์ศาสตรบณั ฑิตอีกคณะหนึ่ง
พ.ศ. 2533 เป็นวาระที่มลู นิธิป่อเตก็ ต๊ึงดาเนินการมาครบรอบ 80 ปี มูลนิธฯิ ไดม้ นี โยบาย
แน่วแน่ ทจ่ี ะส่งเสริม และขยายขอบข่ายงานดา้ นการศึกษา ในระดับอุดมศึกษา และเพ่ือทลู เกลา้ ทลู กระหม่อม
ถวายเปน็ พระราชกุศลและเฉลมิ พระเกยี รติ น้อมราลึกถึงพระมหากรุณาธคิ ณุ ของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยหู่ วั ฯ และสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ติ ฯ พระบรมราชนิ ีนาถ มลู นธิ ิปอ่ เต็กตงึ๊ จงึ มมี ตใิ ห้ยกฐานะวทิ ยาลยั หวั
เฉียวขึ้นเป็น “ มหาวิทยาลัย ” และไดร้ ับอนุมัติจาก ทบวงมหาวทิ ยาลยั ให้จดั ต้ังเปน็ มหาวิทยาลัย และไดร้ ับ
พระมหากรณุ าธิคณุ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน ช่ือ “ มหาวทิ ยาลยั หวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ ”
5
เมอื่ วันท่ี 11 พฤษภาคม 2535 นับเป็นมิง่ มงคลสงู สดุ แกส่ ถาบนั และมคี วามหมายต่อชาวจีนทีเ่ ขา้ มา อย่ใู ตร้ ม่
พระบรมโพธสิ มภารเปน็ อย่างย่งิ
"หัวเฉียว" หมายถึง ชาวจีนโพน้ ทะเลและเปน็ ชอ่ื ที่มลู นิธิฯ ใชเ้ ปน็ ชื่อของโรงพยาบาลและ
วทิ ยาลยั ของมูลนิธฯิ อย่แู ลว้
ปณธิ าน
“เรียนร้เู พ่ือรบั ใช้สังคม” มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ จัดตั้งข้นึ ด้วยปณิธานอัน
แนว่ แนข่ องมูลนธิ ิฮ่ัวเคี้ยวป่อเตก็ เซีย่ งต๊ึงหรือมลู นิธปิ ่อเต็กตึ๊ง ท่สี านึกในพระมหากรุณาธิคุณบรมกษตั รยิ ไ์ ทย
และมงุ่ บาเพ็ญประโยชนต์ อ่ สังคมด้วยการกระจายโอกาส สร้างความเสมอภาคในระดับอุดมศกึ ษา ส่งเสริม
วฒั นธรรมดงี ามตามพื้นฐานพระพทุ ธศาสนาและบูชาคณุ ธรรมของบรรพชน
มหาวิทยาลัยน้ี เล่ือมใสในบทบาทความรรู้ อบ รู้ลึก และความชานาญงานอันเกอื้ หนนุ
คณุ ภาพของทงั้ บุคคลและสงั คมประชาชาติ จึงมุ่งมน่ั พัฒนาประสิทธิภาพของการศึกษานาไปสคู่ วามเป็นเลิศ
ทางวชิ าการ เพ่ือสร้างสรรค์บัณฑิตที่รจู้ รงิ ปฏิบัตงิ านไดจ้ ริง และแสวงหา สะสม ถ่ายทอดวิชาการอนั เป็น
ประโยชนต์ อ่ มวลมนุษย์ บณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลัย จกั เป็นผปู้ ระกอบดว้ ยความรู้ควบคู่คุณธรรม เปน็ แบบฉบบั
สมบูรณข์ องปญั ญาชนผู้พร้อมทจ่ี ะอุทิศตนรบั ใชส้ ังคม เพ่ือความผาสุกของเพอ่ื นร่วมโลกไดอ้ ยา่ งเตม็ ภาคภูมิ
วิสัยทศั น์
