The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานโต๊ะรักการอ่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anintara Thana, 2023-06-20 00:33:26

โครงงานโต๊ะรักการอ่าน

โครงงานโต๊ะรักการอ่าน

โครงงานโต๊ะรักการอ่าน ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 1. นางกรณิกา ธนสุขสมบัติ รหัสนักศึกษา 6422-00001-1 2. นางวลัยพร ทองไพบูลย์กิจ รหัสนักศึกษา 6422-00002-0 3. นางสาวอรุณ เที่ยงธรรม รหัสนักศึกษา 6422-00003-9 4. นางวันดร นิจนิรันดร์กุล รหัสนักศึกษา 6422-00004-8 5. นางสุดารัตน์ กาญจนโรจน์ รหัสนักศึกษา 6512-00018-3 กศน.ต าบลหนองเสือช้าง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี


บทคัดย่อ โครงงานโต๊ะรักการอ่าน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ชื่อเรื่อง โครงงานโต๊ะรักการอ่าน ชื่อผู้จัดท า 1. นางกรณิกา ธนสุขสมบัติ รหัสนักศึกษา 6422-00001-1 2. นางวลัยพร ทองไพบูลย์กิจ รหัสนักศึกษา 6422-00002-0 3. นางสาวอรุณ เที่ยงธรรม รหัสนักศึกษา 6422-00003-9 4. นางวันดร นิจนิรันดร์กุล รหัสนักศึกษา 6422-00004-8 5. นางสุดารัตน์ กาญจนโรจน์ รหัสนักศึกษา 6512-00018-3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา นางสาวอดิสา ธนสุขสมบัติ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี รหัสไปรษณีย์ 20190 โทรศัพท์ 038-219234 โทรสาร 038-219234 วัตถุประสงค์ของการท าโครงงาน 1. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2. เพื่อฝึกสมาธิและความคิดสร้างสรรค์ ความส าคัญ โครงงานโต๊ะรักการอ่าน เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ให้ประโยชน์ในการอ่านหนังสือ วิธีการด าเนินโครงงาน 1. วางแผนการด าเนินงาน 2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3. จัดท าชิ้นงานตามแผนที่ก าหนดไว้ 4. ประเมินผล ผลที่ได้รับ 1. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2. ฝึกสมาธิและความคิดสร้างสรรค์


กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ อาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่งกรุณาสละเวลา ให้ความรู้และค าแนะน าตลอดการท าโครงงาน ขอขอบพระคุณ กศน.อ าเภอหนองใหญ่ ที่เอื้อเฟื้อวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ส าหรับท าโครงงาน ขอขอบคุณ เพื่อนๆ ที่ได้ให้ความช่วยเหลือในการท าโครงงาน ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณ ผู้ให้ก าลังใจและให้โอกาสการศึกษาอันมีค่ายิ่ง คณะผู้จัดท า กุมภาพันธ์ 2566


ค าน า เอกสารประกอบการท าโครงงานโต๊ะรักการอ่าน ฉบับนี้ จัดท าขึ้นเพื่อเป็นสื่อที่ใช้ในการเรียนรู้และ เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดจากแนวความคิดที่ใช้วัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นมาท าให้เกิดประโยชน์น าไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน สามารถใช้งานได้จริง เป็นการส่งเสริมให้เกิดสมาธิและความคิดสร้างสรรค์ คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการท าโครงงานเล่มนี้คงจะเป็นประโยชน์ส าหรับผู้ที่ ต้องการศึกษาหาข้อมูล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดท าโครงงาน คณะผู้จัดท า


สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทน า 1 หลักการและเหตุผล 1 ความส าคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตของการท าโครงงาน 1 นิยามศัพท์ 1 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง/ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3 โต๊ะไม้ 3 ประเภทโครงงาน 4 บทที่ 3 วิธีด าเนินงาน 6 อุปกรณ์/เครื่องมือที่ใช้ 6 ขั้นตอนการด าเนินงาน 6 บทที่ 4 ผลการด าเนินงาน 1 0 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1 1 สรุปผล 1 1 อภิปรายผล 1 1 ประโยชน์และคุณค่าของโครงงาน 1 1 ข้อเสนอแนะ 1 1 บรรณานุกรม


