1 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑. ชื่อ (นาย / นาง /นางสาว /ชั้นยศ)......เรือตรี วิญญา.......นามสกุล.........อุณห์ไวทยะ................... อายุ......62....ปี ระดับการศึกษา .......ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิทยุ-โทรคมนาคม............ ภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้าน ด้าน.......เกษตรกรรม......................................................................... 2. ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่.........76/2........หมู่ที่...........4...........ต าบล/แขวง............เขาซก.................... อ าเภอ/เขต............หนองใหญ่.................จังหวัด..................ชลบุรี............................................... โทรศัพท์..............-............โทรสาร..............-...................... โทรศัพท์มือถือ......... 089-9088797.........E-mail.............-................................................... ๓. อาชีพ.............เกษตรกร..............ต าแหน่ง............-.............สถานที่ท างาน....... 76/2 หมู่ 4....... ต าบล/แขวง.......เขาซก.............อ าเภอ/เขต............หนองใหญ่................................................... จังหวัด..............ชลบุรี.......................... โทรศัพท์..................-..................................................... โทรสาร....................-........................E-mail.............................................-................................ ๔. ประวัติผลงาน ที่ให้การสนับสนุนกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (โดยระบุหน่วยงาน หรือองค์กรที่เข้าร่วมกิจกรรม) 4.๑ เป็นวิทยากร โครงการขยายผลเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer กศน.ต าบลเขาซก 4.๒ เป็นวิทยากร โครงการเสริมสร้างการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. ชื่อสถานศึกษา/หน่วยงานที่เสนอขอเข้ารับการประเมิน....ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอ าเภอหนองใหญ่ สังกัด ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี
2 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ประวัติความเป็นมา พอสังเขป ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” หรือ ไร่บุญญา ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 76/2 หมู่ที่ 4 บ้านชากนา ต าบลเขาซก อ าเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรีโดยมีเรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ เป็นเจ้าของ เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ ได้ตั้งใจไว้ว่าหลังเกษียณอายุราชการจะต้องมีที่ดินท ากินผืนเล็กๆ ไว้ใช้ชีวิตใน ปั้นปลายโดยจะน้อมน าเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง ร.9 มาเป็นแนวทางในการด าเนินชีวิต และหากท าส าเร็จ ก็จะเปิดเป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดให้กับผู้สนใจต่อไป เรือตรีวิญญารับราชการกองทัพเรือมา 30 ปีเต็ม (2522-2552) จนมาคิดได้ว่าหากรอจนเกษียณอายุราชการตามปกติ ก็คงจะหมดแรงเสียก่อนที่จะท า ฝันให้เป็นจริงได้ จึงตัดสินใจซื้อที่ดิน จ านวน 7 ไร่ ในพื้นที่ต าบลเขาซก จากพื้นที่รกร้างว่างเปล่า เรือตรีวิญญาลง มือปฏิบัติอย่างจริงจัง ตั้งเปูาไว้ว่าจะท าให้เป็นแหล่งเรียนรู้ภายใน 3 ปีให้จงได้ จึงเริ่มต้นด้วยการท าเกษตรแบบ ผสมผสาน มีการคัดแยกขยะในครัวเรือนและจัดการขยะให้เป็นปุ๋ย เพื่อส่งเสริมการน าขยะมาใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด รักษาสิ่งแวดล้อม เผาถ่าน ปลูกพืชผักสวนครัว ปลูกไม้ผล สมุนไพร พื้นบ้านเพื่อต้านโรค ขุดบ่อเลี้ยงปลา เลี้ยงสัตว์ ท าปุ๋ยจากพืชและสัตว์เป็นปุ๋ยน้ า ท าปุ๋ยหมัก และจัดท าผลิตภัณฑ์เพื่อใช้ในครัวเรือน จนประสบ ความส าเร็จอยู่รอดปลอดภัย ไม่เดือดร้อน อยู่อย่างมีความสุขโดยแท้ และได้ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ พระราชาเรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อให้ด ารงชีวิตอยู่รอดได้อย่างยั่งยืน พื้นที่ เป็นที่ราบสูงและมีลุ่มน้ าบางแห่ง พื้นที่ 63,125 ไร่ สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย มีการปลูกยางพารา ปาล์ม มะม่วงหิมพานต์ มีถนนสายหลัก คือ สาย344 บ้านบึงแกลง ตัดผ่านต าบล เขตพื้นที่ ทิศเหนือ ติดกับต าบลหนองเสือช้าง อ าเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี ทิศใต้ ติดกับต าบลปุายุบ อ าเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ทิศตะวันออก ติดกับต าบลคลองพลู อ าเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี ทิศตะวันตก ติดกับอ าเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง หมายเลขโทรศัพท์ 089-9088797 Facebook เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ Fanpage. ไร่บุญญา
3 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น กิจกรรมการเรียนรู้ภายในศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” ไร่บุญญา จ านวน 10 ฐาน ฐานการเรียนรู้ที่ 1 ขยะ คือ ขุมทรัพย์ เป็นฐานการบริหารจัดการขยะที่ถูกวิธี โดยการคัดแยกขยะตามประเภทต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการน าขยะ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นการช่วยลดปริมาณขยะ ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ช่วยลดภาวะโลกร้อน การบริหาร จัดการขยะอาศัยหลัก 5 R เป็นการส่งเสริมการการลดปริมาณขยะ น าขยะมาใช้ให้ เกิดประโยชน์สูงสุด รักษา สิ่งแวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน และเพิ่มรายได้ เปรียบเสมือนขยะเป็นขุมทรัพย์ในครัวเรือน ดังนี้ 1) ขยะแห้งน ากลับมาใช้ได้อีก ขวดแก้ว โลหะ ขวดพลาสติก ถุงพลาสติกใช้แล้วน าไปห่อกระท้อน มะม่วง ขวดพลาสติกน าไปห่อผลสับปะรด ถ้าไม่ใช้จะคัดแยกประเภทเพื่อการจ าหน่ายเป็นรายได้เสริมส าหรับ ครอบครัว 2) ขยะเปียก น ามาท าปุ๋ยน้ าชีวภาพ เพื่อทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ การผลิตอาหารปลอดภัย และพืชผักอินทรีย์ เพื่อบริโภคในครัวเรือนและจ าหน่าย 3) ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ มีวิธีก าจัดที่ปลอดภัยโดยน ามาทิ้งขยะ ในถังขยะอันตรายที่องค์การบริหารส่วนต าบลเขาซกจัดวางไว้
4 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 2 คนเอาถ่าน การเผาถ่านด้วยถัง 200 ลิตร ชนิดถังตั้ง เป็นฐานขั้นตอนการเผ่าถ่านด้วยถัง 200 ลิตร ชนิดถัง ตั้ง ข้อดี คือสามารถเคลื่อนย้ายเตาไปยังพื้นที่ต่างๆ ได้โดยง่าย และสะดวกในการจัดการด าเนินการเผาถ่าน ซึ่ง เป็นการประหยัดเวลากว่าการเผาถ่านแบบธรรมดา โดยใช้เวลาประมาณ 8 ชั่วโมง ถ่านเป็นที่รู้จักกันในทุก ครอบครัว สามารถผลิตได้เอง เป็นการพึ่งตนเอง เมื่อพูดถึงถ่าน ก็ต้องนึกถึงไม้ที่จะน ามาเผา ตรงกับแนวพระราช ด ารัสของพระองค์ท่านในเรื่องของปุา 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ไม้ 5 ระดับ บ้านเราเติบโตมาด้วยภาคเกษตร การท าการเกษตรต้องใช้น้ าถ้าหมดปุา เราจะหมดน้ า ต้นก าเนิดของน้ า คือ ปุา ก่อนที่เราจะเผาถ่าน เราจะต้อง ปลูกต้นไม้เป็นทุนก่อน เมื่อต้นไม้โตจะมีแขนงงอกออกมาที่ข้างล าต้น เราก็ท าการตัดแต่งกิ่งน ามาเป็นดอกเบี้ย ต้นทุนเราก็ยังอยู่ เราจะใช้โดยไม่รู้จักหมด เป็นการสะสมในตัว เตาเผาถ่านด้วยถึง 200 ลิตร ในการเผาถ่านจะได้ ของแถมที่มากด้วยคุณค่าเป็นการสลายตัวของสารอาหารที่อยู่ในเนื้อไม้ สีน้ าตาลอมแดง เรียกว่าน้ าส้มควันไม้ ควันที่เกิดจากการเผาถ่านในช่วงที่ไม้ก าลังเปลี่ยนเป็นถ่าน เมื่อท าให้เย็น ลงจนควบแน่นแล้วกลั่นตัวเป็นหยดน้ า ของเหลวที่ได้นี้เรียกว่าน้ าส้มควันไม้ มีกลิ่นไหม้ ส่วนประกอบส่วนใหญ่เป็นกรดอะซิติก มีความเป็นกรดต่ า มีสี น้ าตาลแกมแดง น าน้ าส้มควันไม้ที่ได้ทิ้งไว้ในภาชนะพลาสติกประมาณ 3 เดือนในที่ร่ม ไม่สั่นสะเทือน เพื่อให้ น้ าส้มควันไม้ที่ได้ตกตะกอนแยกตัวเป็น 3 ชั้น คือ น้ ามันเบา (ลอยอยู่บนผิวน้ า) น้ าส้มควันไม้ และน้ ามันทาร์ (ตกตะกอนอยู่ด้านล่าง) แยกน้ าส้มควันไม้มาใช้ประโยชน์ด้านการเกษตรต่อไป