มหาวทิ ยาลยั เพอ่ื สงั คมที่เปน็ ศนู ย์กลางการศึกษาด้านจีนศึกษาและวทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพภายในปี 2575
อตั ลกั ษณ์
1. ยึดมั่นในคณุ ธรรม 6 ประการ คือ ขยัน อดทน ประหยดั เมตตา ซอ่ื สตั ย์ กตัญญู
2. ปฏบิ ัติตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง 3 คุณลักษณะ คือ พอประมาณ มีเหตุผล และมภี ูมิคมุ้ กนั
3. เรยี นรู้เพ่อื รับใช้สังคม
เอกลกั ษณ์มุ่งเนน้ ด้านจีน
มี 5 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักสูตรการเรียนการสอน ด้านการวิจัย ดา้ นการบรกิ ารวชิ าการ ด้านการทานุ
บารุง ศิลปวัฒนธรรมไทย-จนี ดา้ นการประชาสัมพันธเ์ ผยแพร่และเป็นแหล่งข้อมูลในเรื่องความเป็นจนี
6
มหาวทิ ยาลัยหวั เฉยี วเฉลมิ พระเกยี รติ มีความเลือ่ มใสแรงกล้าในการใชป้ ัญญา เพื่อขจดั ปัด
เป่า ความทกุ ข์ยากในโลก ดว้ ยความเมตตาการญุ และดว้ ยน้าใจใสสะอาด ปราศจากความเศร้าหมอง ต้นโพธิ์
เป็นสัญลกั ษณ์แห่ง รงุ่ อรุณของความรูแ้ จ้งเหน็ จรงิ อนั นาความสวา่ ง สะอาด และสงบมาสู่โลก เพราะการตรัสรู้
พระอนุตตรสมั มาสัมโพธิญาณ เกดิ ขึ้นภายใต้ตน้ ไมน้ ี้ ด้วยตระหนักในคุณปู การของ โพธิพฤกษ์ และด้วยสานึก
เต็มเปย่ี ม ในความรม่ เย็นใต้พระบรมโพธสิ มภาร แหง่ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลย
เดชมหาราช บรมนาถบพิตร และขอประกาศสถาปนา " ตน้ โพธ์ิ " เปน็ ตน้ ไมป้ ระจามหาวิทยาลยั เพื่อแสดง
ความสานึกในพระมหากรุณาธคิ ุณท่ีทรงมตี ่อพสกนิกรชาวไทย มหาวทิ ยาลยั หัวเฉยี วเฉลมิ พระเกียรติจงึ ได้
จัดสรา้ งประตมิ ากรรมเปน็ รปู ต้นโพธิ์ทอง และประดิษฐานให้เห็นเดน่ ชดั หนา้ ทีป่ ระชมุ ใหญ่ ของมหาวทิ ยาลยั
โดยใหช้ ื่อประตมิ ากรรมน้ีวา่ “พระบรมโพธิสมภาร” อันเป็นสัญลักษณแ์ ทน พระมหากรณุ าธิคุณของ
พระมหากษัตรยิ ์ ที่ทรงปกปอ้ งคุ้มครองให้ความร่มเยน็ เป็นสุข ตอ่ พสกนกิ รท้ังชาวไทย และชาวต่างประเทศ
โดยเฉพาะชาวจีนท่เี ขา้ มาพ่งึ พระบารมี ได้ต้งั หลักแหล่ง ประกอบอาชีพเป็นปกึ แผน่ ในประเทศไทย เป็นเวลา
ชา้ นาน ผู้วิจัยจงึ ไดแ้ รงบันดาลใจจากเรอื่ งราวตา่ งๆ ของการกอ่ กาเนดิ มหาวิทยาลัย จงึ เลือกเพลง “รม่ โพธ์
ทอง” มาเรียบเรยี งดนตรีใหม่เพือ่ ให้สอดคล้องกับความเปน็ เอกลกั ษณ์ของมหาวิทยาลัย นอกจากนัน้
มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติยังมีความเชื่อมนั่ ว่า ประติมากรรม “พระบรมโพธสิ มภาร” นี้เป็น