บทที่ 1 บทน า หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันนี้ ความหมายของเฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องเรือนนั้นได้มีผู้ให้ความหมายอยู่หลายท่าน แต่ละ ท่านได้ให้ความหมายของเฟอรนิเจอร์ทั้งแนวกว้างและแนวลึกตามหลักวิชาการต่าง ๆ ซึ่งทางผู้เขียนขอ รวบรวมและน าเสนอดังต่อไปนี้ สาคร คันธโชติ (2528 : 1) กล่าวว่า เฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องเรือน หมายถึง เครื่องตกแต่งบ้านพักอาศัยหรืออาคาร มีประโยชน์ใช้สอย มีความสะดวกสบายในการใช้เป็นต้น เครื่องเรือน เป็นผลิตภัณฑ์ประเภทผลิตภัณฑ์อุปโภค ได้แก่ โต๊ะอาหาร โต๊ะท างาน ตู้ใส่เสื้อผ้า เตียงนอน กล่องเก็บของ เก้าอี้ หิ้งหนังสือ เตาย่างถ่าน เป็นต้น วัฒนะ จูฑะวิภาต (2537 : 13) กล่าวไว้ว่า เฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องเรือน คือสิ่งที่มนุษย์คิดค้นประดิษฐ์ขึ้น เพื่ออ านวยความสะดวกส าหรับกิจกรรมต่าง ๆ ภายในบ้าน ที่ท างาน หรือที่ สาธารณะ กิจกรรมดังกล่าว ได้แก่ การนอน การนั่ง รับประทานอาหาร ท างาน ฯลฯ เครื่องเรือนถูกออกแบบ ส าหรับคนเดียวหรือกลุ่มคน ท าด้วยวัสดุ หลายชนิดแตกต่างกัน เช่น ไม้ โลหะ พลาสติก ฯลฯ เครื่องเรือนจัด ว่าเป็นส่วนเชื่อมระหว่างผู้อยู่อาศัยกับตัวบ้าน หรือมนุษย์กับสถาปัตยกรรม บุญศักดิ์ สมบุญรอด (2544 : 1) ได้กล่าวไว้ว่า เฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องเรือน หมายถึง เครื่องตกแต่งบ้านพักอาศัย มีประโยชน์ใช้สอย มีความ สะดวกสบายในการด ารงชีพ แต่ในปัจจุบันเครื่องเรือนยิ่งมีบทบาทมากยิ่งขึ้นทุกขณะ สนองความสุขทางกาย และใจอันจะมีผลต่อคุณภาพชีวิต และประสิทธิภาพในการท างานโดยตรง พิฑูร ผลพนิชรัศมี (มปป. : 2) ได้ให้ ความหมายของเฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องเรือนว่า สิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่ออ านวยความสะดวกสบาย เหมาะสมกับกริยาท่าทางของสรีระมนุษย์ และสิ่งที่ใช้เก็บสัมภาระต่าง ๆ ซึ่งสามารถตกแต่งอาคารบ้านเรือนให้ มีความสวยงามและน่าอยู่ ได้แก่ โต๊ะ เก้าอี้ ตู้ เตียง หีบ ก าปั่นและอีกสิ่งหนึ่งที่จัดว่าเป็นเครื่องเรือนคือ นาฬิกาแขวนหรือตั้ง เนื่องจากเป็นสิ่งที่บอกเวลาและสามารถประดับอาคารบ้านเรือนให้ดูสวยงาม เสาวนิตย์ แสงวิเชียร (2535 : 82) ได้กล่าวว่าองค์ประกอบที่มีความส าคัญยิ่งในการอ านวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้ใช้ อาคาร ก็คือ เฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องเรือน ดังนั้น อาจจะสรุปให้ความหมายของเฟอร์นิเจอร์หรือเครื่องเรือน ไว้ ว่า สิ่งที่มนุษย์ได้ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการด้านประโยชน์ใช้สอยในการด ารงชีวิตภายใต้การ ท ากิจกรรมต่าง เช่น การนั่ง นอน รับประทานอาหาร ท างาน และใช้ประกอบกับอาคารทางด้านงาน สถาปัตยกรรมทั้งภายในและภายนอก ความส าคัญ โครงงาน เตาย่างถ่าน เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ให้ประโยชน์ ในการทุ่นแรงประหยัดค่าใช้จ่าย เพื่อให้เกิด อาชีพ และน าวัสดุที่เหลือใช้ หรือเคยผ่านการใช้งานมาแล้วกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์อีกครั้ง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อน าวัสดุที่เหลือมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3. เพื่อฝึกสมาธิและความคิดสร้างสรรค์ 4. เพื่อฝึกฝนการท างานร่วมกลุ่ม ขอบเขตโครงงานของการท าโครงงาน ระยะเวลาในการศึกษาเดือน กุมภาพันธ์ 2566


ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพื่อประดิษฐ์โต๊ะรักการอ่าน 2. เพื่อน าวัสดุที่เหลือมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 3. เพื่อฝึกฝนการท างานร่วมกลุ่ม 4. เพื่อฝึกความอดทน 5. เพื่อเป็นการสร้างอาชีพ


บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง/ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โครงงานโต๊ะรักการอ่าน ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. โต๊ะรักการอ่าน 2. ประเภทของโครงงาน การสร้างโต๊ะด้วยตัวคุณเองนั้นสามารถช่วยคุณประหยัดเงินไปได้หลายบาทเลยทีเดียว ถ้าคุณต้องการ โต๊ะที่คุณสามารถก าหนดรูปแบบเองได้ คุณสามารถสร้างโต๊ะไม้ที่ดูราวกับท าจากมืออาชีพและมีพื้นที่ส าหรับ เก็บของได้เยอะ วัดที่ท างานของคุณ เลือกรูปแบบที่คุณต้องการ และเลือกสร้างโต๊ะที่เข้ากับสไตล์ของคุณ ความคุ้นเคยกับเครื่องมือไฟฟ้าและการต่อเติมบ้านจะท าให้งานนี้ง่ายขึ้น อันดับ 1 คือ การวางแผน การท า โต๊ะ 1 ตัว เป็นเรื่องที่ยากมากส าหรับผู้ไม่มีประสบการณ์ ดังนั้นเราควรมีการวางแผนในการท างานก่อน โดยขั้นแรกต้องก าหนดประเภทของแผ่นไม้ แผ่นไม้ในการผลิตนั้นมีมากมายหลากหลายประเภท เช่น ไม้MDF ไม้ปาติเกิ้ล ไม้แท้ ไม้อัด เป็นต้น คุณต้องวางแผนเลือกวัสดุประเภทไม้ให้ตรงตามความเหมาะสมกับโต๊ะที่คุณ ใช้ เช่น ถ้าคุณอยากได้โต๊ะที่เอาไว้ส าหรับวางคอมพิวเตอร์ ก็ต้องเลือกวัสดุแผ่นไม้แบบ MDF จะมีความ แข็งแรง และมีพื้นผิวเรียบเนียน เป็นต้น หลังจากนั้นประเมินงบประมาณ เพื่อไปหาซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องการ ใช่ หลังจากนั้นให้ออกแบบหรือท าแบบจ าลอ งรูปทรงโต๊ะและขนาดโต๊ะที่เราต้องการ เช่น วาดรูปลักษณะของ โต๊ะ พร้อมความกว้าง ความสูงของโต๊ะ หรือถ้าใครมีโปรแกรมส าหรับออกแบบเฟอร์นิเจอร์จะช่วยให้สามารถ ออกแบบได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้น อันดับที่ 2 คือ การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ ในการสร้างโต๊ะควรมีความพร้อมในเรื่องของวัสดุ อุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็น น็อต ไม้ สกรูไม้ เลื่อยวงเดือน และสี ส าหรับทา เป็นต้น และต้องมีการตรวจสอบวัสดุอุปกรณ์ทุกชนิด ว่ามีเสียหายหรือช ารุดหรือไม่ เพื่อความ ปลอดภัยต่อตัวผู้ใช้งาน อันดับที่ 3 คือ หาสถานที่ในการผลิตโต๊ะ การสร้างโต๊ะไม่ควรไปสร้างในพื้นที่ ที่มีขนาดแคบ ผู้คนจ านวนมาก หรือสถานที่ไม่มีแสงสว่าง เพราะอาจจะ เกิดอันตรายได้และเสียงอาจไปรบกวนคนบริเวณนั้นได้ ทางที่ดีให้หาสถานที่ขนาดใหญ่ ที่มีแสงสว่าง และมี ความโปร่งใส จะท าให้การท าโต๊ะด าเนินไปอย่างง่ายดายขึ้น อันดับที่ 4 คือ เริ่มลงมือวัดและตัดไม้ เริ่มจากน าไม้ที่เราเตรียมไว้มาวัดขนาด แล้วท าการมาร์คหรือขีดเส้นตามขนาดที่เราต้อง จากนั้นน าเลื่อยวง เดือนมาตัดไม้ตามจุดต่าง ๆ ที่เรามาร์คไว้ ตามขนาดที่เราต้องการ หรือถ้าใครต้องช่องส าหรับสอดสายไฟ สามารถตัดข้างหลังพื้นผิวไม้ให้มีรูหรือขอบ เพื่อให้เพียงพอต่อการใส่สายไฟได้ อันดับที่ 5 คือ ขัดด้วยกระดาษทราย (วิธีนี้เฉพาะคนที่ไม่ได้ซื้อไม้ส าเร็จรูป) หลังจากตัดไม้เรียบร้อยแล้ว คุณจะต้องใช้กระดาษขัดไม้ โดยการขัดไม้ ให้ขัดบริเวณพื้นผิวของไม้ให้ทั่วทั้งด้านหน้าและด้านหลัง และเรียบเนียน หรือถ้าใครมีอุปกรณ์ เช่น เครื่องขัด ไม้ไฟฟ้า สามารถน ามาใช้ จะช่วยประหยัดแรงได้ดี และท าให้ช่วยหย่นระยะเวลาให้รวดเร็วมากขึ้น เมื่อเสร็จ แล้วค่อยน าผ้ามาเช็คโต๊ะ อันดับที่ 6 คือ ทาสี ถ้าคุณต้องการสีสันที่สวยงามของ โต๊ะ สามารถหาสีมาทาได้หรือจะใช้วิธีการพ่นสี ก็จะรวดเร็วมากขึ้น อันดับที่ 7 คือ ประกอบโต๊ะ น าโต๊ะมาวางบริเวณด้านบนขาโต๊ะ โดยขาตั้งทั้งสองจะต้องวางถัดเข้ามาจากขอบโต๊ะประมาณ 3 นิ้ว เพื่อที่จะ สามารถรักษาสมดุลของโต๊ะได้อย่างมีคุณภาพ