5 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 3 ผักสวนครัวรั้วกินได้ การปลูกพืชผักสวนครัวมีความส าคัญเป็นอันดับแรกของชีวิตประจ าวัน เพราะใช้เป็นอาหารในครัวเรือน ได้ดี ถ้าปลูกมากมีเหลือก็จ าหน่ายได้ และสามารถยึดเป็นอาชีพได้ ขอให้มีความยึดมั่นในธรรมชาติ มีความขยัน และอดทน การปลูกพืชผักสวนครัวไว้บริโภคมีหลักปฏิบัติ 5 ประการ ได้แก่ 1) การเลือกเมล็ดพันธุ์ - เมล็ดพันธุ์ที่ดีและแข็งแรง 2) การเตรียมดิน – ต้องปรับโครงสร้างดินให้ร่วนซุย และใส่ธาตุอาหาร (ดิน 2 ปุ๋ยมูลสัตว์ 1) 3) การปลูก – โดยการหยอดเมล็ดต้องคลุมฟางและรดน้ า 4) การดูแลรักษา – พืชอายุเกินกว่า 2 เดือน ควรรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมักชีวภาพ 1 ก ามือต่อหลุม 5) การเก็บผลผลิต และจ าหน่าย ควรเก็บตามก าหนดเวลา และจ าหน่ายด้วยตนเอง เพื่อลดขั้นตอนที่ต้อง ผ่านพ่อค้าคนกลาง ซึ่งการรับประทานผักหลากหลายชนิดปลูกแบบธรรมชาติและปลอดสารพิษมีสารอาหารแตกต่างกันทั้ง วิตามินและเกลือแร่ เป็นยาสมุนไพร ท าให้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไปในตัวจากการปลูกผักพรวนดินรดน้ าและ เป็นรั้วบ้านได้ คือปลูกล้อมกั้นเป็นรั้วบ้าน เป็นที่มาของค าว่า “ผักสวนครัวรั้วกินได้”
6 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 4 ไม้ผลเลี้ยงตนเอง เทคนิคการปลูกไม้ผลหลากหลายชนิดรวมกันไว้บริโภคตามฤดูกาล เป็นเทคโนโลยีการผลิตไม้ผล ให้ ปลอดภัยจากสารพิษ ไม่น าสารเคมีมาใช้ในการเพิ่มผลผลิต หลีกเลี่ยงอันตรายที่จะมีผลโดยตรงต่อเกษตรกรผู้ใช้ ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม เน้นการปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ ดูแลรักษาผลผลิตให้ปลอดสาร เป็นที่ ต้องการของตลาดผู้รักษาสุขภาพ ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ และวัสดุเหลือใช้ชนิดต่าง ๆ ในพื้นที่ เพื่อท าให้ต้นพืชมีการ เจริญเติบโตที่ดี มีความต้านทางต่อโรคและแมลงได้มากขึ้น เพิ่มความหลากหลายของชนิดของผลไม้ภายในสวน เป็นการอนุรักษ์ และเพิ่มปริมาณของแมลงที่เป็นประโยชน์ ทั้งแมลงห้ า และแมลงเบียน ปรับระบบการท าสวนไม้ ผลในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง จนพัฒนาไปถึง จุดที่ธรรมชาติสามารถควบคุมกันเองได้ การก าจัดโรคแมลงก็ลดน้อย ตามล าดับ นอกจากนี้ การห่อผลไม้ด้วยถุงพลาสติกในระยะที่ผลไม้มีขนาดเท่าผลมะนาว เพื่อปูองกันแมลง วัน ทองเจาะไช หรือการน าขวดน้ าพลาสติกมาห่อหุ้มผลไม้เพื่อปูองกันการ กัดแทะของสัตว์ต่าง ๆ ได้อีกด้วย และ ให้น้ ารดต้นไม้แบบน้ าผสมปุ๋ยผ่านระบบสปริงเกอร์ โดยใช้ตะบันน าเป็นเทคโนโลยีการสูบน้ าอัตโนมัติ โดยไม่อาศัย เชื้อเพลิง เพียงแค่ใช้พลังงานจากน้ าเป็นตัวขับเคลื่อน ก็สามารถสูบน้ าใช้ได้แล้ว
7 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 5 สมุนไพรนานาพันธุ์ การปลูกผักพื้นบ้านและสมุนไพร เพื่อต้านโรคและรักษาโรค ผักพื้นบ้านและสมุนไพรเป็นภูมิปัญญา ท้องถิ่น ที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ไว้เพื่อแก่ไขปัญหาการด ารงชีวิต ให้ธาตุทั้ง 4 ในร่างกายที่มีความสมดุล “ฝาดสมาน หวานซาบเนื้อ เมาเบื้อแก้พิษ ดีโลหิตชอบขม แก้ลมเผ็ดร้อน หอมเย็นบ ารุงหัวใจ เค็มซาบผิวหนัง เปรี้ยวปราบเสมหะ”การใช้สมุนไพรหรือพืชผักในการด าเนินชีวิตตามวิถีไทยที่เรียนรู้มาจาก บรรพบุรุษ หรือผู้มี ความรู้ในท้องถิ่น ต้องค านึงถึงหลักการใช้ให้ถูกต้อง 1) ใช้ให้ถูกต้อง สมุนไพรมีชื่อพ้องหรือซ้ ากันมาก และบางท้องถิ่นก็เรียกไม่เหมือนกัน จึงต้องรู้จัก สมุนไพรให้ถูกต้น 2) ใช้ให้ถูกส่วนต้นสมุนไพรไม่ว่าจะเป็นราก ใบ ดอก เปลือกผลเมล็ดจะไม่ฤทธิ์ไม่เท่ากัน บางทีผลแก่ ผล อ่อนจะมีฤทธิ์แตกต่างกัน ดังนั้นจึงต้องรู้ว่าส่วนใดเป็นยาได้ 3) ใช้ให้ถูกขนาด สมุนไพรถ้าใช้น้อยไปก็รักษาไม่ได้ผล แต่ถ้ามากไปอาจเป็นอันตรายหรือเกิดพิษต่อ ร่างกายได้ 4) ใช้ให้ถูกวิธี สมุนไพรบางชนิดต้องใช้สด บางชนิดต้องปนกับเหล้า บางชนิดใช้ต้ม จะต้องรู้จักวิธีใช้ให้ ถูกต้อง 5) ใช้ให้ถูกกับโรค เช่น ท้องผูกต้องใช้ยาระบาย ถ้าใช้ยาที่มีฤทธิ์ฝาดสมานจะท าให้ท้องผูกยิ่งขึ้น ตัวอย่างเช่น บอระเพ็ด ใช้กินสดขนาด 1องคุลีของตนเอง โดยต้องกินร่วมกับมะเขือพวง เพื่อรักษาโรคเบาหวาน ลดความดัน เป็นยาอายุวัฒนะ ช่วยปรับความสมดุลของธาตุทั้งสี่ในร่างกาย