อนุสรณแ์ ห่ง ความจงรักภกั ดีของพสกนิกรทกุ หม่เู หลา่ ต่อองค์พระมหากษตั ริยไ์ ทย ผ้ทู รงทศพธิ ราชธรรม
ตลอดไปชัว่ กาลนาน
ความสาคญั ของดนตรี
ดนตรี เป็นองค์ประกอบ หนง่ึ ในการปรุ งแตง่ จิตให้มีความสมบูรณ์ ควบคู่กับกาย
นอกเหนือไปจากปัจจัยสาคัญท่ชี ่วยมนุษย์ในการดารงชีวติ คือ อาหาร เครื่องนงุ่ หม่ ยารักษาโรค และท่อี ยู่
อาศยั ความสาคัญของดนตรีแบ่งออกเป็ น 7 ดา้ น (สุกรี เจริญสขุ , 2532) ได้แก่ 1. ดนตรกี บั ชวี ิตประจาวนั
ดนตรเี ปน็ ส่วนหน่ึ งในชีวิตของมนษุ ยส์ ามารถพบเห็นความ เก่ียวข้องในชวี ติ ประจาวัน เชน่ การฟังเพลงจาก
วทิ ยุ ดูโทรทศั น์ รว่ มงานสังสรรค์ร่ืนเริงประกอบ พธิ กี รรม หรือระหว่างท างาน เช่น เพลงเก่ยี วข้าว เพลงเก็บ
ฝกั ข้าวโพด เพลงปนั่ ฝ้าย เปน็ ต้น (ไขแสง ศุขวฒั นะ, 2541) นอกจากน้ีในขณะอยู่คนเดียวเราอาจเพลดิ เพลนิ
กับเสียงเพลงได้ เช่น การครวญเพลง หรอื ฟังเพลงกล่อมนอน เป็นต้น
ดนตรีกับปรชั ญาชีวิต
คนตะวนั ตกเช่ือกันวา่ ดนตรเี ป็นเครอ่ื งมอื นาพาวิญญาณกลับไปสู่พระเจา้ ในสงั คมตะวันตก
ดนตรีเปน็ เรือ่ งของจติ วญิ ญาณท่ีเกี่ยวข้องกบความสะอาด ความสงู ส่ง ของดนตรี ความสูงสง่ ของดนตรที าให้
ดนตรีเจรญิ ในส่วนของดนตรที ีเ่ ก่ียวข้องกบั จติ ท่านพุทธทาสกลา่ วไวว้ ่า “ดนตรี และศิลปะบริสทุ ธม์ิ คี ุณ
สนับสนนุ ความมีจิตว่าง ” (สุกรี เจรญิ สขุ , 2532) ดังนั้น เมื่อดนตรหี ยาบๆ ก็มีโอกาสทาใหจ้ ิตสมั ผัสกับดนตรี
7
หยาบตามไปด้วย ในทานองเดยี วกัน ดนตรที ีล่ ะเอียดอ่อนเม่อื มีโอกาสสัมผัสกับจติ ก็มี โอกาสทาให้จติ
ละเอียดอ่อนตามไปดว้ ย ดนตรจี งึ เป็นส่ือทนี่ าไปสู่ความดาหรือความขาวได้
ดนตรีกบั ศาสนาและพธิ กี รรม
เมื่อดนตรสี ามารถเป็นส่ือชักนาไปสคู่ วามดาหรือความขาว นักการศาสนาจึงนาเอาดนตรีไป
เป็นอุปกรณก์ ารสอน ปรุงแตง่ ท่จี ะช่วยให้คนเขา้ ใจศาสนาง่าย ข้ึนในรูปของเพลงสวด ดนตรปี ระกอบพธิ ีกรรม
ในพทุ ธศาสนากม็ เี พลงตระและเพลงหน้าพาทย์ เป็นตน้ ในโลกตะวนั ตก ถือไดว้ ่าดนตรีศาสนามสี ว่ นสาคัญ
ทาใหศ้ าสนาครสิ ตเ์ จรญิ รุ่งเรอื งตั้งแต่ สมัยยโุ รปจนถึงปลายศตวรรษที่ 19 (ไขแสง ศุขวัฒนะ, 2541)
ดนตรีกบั การเมือง
เพลงปลุกใจ ปลกุ ศิลปวฒั นธรรม ความสามัคคขี องคนในสังคม เพลงประจาชาติ เพลง
เกียรตยิ ศ ล้วนแลว้ แตเ่ ปน็ ดนตรีทเ่ี กยี่ วข้องกบการเมืองท้ังสิน้ นกั ปราชญ์ ขงจ้อื กลา่ วไว้ว่า “จากประสบการณ์