อันดับที่ 8 คือ ขันสกรู การขันสกรูจะต้องเลือกสกรูที่มีควาวยาวพอดีกับความกว้างของโต๊ะ โดยใช้สกรูสามตัวในแต่ละด้าน (เว้นระยะ ให้เท่าๆ กัน) โครงงาน โครงงาน เป็นการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหลาย ๆ สิ่งที่อยากรู้ค าตอบให้ลึกซึ้งหรือ เรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ ให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการ วิธีการที่ศึกษาอย่างมีระบบ เป็นขั้นตอนมีการวางแผนใน การศึกษาอย่างละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนที่วางไว้ จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปที่เป็นค าตอบในเรื่องนั้น ๆ การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน คือการจัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียน เหมือนกับการท างานในชีวิตจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีประสบการณ์ตรง จะได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหารู้จักการท างาน อย่างมีระบบ รู้จักการวางแผนในการท างาน ฝึกการคิดวิเคราะห์และเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โครงงานจัดเป็นการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ท าให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์อย่างเป็นขั้นตอนและใช้ความรู้ที่ตนเองได้มาบูรณาการ ประเภทโครงงาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นการใช้บูรณาการร่วมกับการเรียนรู้ ทักษะและเป็นพื้นฐานในการ ก าหนดโครงงานและปฏิบัติ 2. โครงงานตามความสนใจ เป็นโครงงานที่ผู้เรียนก าหนดขั้นตอน ความถนัด ความสนใจ ความต้องการ โดยใช้ ทักษะความรู้ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการเป็นโครงงานและปฏิบัติ สามารถแบ่งได้ 4 รูปแบบ ตามวัตถุประสงค์ 1. โครงงานที่เป็นการส ารวจ รวบรวมข้อมูล 2. โครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง 3. โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ๆ 4. โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์ คิดค้น โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูล เรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วน าข้อมูลนั้นมา จ าแนกเป็นหมวดหมู่ ในรูปแบบที่เหมาะสม เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก เป็นต้น • โครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ โดยออกแบบในรูปผลการทดลอง เพื่อ ศึกษาตัวแปรหนึ่ง จะมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษาอย่างไร ด้วยการควบคุมตัวแปร • โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ ๆ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ หรือหลักการใหม่ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ยังไม่มีใครเคยคิด หรือขัดแย้ง หรือขยายจากของเดิมที่มีอยู่ ซึ่งต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการก่อน • โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์ คิดค้น เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การน าความรู้ทฤษฎี หลักการ มาประยุกต์ใช้ โดยประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ เพื่อประโยชน์ต่าง ๆ หรืออาจเป็นการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีขึ้นก็ได้ ขั้นตอนการท าโครงงาน ขั้นตอนที่ 1 การคิดและเลือกหัวเรื่อง เป็นการหาหัวข้อในการทดลอง ในการที่จะอยากรู้อยากเห็น ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องรวมไปถึงการขอค าปรึกษา หรือข้อมูลต่าง ๆ จากผู้ทรงคุณวุฒิที่ เกี่ยวข้อง ขั้นตอนที่ 3 การเขียนเค้าโครงของโครงงานโดยทั่วไปเค้าโครงของโครงงานจะมีหัวข้อดังต่อไปนี้