8 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 6 ประมงพอเพียง การขุดบ่อน้ า เพื่อเกษตรกรได้มีน้ าใช้อย่างสม่ าเสมอตลอดทั้งปี มีระบบหมุนเวียนน้ าใช้ เพื่อการเกษตรมี การประมงพอเพียง การเลี้ยงปลาแบบหลากหลายชนิดรวมกันเพื่อบริโภค คือการประมงที่เลี้ยงปลาผสมผสาน ทั้งปลากินพืช และปลากินสัตว์ ปล่อยรวมกันแบบปลาธรรมชาติภายในบ่อเดียวกัน เป็นการควบคุมปริมาณปลา และลดสภาวะการเกิดน้ าเน่าเสีย เป็นแหล่งอาหารโปรตีนของครอบครัว ลดต้นการซื้ออาหารโดยท าหยวกหมัก เป็นอาหารของปลา และท าให้เกิดห่วงโซ่ของอาหารเป็นการรักษาความสมดุลตามธรรมชาติ
9 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 7 สัตว์เลี้ยงพอเพียง การประกอบอาชีพเกษตรเลี้ยงสัตว์หลากหลายชนิด เป็นวิธีการเลี้ยงสัตว์ที่รุ่นพ่อแม่ของเราท ามาตั้งแต่ อดีต สัตว์ที่เลี้ยงด้วยมือคนตามหลักค าว่า พอเพียง พออยู่ พอใช้ สามารถใช้ของที่มีอยู่รอบตัวมาเป็นอาหาร มา เป็นยารักษาโรคสัตว์ได้ เช่น สมุนไพรต่างๆ พืชอาหารสัตว์ต่างๆ ใช้ต้นทุนต่ า เพราะไม่ต้องเสียเงินมากมายไปกับ การซื้ออาหารส าเร็จมาใช้ ให้ประโยชน์เกื้อกูลกัน เลี้ยงสัตว์เป็นอาหาร แต่ผลพลอยได้คือได้ปุ๋ยให้ต้นไม้ ส่วนต้นไม้ก็กลับมาเวียนเป็นอาหารของคนและสัตว์ต่อไป การเลี้ยงไก่แบบปล่อยให้หากินตามธรรมชาติ เพื่อช่วยก าจัดแมลง ช่วยพรวนดิน มูลเป็นปุ๋ย เลี้ยงเป็ด และห่าน เพื่อไว้กินเศษอาหารที่ท่อน้ าทิ้งจากห้องครัว เพื่อลดปริมาณแมลงวัน และกลิ่นเหม็นจากเศษอาหารที่เน่า บูด การเลี้ยงชันโรงไว้ เพื่อช่วยผสมเกสรไม้ผล และยังสามารถเก็บน้ าผึ้งชันโรงได้อีกทางหนึ่งด้วย นอกจากจะท าให้การเลี้ยงสัตว์สามารถลดต้นทุนได้แล้ว ยังเป็นการเลี้ยงที่ปลอดภัยด้วยเพราะไม่มีการใช้ สารเคมีต่างๆ เข้ามาช่วย เช่น การใช้สารเร่งต่างๆ
10 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 8 เวชภัณฑ์ชีวภาพ สารชีวภาพเพื่อการเกษตร หมายถึงสารชีวภาพเพื่อการเกษตรมีความส าคัญกับระบบเกษตรกรรมในยุค ปัจจุบันนี้ เพื่อน ามาใช้ทดแทนสารเคมีทางการเกษตร เป็นการท าการเกษตรกรรมทางเลือกอย่างหนึ่งที่ ประยุกต์ใช้กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ทางการเกษตรมาใช้ ท าให้สามารถผลิตอาหารที่ปลอดภัยกับผู้บริโภค และ ช่วยฟื้นฟู บ ารุง รักษา ระบบสิ่งแวดล้อม ให้คงอยู่ในสภาพที่สมดุลตลอดไป มีประโยชน์ดังนี้ ต่อระบบสิ่งแวดล้อม 1) หมุนเวียนธาตุอาหารในดิน 2) ท าให้ดินมีชีวิต 3) ช่วยลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการท าเกษตร ต่อสภาพเศรษฐกิจ 1) ลดต้นทุนการผลิต 2) สร้างอาชีพการผลิตสารชีวภาพ 3) เป็นพื้นฐานของการสร้างเศรษฐกิจพอเพียง ต่อสภาพสังคม 1) สร้างภูมิคุ้มกันต่อสุขภาพอนามัยให้กับผู้ผลิตและผู้บริโภค 2) สร้างความเข้มแข็งกับครัวเรือนและชุมชน
11 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 9 เสบียงกรังคลังพืช การเรียนรู้ชนิดของปุ๋ย และการท าปุ๋ยหมัก ทรัพย์ในดิน สินในน้ า เป็นค าที่บ่งบอกได้ว่าบ้านเรามีความ อุดมสมบูรณ์มากมายท าการเกษตรจึงง่าย และให้ผลผลิตที่โด่งดังไปไกลถึงระดับโลก ทุกสิ่งทุกอย่างรอบตัว สามารถหยิบมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งหมด ไม่เว้นแม้แต่เศษใบไม้ ที่หลายคนคอยกวาดทิ้ง เศษใบไม้ใบหญ้าที่แห้งและ กองรวมกันอยู่บนพื้นที่ เมื่อเวลาผ่านไป จะเกิดการย่อยสลายตามธรรมชาติ กลายเป็นฮิวมัสที่มีประโยชน์ต่อต้นไม้ ในบริเวณนั้น แต่การรอให้ใบไม้ทั้งหมดย่อยสลายไปเองนั้น ใช้เวลามาก เพื่อให้ได้ฮิวมัสในเวลาที่รวดเร็วมากขึ้น คือ การท าปุ๋ยหมักจากใบไม้ และเป็นการลดต้นทุนในการท าการเกษตรลง ชนิดของปุ๋ยหมัก จ าแนกเป็น 2 ประเภท 1. ปุ๋ยหมักแบบทั่วไป 2. ปุ๋ยหมักชีวภาพ -ปุ๋ยหมักจากปุ๋ยคอก -ปุ๋ยหมักจากพืช -ปุ๋ยหมักชีวภาพจากเศษอาหาร และขยะ