ของมนุษยช์ าติหลายศตวรรษช้ใี หเ้ ห็นวา่ ไม่มสี ่งิ ใดเชอื่ มความสัมพนั ธ์ของมนุษย์กระชบั ได้ดีเทา่ เสียงดนตรี
และเสียงเพลง ดนตรนี าความสามคั คสี ู่ปวงชน ดนตรเี ปน็ ภาษาสากลท่ีทุกคนรบั รู้ได้ สญั ลักษณ์เปน็ สื่อทาง
ภาษา ในขณะท่ดี นตรีเป็นสอื่ ทางหัวใจ”
ดนตรีกบั ธรุ กิจ
ปจั จุบันธุรกจิ เปน็ ปจั จยั สาคัญในการดารงชวี ิต เม่ือมีเสยี งดนตรีย่อมมี ธุรกิจดนตรเี ขา้ มา
เกีย่ วขอ้ ง เช่น การโฆษณาเพลง เทป แผ่นเสียง วิทยุโทรทศั น์ ธุรกิจมสี ่วนกระตุน้ ให้มนุษยเ์ รียนร้ดู นตรีได้ท้ัง
ทางบวกและทางลบ ตลอดจนเป็นเครือ่ งมอื ท าให้คุณภาพของดนตรี เปลยี่ นแปลงได้
ดนตรีกบั การศึกษา
ดนตรีมสี ว่ นชว่ ยส่งเสรมิ ความฉลาดของผูเ้ รยี นจากการศกึ ษา พบว่าดนตรี ช่วยสง่ เสรมิ
พฒั นาการทางสมองการเรยี นรู้การใชจ้ นิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรคข์ องเด็กโดยตรงกจิ กรรมดนตรีและ
การเคลือ่ นไหวจะช่วยพัฒนาสมองซีกซ้ายและขวาให้ทางาน อยางสมดุลขณะฟังดนตรเี ด็กจะรสู้ กึ ผ่อนคลาย
ปล่อยความคิดจนิ ตนาการไปตามบทเพลงซง่ึ ส่งผลดี ตอ่ สมองซีกขวาสว่ นตวั โนต้ หรือจงั หวะเคาะดนตรจี ะช่วย
กระตนุ้ การทางานของสมองซีกซา้ ยด้าน ภาษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ดนตรีกับสถาบนั หรอื องค์กรทางสังคม
ดนตรแี ละบทเพลงจงึ เป็นเสมือนวรรณกรรมของสังคม เป็นวรรณกรรมของยุคสมัย เป็นสิ่งทีม่ ี
คณุ ค่าต่อมนุษย์ในการปรุงแต่งชีวิตใหม้ คี วามสขุ ผ่อนคลายความทกุ ขค์ วามโศกเศร้า แมก้ ระทงั่ สรา้ งความรกั
ความสามัคคี ความเปน็ อตั ลักษณข์ องสถาบนั ไปจนถึงสงั คม ซ่งึ ในปจั จุบนั สถาบันต่างๆ ทเี่ กิดขึ้นและดารงอยู่
8
ในสังคม ตา่ งก็ได้จัดให้มดี นตรแี ละบทเพลงประจาสถาบนั ของตนข้นึ เพื่อให้บุคคลในสถาบันน้ันๆ ได้ภาคภมู ใิ จ
ถึงความเปน็ อารยะ และเอกลักษณ์ของสถาบนั ของตน
จากทงั้ หมดทก่ี ล่าวมาจึงสามารถสรุปได้ว่าบทเพลงเปน็ ส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรมมนุษย์ได้
สร้างสรรค์ขนึ้ มาเพอื่ ตอบสนองความรสู้ ึกนกึ คิดแรงบันดาลใจที่ไดจ้ ากสิ่งแวดล้อมในสังคมของตน
9
บทท่ี 3
สรุปและอภปิ รายผลการสร้างสรรค์
งานประพันธเ์ พลงใช้ระเบยี บวิธวี จิ ยั เชิงคณุ ภาพมลี กั ษณะเปน็ งานสรา้ งสรรค์ผลงานทางดุริ