หัวข้อ/รายการ รายละเอียดที่ต้องระบุ 1.ชื่อโครงงาน 2.ชื่อผู้ท าโครงงาน 3.ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน 4.ระยะเวลาด าเนินการ 5.หลักการและเหตุผล 6.จุดหมาย/วัตถุประสงค์ ์7.สมมติฐานของการศึกษาโครงงาน 8.ขั้นตอนการด าเนินงาน 9.ปฏิบัติโครงงาน 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 11. บรรณานุกรม 1. ท าอะไร กับใคร เพื่ออะไร 2. ผู้รับผิดชอบโครงงานนี้ 3. ผู้ทรงคุณวุฒิต่างๆ 4. ระยะเวลาด าเนินงานโครงงานตั้งแต่ต้นจนจบ 5. เหตุผลและความคาดหวัง 6. สิ่งที่ต้องการให้เกิดเมื่อสิ้นสุดการท าโครงงาน 7. สิ่งที่คาดว่าจะเกิดเมื่อสิ้นสุดการท าโครงงาน 8. ขั้นตอนการท างาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ ี่9. วัน เวลา และกิจกรรมด าเนินงานต่าง ๆ ตั้งแต่ต้นจนเสร็จ 10. สภาพของผลที่ต้องการให้เกิดทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ 11. ชื่อเอกสารข้อมูล ที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ ขั้นตอนที่ 4 การปฏิบัติโครงงาน เป็นการด าเนินงานตามแผน ที่ได้ก าหนดไว้ในเค้าโครงของโครงงาน และต้อง มีการจดบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างละเอียด และต้องจัดท าอย่างเป็นระบบ ระเบียบ เพื่อที่จะได้ใช้เป็นข้อมูล ต่อไป ขั้นตอนที่ 5 การเขียนรายงาน ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นส าคัญของ โครงงาน โดยสามารถเขียนให้อยู่ในรูปต่าง ๆ เช่น การสรุป รายงานผล ซึ่งประกอบไปด้วยหัวข้อต่างๆ เช่น บทคัดย่อ บทน า เอกสารที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น ขั้นตอนที่ 6 การแสดงผล การแสดงผลงาน เป็นการน าเสนอผลงาน สามารถจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การจัด นิทรรศการ หรือท าเป็นสิ่งตีพิมพ์ การสอนแบบเพื่อนสอนเพื่อน ตามแต่ความเหมาะสมของโครงงาน