12 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ฐานการเรียนรู้ที่ 10 คนมีน้ ายา ในปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาสภาวะเศรษฐกิจตกต่ า จึงท าให้ราคาสินค้าอุปโภคบริโภคใน ท้องตลาด มีราคาสูงขึ้นท าให้ส่งผลกระทบต่อครอบครัวในด้านใช้จ่ายสูงขึ้นแต่มีรายได้เท่าเดิม ดังนั้นจึงได้คิด วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยการผลิตน้ ายาล้างจาน น้ ายาซักผ้า และน้ ายาปรับผ้านุ่ม ไว้ใช้เองภายในครัวเรือน เพื่อลด รายจ่าย และสามารถเก็บไปจ าหน่ายเป็นรายได้เสริมได้ด้วย เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได้ และไม่เป็นพิษต่อ สิ่งแวดล้อม
13 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ตอนที่ 2 ข้อมูลการประเมิน (30 คะแนน) องค์ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนที่ ได้ ด้านที่ 1 ความรู้ เชี่ยวชาญ เฉพาะด้าน (10 คะแนน) ๑. มีองค์ความรู้ด้านใดด้านหนึ่ง 2. สืบสานและพัฒนาต่อยอด องค์ความรู้ 3. น าเทคโนโลยีพื้นบ้านมา พัฒนาองค์ความรู้ 4. น าเทคโนโลยีที่ทันสมัยมา พัฒนาองค์ความรู้ 5. น าองค์ความรู้ไปใช้ในการ ปฏิบัติจริงและเกิดเป็น รูปธรรม ๑. ตรวจสอบสภาพจริง ๒. เอกสารหลักฐาน ๓. สังเกต สัมภาษณ์ ๔. ภาพถ่าย ๕. โล่/รางวัล/เกียรติบัตร ๖. อื่น ๆ (โปรดระบุ.....) 10 = มีตัวชี้วัด 5 รายการ 8 = มีตัวชี้วัด 4 รายการ 6 = มีตัวชี้วัด 3 รายการ 4 = มีตัวชี้วัด 2 รายการ 2 = มีตัวชี้วัด 1 รายการ ด้านที่ 1 ความรู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (10 คะแนน) ๑. มีองค์ความรู้ด้านใดด้านหนึ่ง กศน.อ าเภอหนองใหญ่ มีส่วนช่วยในการส่งเสริมให้ความรู้ในด้านเกษตรกรรม ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรธรรมชาติ ให้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ซึ่งเรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเองด้านเกษตรกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตร ทฤษฎีใหม่ และเกษตรธรรมชาติจากการศึกษาหาความรู้ผ่านหนังสือจากห้องสมุดประชาชนอ าเภอหนองใหญ่ ผ่านโซเชียลมีเดีย จากการเข้ารับการอบรมศึกษาหาความรู้จากหน่วยงานต่างๆ และจากการลองผิดลองถูกด้วย ตนเอง จึงสามารถจัดตั้ง ไร่บุญญา เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนในพื้นที่ต าบลเขาซก ได้ส าเร็จและสามารถเป็น วิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตรกรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตร ธรรมชาติให้กับชาวบ้านและผู้ที่เข้ามาศึกษาหาความรู้ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังได้รับเชิญให้ไปเป็นวิทยากรถ่ายทอด ความรู้ให้กับหน่วยงานต่างๆมากมาย จนเป็นที่ยอมรับยกย่องให้เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านเกษตรกรรม ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรธรรมชาติ เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรด้านการท าเกษตรกรรม
14 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 2. สืบสานและพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ ได้พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ของตนเอง ในด้านเกษตรกรรม ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง โดยศึกษาหาความรู้ผ่านหนังสือ หนังสื่อพิมพ์ วารสาร จากห้องสมุดประชาชนอ าเภอหนองใหญ่ข้อมูลข่าวสารจากอินเตอร์เน็ต และยังได้เข้ารับ การอบรมศึกษาหาความรู้จากหน่วยงานต่างๆ เพื่อพัฒนาองค์วามรู้อยู่เสมอ เข้ารับการอบรมด้านเกษตรกรรม กับหน่วยงาน กศน.