ยางคศิลปแ์ ละพรรณนาบรรยายความเรยี ง โดยมีกระบวนการสรา้ งสรรค์จากบทประพนั ธ์จากการเรียนรู้
ตีความนาไปสู่การปฏิบัติดนตรีและถ่ายทอดโดยมีรายละเอียดดังน้ี
ขั้นท่ี 1 การเรยี นรู้ศึกษาประวัตมิ หาวิทยาลัยเพื่อคน้ หาแรงบันดาลใจในการเรียบเรียง
เสียงประสาน
ขน้ั ท่ี 2 การตีความวิเคราะห์ สงั เคราะห์เน้ือหาของบทเพลงมหาลัยและบรบิ ทแห่งการ
กอ่ กาเนดิ เพื่อนามาสรา้ งสรรค์ใหเ้ ข้าใจสาระและองคป์ ระกอบและประพันธ์เพลง
ที่มาจากแรงบนั ดาลใจจากการศึกษาประวัตมิ หาวทิ ยาลัย
ขน้ั ท่ี 3 การเรยี บเรยี งนามาเรียบเรียงผา่ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (คิวเบสเวอรช์ ่นั 10.5) เพื่อ
ทาการบนั ทึกเสยี ง
ขน้ั ท่ี 4 ส่งตอ่ ผลงานการเรยี บเรียงเผยแพร่ทางสอ่ื ออนไลน์
การเรียนรู้ การตคี วาม การเรยี บเรยี ง การส่งตอ่ เผยแพร่
ในการสร้างสรรคบ์ ทเพลงผเู้ รียบเรยี งพยายามรกั ษาเอกลกั ษณแ์ ละความรู้สกึ ถึงความจนี
เอาไว้ในการกาหนดทศิ ทางของการเรยี บเรยี ง โดยใชเ้ สยี งของเคร่ืองดนตรีจนี เลน่ ทานองตัดกบั เนือ้ ร้องเปน็
ช่วงๆ บนพื้นคอร์ดทใี่ ช้เปียโน และเสยี งประสานเพอื่ ทาใหเ้ พลงมคี วามร่วมสมัย และเสยี งประสานนั้นตอ้ งใช้
ความพิถีพิถันเพ่ือไมใ่ หค้ อรด์ และเสยี งประสานที่เปล่ียนไปทาลายความต่อเนื่องของทานอง และเพ่ือสง่ เสริม
บทประพนั ธ์ทสี่ ะท้อนเอกลกั ษณข์ องมหาวิทยาลัย ผูป้ ระพนั ธเ์ พลงจึงกาหนดใหบ้ ทเพลงนีใ้ ชส้ ังคตี ลักษณแ์ บบ
AB ซ่งึ เป็นสงั คตี ลักษณ์ที่ไม่มีการยอ้ นท่อนบทประพันธ์เพลงมีท้งั หมด 55 ห้อง ทงั้ นี้ ท่อน A มีจานวน 38 ห้อง
และท่อน B จะมีจานวน 8 ห้อง การแบ่งจานวนห้องที่ไม่เท่ากันน้ี ทาใหไ้ มส่ ามารถคาดเดาทศิ ทางของทานองได้
ง่ายเหมือนกับบทเพลงทั่วไป ซงึ่ สอดคล้องกบั การเดนิ ทางจากยงั มิติอ่นื ท่ีไมม่ ผี ูใ้ ดทราบว่าหนทางนั้นเป็นเช่นไร
ทง้ั น้ีกาหนดให้ทอ่ นบทนามีจานวน 8 ห้อง เพือ่ ช่วยผู้ฟังรูส้ กึ ถึงชว่ งเร่ิมตน้ และเพื่อให้การถา่ ยทอดเน้ือหา
เป็นไปอย่างราบเรียบผปู้ ระพันธเ์ พลงจงึ เลือกใชอ้ ตั ราจงั หวะ 4/4 ความเร็วประมาณ 64 bpm สาหรับการ
สรา้ งสรรคบ์ ทประพันธ์เพลงนี้ เป็นบทเพลงช้าทใ่ี ห้ความรสู้ ึกอบอนุ่ และเรยี บงา่ ย อยบู่ นกุญแจ-เสียง A เมเจอร์
10
ตารางท่ี 1 สังคตี ลักษณ์ประพันธ์บทเพลง “รม่ โพธท์ อง”
ท่อนนา ท่อน A1 ท่อน A2 ท่อน B ทอ่ น A3
8 หอ้ ง 8 ห้อง 8 ห้อง 8 หอ้ ง 14 ห้อง