บทที่ 3 วิธีด าเนินงาน อุปกรณ์/เครื่องมือที่ใช้ ขั้นตอนการท าโต๊ะปฏิบัติงานไม้แบบง่าย ขนาดโต๊ะ : กว้าง 70 ซม. ยาว 150 ซม. สูง 80 ซม. ประเภทไม้ : ไม้ยางพารา 1 แผงขา - 2แผง 2 ยันขา - 2ตัว 3 หน้าโต๊ะ - 1ชุด การท าชุดแผงขา น าขาทั้ง4ขามาท าเดือย โดยใช้เครื่องเลื่อย หรือใช้สิ่วและเลื่อยก็สามารถท าเดือยได้เช่นเดียวกันขึ้นอยู่กับ ว่ามีเครื่องมือใด เจาะรู12 มม.ที่ขาเพื่อร้อยน็อตยึดยันขาเข้ากับแผงขา(ท ารอไว้ก่อน)และบากร่องเพื่อเป็นบ่ารับยันขาเอาไว้ ก่อนเลย


น าขาล่างมาแต่งโค้งตามรูปทรงด้วยเครื่องขัดกระดาษทราย จากนั้นก็มาท าร่องเดือยด้วยสิ่วหรือเครื่องเจาะ เหลี่ยม หรือเร้าเตอร์ก็ท าได้เช่นกัน ก็จะได้ชิ้นส่วนครบและพร้อมเพื่อประกอบ ทดลองประกอบแบบยังไม่ต้องใส่กาวเพื่อตรวจเช็คว่ามีปัญหาใดบ้าง เพื่อสามารถแก้ไขได้ทัน เมื่อได้เดือยและท าร่องเดือยแล้วก็น ามาประกอบเข้าด้วยกัน(ควรทดลองสวมดูก่อน) การทากาวทาให้ทั่ว และ ไม่มากจนเลอะเทอะใช้กาวลาเท็กซ์หรือกาวผงก็ตามสะดวก ประกอบเข้าด้วยกันด้วยแม่แรง วัดเส้นทแยงมุมจับฉาก และเช็ดกาวออกทันทีด้วยผ้าชุบน้ าแห้งหมาด มั่นใจว่าได้ฉาก ก่อนตอกสลักเดือย จากนั้นเป็นการยึดเดือยให้แข็งแรงโดยการเจาะเพื่อตอกสลักเดือย ป้องกันเดือยหลุดหรือโยก ตอกสลักเดือยเส้นผ่าศูนย์กลาง 10มม ทะลุผ่านและตัดออกด้วยเลื่อยลอ จะได้แผงขาที่ประกอบแล้ว 2 แผง


การท าชุดหน้าโต๊ะ เตรียมกรอบ พนังยาว-สั้น และท าการยึดเข้าด้วยกันด้วยเกลียวปล่อย 1 1/2นิ้ว #8 ทากาวลาเท็กซ์ และเช็ด กาวออกด้วยผ้าชุบน้ าหมาดทั้งนี้ต้องเช็คขนาดหน้าโต๊ะก่อนที่จะประกอบจริง เจาะดอกผ่านเพื่อยึดคานเข้ากับหน้าโต๊ะ พร้อมกับผายปากด้วยสว่าน 10มม (เพื่อให้หัวเกลียวปล่อยฝัง เข้ายังด้านใน) ทาด้วยกาวลาเท็กซ์และท าการยึดเข้ากับหน้าโต๊ะ ดลอดแนว ไสปรับขอบโต๊ะด้วยกบผิว แล้วขัดแต่งให้เสมอด้วยเครื่องขัดกระดาษทราย #60