อ าเภอหนองใหญ่ เข้าร่วมศึกษาดูงานกับหน่วยงานต่างๆ 3. น าเทคโนโลยีพื้นบ้านมาพัฒนาองค์ความรู้ เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ เป็นผู้ที่แสวงหาความรู้อยู่เสมอ จึงมักจะมีแนวความคิดแปลกใหม่ และคิด ประดิษฐ์อุปกรณ์ใหม่ๆ เพื่อให้การท างานมีความคล่องตัว รวดเร็ว สะดวกต่อการใช้งาน อุปกรณ์สิ่งนี้คือเครื่องห่อ ผลไม้ ใช้ส าหรับห่อผลไม้ที่อยู่สูงๆที่เราเอื้อมไม่ถึง เครื่องนี้จะช่วยให้เราท างานได้สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น จากที่ประสบปัญหาผลผลิตไม่ได้ตามที่ตั้งเปูาหมายไว้ เนื่องจากสัตว์ปุามากัดแทะผลผลิต เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ จึงได้คิดหาวิธีการปูองกันไม่ให้สัตว์มากัดแทะผลผลิต โดยการน าเอาขวดพลาสติกซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้ ภายในบ้านมารีไซเคิล เป็นอุปกรณ์ปูองกันสัตว์กัดแทะ ซึ่งผลจากการใช้อุปกรณ์ชิ้นนี้ก็เป็นที่น่าพึงพอใจ อุปกรณ์ปูองกันสัตว์กัดแทะ สามารถใช้งานได้จริงและมีประสิทธิภาพ
15 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 4. น าเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาพัฒนาองค์ความรู้ เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ เป็นผู้ที่มีความรู้ในด้านเกษตรกรรม แสวงหาความรู้อยู่เสมอ จึงมักจะมี แนวความคิดแปลกใหม่ และคิดประดิษฐ์อุปกรณ์ใหม่ๆ เพื่อให้การท างานมีความคล่องตัว รวดเร็ว สะดวกต่อการ ใช้งาน อุปกรณ์สิ่งนี้คือเครื่องห่อผลไม้ ใช้ส าหรับห่อผลไม้ที่อยู่สูงๆที่เราเอื้อมไม่ถึง ที่คิดค้นและประดิษฐ์ขึ้นมา ภายใต้แนวคิดในการลดความเสี่ยงอันอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเองและผู้ปฏิบัติงาน ขณะต้องปีนปุายต้นไม้ผล ขึ้นไปท าการห่อผล เพื่อปูองกันการเข้าเจาะท าลายของแมลงวันผลไม้และเป็นการจัดการเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตไป ในคราวเดียวกัน โดยใช้วัสดุ-อุปกรณ์ที่หาได้ง่ายในท้องถิ่นมาประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ ประโยชน์ที่ได้รับจากเครื่องห่อผลไม้ 1. เหมาะส าหรับการห่อผลไม้ในที่สูง โดยเฉพาะผลไม้ที่อยู่ปลายกิ่งที่ท าการห่อด้วยการปีนต้นล าบาก 2. ลดอุบัติเหตุจากการปีนปุายต้นไม้สูงๆ หรือ จากการพลัดตกบันใด 3. เครื่องมือนี้ท าจากวัสดุหาง่าย ราคาถูก ท าให้ต้นทุนการผลิตต่ า 4. ลดการใช้แรงงานในการห่อผลไม้ 5. สะดวกและใช้งานง่าย 6. ย่นระยะเวลาในการปฏิบัติงานลงได้ อุปกรณ์ส าหรับห่อผลไม้สามารถห่อผลไม้ได้หลากหลายชนิด ถึงแม้ว่าผลไม้จะอยู่สูงก็สามารถห่อได้อย่างรวดเร็ว
16 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 5. น าองค์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติจริงและเกิดเป็นรูปธรรม เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ เป็นผู้ที่มีความรู้ในด้านเกษตรกรรม สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถของ ตนเองด้านเกษตรกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรธรรมชาติ จากการศึกษาหาความรู้ผ่านหนังสือ หนังสื่อพิมพ์ วารสาร จากห้องสมุดประชาชนอ าเภอหนองใหญ่ ผ่านโซเชียล มีเดีย จากการเข้ารับการอบรมศึกษาหาความรู้จากหน่วยงานต่างๆ และจากการลองผิดลองถูกด้วยตนเอง จึงสามารถจัดตั้ง ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” หรือ “ไร่บุญญา” เป็นศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง เกษตรธรรมชาติ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ ของชุมชนในพื้นที่ต าบลเขาซก และอ าเภอหนองใหญ่ได้ ส าเร็จ และสามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตรกรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตร ทฤษฎีใหม่ และเกษตรธรรมชาติ ให้กับชาวบ้านและผู้ที่เข้ามาศึกษาหาความรู้ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังได้รับเชิญให้ ไปเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ให้กับหน่วยงานต่างๆมากมาย จนเป็นที่ยอมรับยกย่องให้เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้าน เกษตรกรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรธรรมชาติ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรธรรมชาติ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ มีประชาชน นักศึกษา และผู้ที่สนใจเข้ามาศึกษาหาความอยู่เสมอ เป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้แก่ผู้เข้ามาศึกษาหาความรู้