กระบวนการเรียบเรียงบทเพลงประจาสถาบัน “รม่ โพธท์ อง”
1. การกาหนดรปู แบบของเครื่องดนตรที ่นี ามาใชใ้ นการเรียบเรียง
1.1 กเู่ จิง
1.2 ซอเอ้อหู
1.3 เปยี โน
1.4 เชลโล่
ในชว่ งต้นของการขึ้นเพลงก่อนท่ีจะเข้าสเู่ น้ือร้องจะเปน็ การขับร้องเพลงประสานเสยี งในลักษณะ
สแี นวเกรนิ่ นาและใชเ้ คร่ืองดนตรีจนี กู่เจิงในการค่อยๆ นาพาเข้าไปสู่ทานองท่เี ปลีย่ นบนั ไดเสียงด้วยเอ้อหู โดย
การร้อยเรียงและให้ไพเราะต่อเนือ่ งเพื่อทจ่ี ะนาเข้าส่บู ทเพลง
องค์ประกอบของดนตรี ท่อนนา
11
โน้ตประสานเสียงทอ่ นนา
ในท่อนนาจะใช้การขับร้องประสานเสียงนาเข้าสู่เครื่องดนตรีจีนซ่ึงจะมีท่วงทานองท่ีเช่ืองช้าและ
เมื่อใส่ดนตรีจีนเข้าไปจะทาให้อารมณ์เป็นไปในทางสุขุม เยือกเย็น เพ่ือนาเข้าสู่เน้ือหาในบทเพลง
องคป์ ระกอบทอ่ น A1
12
เนื้อเพลงท่อน A1
เฉลิมพระเกียรติ นามพระราชทาน
เทดิ พระบริบาล มงคลสมยั
หวั เฉยี วมหาวิทยาลัย ก่อกาเนดิ ภายใต้พระบารมี
เนือ้ เพลงสองวรรคแรกสะท้อนใหเ้ หน็ ถึงการก่อกาเนิดของมหาวิทยาลยั แหง่ นี้ และโครงสรา้ งของใน
ทอ่ น A1 หรือร้องท่อนแรกจะใชเ้ สียงเปยี โนในการคมุ ไปกับเสียงรอ้ งโดยจะมีเสยี งกู่เจิงมาบรรเลงสลบั ในชว่ ง
ท้ายของท่อนและมีเสยี งซอเอ้อหูมาสอดประสานเพอื่ จะเป็นสะพานเช่ือมไปสู่ท่อน A2
เปียโนท่อน A1
13
องค์ประกอบท่อน A2
เน้ือเพลงท่อน A2
ร่มโพธ์ิทองสัญลักษณ์ประจักษ์กรุ่น พระกรุณาธิคุณอุ่นเกสี
ปณิธานพันผูกปลูกความดี ชุบชีวิตช่ืนบานด้วยธารรัก
ในทอน A2 ลกั ษณะโครงสร้างของดนตรจี ะคล้ายกบั ท่อน A1 และทางเดินคอรด์ จะไปในทิศทาง
เดียวกันจะแตกตา่ งกันในช่วงห้องสุดทา้ ยก่อนที่จะนาเขา้ สู่ทอ่ น B ในทอน A2 จะมีการเพ่มิ เสียงประสานใน
4 ห้องสดุ ทา้ ยกอ่ นทจ่ี ะนาเข้าสทู่ า่ นบี
14
เปียโนท่อน A2
15
องค์ประกอบทอ่ น B
เนื้อเพลงท่อน B
ร่วมศรัทธารว่ มมือกันช่วยสรรค์สร้าง ร่วมหนทางใฝ่รู้สู่ฝึกฝน
ท้ังสืบทอดศิลป์วัฒนธรรมม่ิงมงคล เราเตรียมตนเพื่อรับใช้ในสังคม
ในท่อน B ได้ใชเ้ ครื่องดนตรีเชลโลซงึ่ เป็นกลมุ่ เครอื่ งสายตะวันตกมาเล่นสอดประสานกบั คาร้อง
ผสมผสานกบั การประสานเสียง 4 แนว เพอ่ื เพมิ่ ความทรงพลัง และเน้นน้าหนักของเนื้อหาในการถ่ายทอด
ความหมาย ปรชั ญา และปณิธานของมหาวิทยาลยั
16
เปียโนท่อน B
17
องค์ประกอบทอ่ น A3
ในทอ่ น A3เปน็ การกลับมานาทานองและเนท้อร้องท่อน A1 ใช้ซา้ เพอื่ ทจ่ี ะยืนยนั ถงึ ประวัตศิ าสตรข์ อง