การติดปากกาไม้ เตรียมก้อนปากกาที่ต้องเพลาะไม้ให้หนา 5-6 ซม และชุดปากกาเหล็ก เตรียมเจาะเหล็กประคอง (บางที่ใช้ตัวประคองไม้)โดยใช้ดอกใบพายให้มีระยะหลวมเล็กน้อย(อย่าให้คับ เกินไป) ตอกเหล็กประคองเข้ากับก้อนปากกา(สวมอัด)ส่วนที่เห็นเป็นรูนั่นคือรูที่ใส่ปากกาเหล็ก ยึดปากกาโดยไข ตะปูเกลียวที่เหล็กประกับ เข้ากับก้อนปากกาไม้ น าชุดก้อนปากกาประกอบกับชุดประคองปากกาเหล็ก ทดลองหมุนดูก่อน น ามาประกอบกับชุดหน้าโต๊ะ ทดสอบการท าใช้ปากกา เช่นการไสกบ ก็จะได้โต๊ะท างานไม้ หรือโต๊ะเอนกประสงค์ที่มีความแข็งแรงมาก ส่วนสีก็เลือกท ากันตามใจชอบ สีธรรมชาติ สี ย้อม หรือลงน้ ามันรักษาเนื้อไม้ ก็ตามใจชอบ


บทที่ 4 ผลการด าเนินงาน ประโยชน์ของโต๊ะพับ 1. ใช้วางสิ่งของได้อเนกประสงค์ ขึ้นชื่อว่าโต๊ะพับมันมีความอเนกประสงค์ในตัวอยู่แล้ว บางคนถึงเรียกว่า โต๊ะพับอเนกประสงค์นั่นเพราะ สามารถน าไปใช้วางสิ่งต่าง ๆ ได้หลากหลาย จะท าเป็นโต๊ะอาหาร, โต๊ะต้อนรับแขก และอื่น ๆ ได้อีกเพียบ แถมราคาโต๊ะพับก็ไม่แพง เอาไว้ใช้งานได้เยอะมาก ๆ 2. ประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บ ด้วยลักษณะของโต๊ะที่สามารถพับได้ จึงประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บมาก ๆ เมื่อเลิกใช้งานก็พับเก็บให้เป็น ระเบียบแล้ววางไว้บริเวณผนังหรือสอดเอาไว้ตามจุดเก็บ เหลือพื้นที่ในการเก็บสิ่งของหรือท ากิจกรรมอื่น ๆ อีก มากมาย 3. สะดวกในการใช้งาน – จัดเก็บ นอกจากราคาโต๊ะพับจะไม่แพงแล้ว ยังสะดวกต่อการใช้งานและจัดเก็บด้วย อยากใช้งานเมื่อไหร่ก็แยกแค่ 1-2 คน เวลาเก็บก็ใช้จ านวนคนเท่ากัน น้ าหนักเบา ไม่ต้องใช้คนเยอะ ๆ แบกให้เหนื่อย หรือเวลาต้องเดินขึ้น-ลง บันไดก็สะดวกง่ายกว่ากันเยอะ


บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล จากการด าเนินการในการท าโครงงานโต๊ะรักการอ่าน สรุปผลตามจุดมุ่งหมายของโครงงานดังนี้ 1. สามารถประดิษฐ์โต๊ะรักการอ่านได้ 2. สามารถใช้วัสดุที่เหลือใช้มาใช้ให้เกิดประโยชน์ 3. สามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 4. สามารถท าเป็นอาชีพได้ อภิปราย จากผลการท าโครงงานโต๊ะรักการอ่านสามารถช่วยประหยัดรายจ่าย สามารถก าหนดรูปแบบโต๊ะ เองได้ มีพื้นที่ส าหรับเก็บของได้เยอะ เลือกรูปแบบที่ต้องการ และเลือกสร้างโต๊ะที่เข้ากับสไตล์ของตัวเอง ประโยชน์ และคุณค่าของโครงงาน 1. เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2. เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ฝึกสมาธิและความคิดสร้างสรรค์ 3. เป็นการน าของเหลือใช้มากก่อให้เกิดมูลค่าและคุณค่า ข้อเสนอแนะ -


Click to View FlipBook Version