17 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ตอนที่ 2 ข้อมูลการประเมิน (30 คะแนน) ต่อ องค์ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนที่ได้ ด้านที่ 2 การ ถ่ายทอดความรู้ ให้แก่ชุมชน/ สังคม (10 คะแนน) 1. เผยแพร่องค์ความรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน 2. ได้รับเชิญเป็นวิทยากร ถ่ายทอดองค์ความรู้ไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง/ต่อปี 3. มีจ านวนผู้รับบริการ เฉลี่ย 30 คน/เดือน 4. วัดความพึงพอใจของ ผู้รับบริการ 5. น าเทคโนโลยีมาใช้ในการ ถ่ายทอดองค์ ความรู้ 6. มีสื่อเพื่อใช้ในการเผยแพร่องค์ ความรู้ ๑. ตรวจสอบสภาพ จริง ๒. เอกสารหลักฐาน ๓. สังเกต สัมภาษณ์ ๔. ภาพถ่าย ๕. โล่/รางวัล/เกียรติ บัตร ๖. อื่น ๆ (โปรดระบุ .....) 10 = มีตัวชี้วัด 5 รายการ 8 = มีตัวชี้วัด 4 รายการ 6 = มีตัวชี้วัด 3 รายการ 4 = มีตัวชี้วัด 2 รายการ 2 = มีตัวชี้วัด 1 รายการ ด้านที่ 2 การถ่ายทอดความรู้ให้แก่ชุมชน/สังคม (10 คะแนน) ๑. เผยแพร่องค์ความรู้ อย่างน้อย 1 ครั้ง/เดือน ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” หรือ ไร่บุญญา เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00 น. ถึง เวลา 18.00 น. มีผู้สนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้และขอค าแนะน าด้านเกษตรกรรมตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรธรรมชาติจากเรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ อยู่เสมอ อีกทั้งเรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ ยังได้เผยแพร่องค์ความรู้ผ่านเว็บไซต์ เพจ เฟสบุ๊ค และได้รับเชิญให้เป็นวิทยากร ให้ความรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงในโครงการต่างๆอีกด้วย วันที่ 4 มีนาคม 2563 กศน.อ าเภอบ่อทองจัดโครงการเสริมสร้างการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนด้วยปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
18 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น คณะกรรมการประเมินศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา เข้าเยี่ยมชม ไร่บุญญา เผยแพร่องค์ความรู้ เกี่ยวกับน้ าหมักชีวภาพ เดือนกุมภาพันธ์ 2563 กศน.ต าบลเขาซก น าประชาชนเข้าศึกษาดูงาน ไร่บุญญา ประชาชนที่สนใจเดินทางเข้ามาศึกษาหาความรู้อย่างสม่ าเสมอ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์อยู่เสมอ
19 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ประชาชนที่สนใจเดินทางเข้ามาศึกษาหาความรู้อย่างสม่ าเสมอ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์อยู่เสมอ 2. ได้รับเชิญเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ ไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง/ปี เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ จึงมักจะรับเชิญให้เป็นวิทยากรให้ความรู้ด้าน เกษตรกรรม เศรษฐกิจพอเพียง อยู่เสมอ กศน.อ าเภอบ่อทอง น านักศึกษาและประชาชน เข้าศึกษาดูงาน ณ ไร่บุญญา วันที่ 4 มีนาคม 2563 กศน.ต าบลเขาซก น านักศึกษา ประชาชน เข้าศึกษาดูงาน วันที่ 26-27 มิถุนายน 2563
20 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ประชาชนที่สนใจเดินทางเข้ามาศึกษาหาความรู้อย่างสม่ าเสมอ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์อยู่เสมอ วันที่ 2 ธันวาคม 2563 ได้รับเชิญไปบรรยายเรื่องการท าเกษตรทฤษฎีใหม่ สืบสานปณิธานของ พ่อหลวง ร.๙ ให้ลูกค้า ธ.ก.ส.หนองใหญ่ รับฟังและน าไปปฏิบัติเพื่อจะได้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