การก่อกาเนิดของมหาวิทยาลัยแห่งนี้
สรุปผล
บทเพลงประจาสถาบันเปน็ สง่ิ ซ่งึ สะท้อนจดุ ยนื ปรัชญา และปณิธานของการก่อกาเนิดและ
ทาให้เห็นถึงบทสรุปความสาคัญทเ่ี ปน็ องค์รวมของสถาบันน้ันๆ กล่าวไดว้ ่าบทเพลงประจาสถาบนั
เปรียบเสมือนกระจกสะท้อนสภาพของสถาบัน โดยในการประพนั ธ์ไม่มีกฎเกณฑท์ ่ีตายตัวขึ้นอยกู่ ับ
แรงบรรดาลใจทไี่ ดร้ บั จากการศกึ ษาข้อมลู ปรัชญา ปณธิ าน และประวัติศาสตร์ของสถาบัน ทานองเพลง
ท้งั หมดของบทเพลงนีเ้ ปน็ ลักษณะทานองทีเ่ รยี บงา่ ย ซ่ึงในการสรา้ งสรรค์ทานองท่ีมีลักษณะโดดเดน่ น้นั ไม่
จาเป็นต้องใช้คอรด์ ยากและซับซอ้ นเสมอไป เพียงแต่ตอ้ งอาศัยความพอดีและความเหมาะสมของทุก
องคป์ ระกอบในเพลงโดยบทเพลงจะต้องนาเสนอความหมายและสามารถอธบิ ายไดว้ ่าสิ่งทสี่ ร้างสรรคข์ นึ้ มานนั้
ต้องการที่จะส่ือถึงอะไร ผู้สรา้ งสรรค์จึงใชค้ อร์ดทเ่ี รียบงา่ ย ตรงไปตรงมาในการเลา่ เร่ือง ถ่ายทอดเน้ือหา และ
เปน็ เพียงพน้ื รองรบั เสยี งเครือ่ งดนตรจี ีนและเน้ือหาทจี่ ะส่อื เทา่ นั้น ซ่ึงนอกจากจะสอดแทรกเครื่องดนตรจี ีน
ในระหวา่ งทานองแล้วผู้เรียบเรยี งยังได้ทาการใช้เสียงประสาน 4 แนวในการผสมผสานให้บทเพลงมีความ
น่าสนใจและเพิ่มสสี ันให้กบั บทเพลงมากยงิ่ ขึ้น และการท่ีผู้สรา้ งสรรค์ได้เลอื กบทเพลงช่ือว่า “ร่มโพธท์ิ อง”
นามาเรยี บเรียง ตีความ และนาเสนอใหม่ เพราะบทเพลงน้ีมที ่วงทานองท่ีไพเราะและมีบทร้องที่มคี ุณค่า
สามารถทาให้ผู้ฟังที่อย่ใู นบริบทเดียวกันรสู้ ึกสะเทอื นอารมณ์และคล้อยตามในการประพันธ์ของดนตรีไดง้ า่ ย
และหวังว่างานชิน้ น้ีจะเกิดประโยชน์และเป็นแนวทางในการศึกษาสาหรบั ผทู้ ี่สนใจในการคดิ พัฒนาต่อยอดใน
การสร้างสรรค์บทเพลงอืน่ ๆ ของประจาสถาบันต่อไป
18
บรรณานกุ รม
ณรงคฤ์ ทธ์ิ ธรรมบตุ ร. (2552). การประพนั ธ์เพลงรว่ มสมัย. กรุงเทพฯ: ส านกั พิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ณชั ชา โสคติยานรุ กั ษ์. (2542). ทฤษฎีดนตร.ี กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
_______. (2546). การแตง่ ทานองสอดประสาน. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
_______. (2548). การเขียนเสยี งประสานส่ีแนว. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
สุกรี เจริญสขุ .(2539). สนุ ทรยศาสตร์ทางดนตร.ี นครปฐม.มหาวิทยาลยั มหิดล.