21 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 3. มีจ านวนผู้รับบริการ เฉลี่ย 30 คน/เดือน ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” หรือ ไร่บุญญา เปิดให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00 น. ถึง 18.00 น. มีผู้สนใจเข้ามาศึกษาหาความรู้และขอค าแนะน าด้านเกษตรกรรม จากเรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ โดยเฉลี่ย 30 คน/เดือน เช่น เดือนตุลาคม 2562 เจ้าหน้าที่จากธนาคารเพื่อการเกษตรอ าเภอหนองใหญ่ เข้าเยี่ยม ชมศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม,เดือนกรกฎาคม 2563 เจ้าหน้าที่จากกรมประมง อ าเภอหนองใหญ่ เข้าเยี่ยมชมและ ศึกษาดูงาน, กศน.ต าบลเขาซก น านักศึกษา ประชาชน เข้าศึกษาดูงาน เป็นต้น กศน.อ าเภอบ่อทอง น านักศึกษาและประชาชน เข้าศึกษาดูงาน ณ ไร่บุญญา วันที่ 4 มีนาคม 2563 กศน.ต าบลเขาซก น านักศึกษา ประชาชน เข้าศึกษาดูงาน วันที่ 26-27 มิถุนายน 2563 ประชาชนที่สนใจเดินทางเข้ามาศึกษาหาความรู้อย่างสม่ าเสมอ และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านเว็บไซต์อยู่เสมอ
22 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 4. วัดความพึงพอใจของผู้รับบริการ เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ ได้ท าการวัดความพึงพอใจของผู้ที่เข้ามาใช้บริการ หรือมาศึกษาหาความรู้ ภายในศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” ไร่บุญญา โดยการใช้แบบสอบถาม เพื่อวัดความพึงพอใจ ในการมาศึกษาหาความรู้ และข้อเสนอแนะที่อยากให้ศูนย์ฯน าไปปรับปรุง เป็นต้น จากการสอบถามความพึงพอใจโดยการสอบถามพูดคุย และการประเมินความพึงพอใจผ่าน QR Code โดย ประชาชนที่เข้ามาศึกษาหาความรู้ส่วนใหญ่ มีความพึงพอใจและดีใจมากที่ได้เข้ามาศึกษาหาความรู้ภายใน ไร่บุญญา 5. น าเทคโนโลยีมาใช้ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” หรือ ไร่บุญญา ได้น าเทคโนโลยีมาใช้ในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ ให้กับประชาชนที่สนใจ ผ่านทาง เพจ ศูนย์เรียนรู้ฯ ไร่บุญญา และทางเฟซบุ๊ก เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ
23 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ ได้ถ่ายท ารายการ สถานีเกษตรของคนไทยหัวใจเกษตร ณ ศูนย์การเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” หรือ ไร่บุญญา และออกอากาศทางช่อง 9 อสมท. ในวันที่ 23 กันยายน 2562 https://www.youtube.com/watch?v=ZfoOpxPkCw&feature=youtu.be&fbclid=IwAR0B47DwPFaHrP3Cu0_V_8BtilufMd5gG9gBjEBM6n6jpb1U6Z131 2FfO5g
24 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 6. มีสื่อเพื่อใช้ในการเผยแพร่องค์ความรู้ เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ด้านเกษตรกรรม ด้านเศรษฐกิจ พอเพียง ในการให้ความรู้แต่ละครั้ง เรือตรีวิญญา จะเตรียมสื่อการสอนเพื่อใช้ในการเผยแพร่องค์ความรู้ทุกครั้ง เพื่อให้ผู้รับฟังได้รับความรู้อย่างถูกต้องและแท้จริง ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” หรือ ไร่บุญญา ได้น าเทคโนโลยีมาใช้ในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ ให้กับประชาชนที่สนใจ ผ่านทาง เพจ ศูนย์เรียนรู้ฯ ไร่บุญญา และ ทางเฟซบุ๊ก เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ แผ่นพับ ไร่บุญญา
25 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น Powerpoint น าเสนอความรู้
26 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ตอนที่ 2 ข้อมูลการประเมิน (30 คะแนน) ต่อ องค์ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน เกณฑ์การให้ คะแนน คะแนนที่ได้ ด้านที่ 3 การ เป็นแบบอย่างที่ ดีของภูมิ ปัญญา/ปราชญ์ ชาวบ้าน (10 คะแนน) ๑. มีแนวทางในการพัฒนาตนเอง 2. มีจิตอาสาที่จะเผยแพร่องค์ความรู้ 3. มีเครือข่ายมาร่วมในการจัดการ เรียนรู้ 4. มีผลงานเป็นที่ยอมรับ/เป็นที่ ศึกษาดูงาน 5. มีผู้เรียนน าองค์ความรู้ไปปฏิบัติ 6. มีการประพฤติตนเป็นที่ยอมรับ ของคนในชุมชน ๑. ตรวจสอบสภาพจริง ๒. เอกสารหลักฐาน ๓. สังเกต สัมภาษณ์ ๔. ภาพถ่าย ๕. โล่/รางวัล/เกียรติ บัตร ๖. อื่น ๆ (โปรดระบุ.....) 10 = มีตัวชี้วัด 5 รายการ 8 = มีตัวชี้วัด 4 รายการ 6 = มีตัวชี้วัด 3 รายการ 4 = มีตัวชี้วัด 2 รายการ 2 = มีตัวชี้วัด 1 รายการ ด้านที่ 3 การเป็นแบบอย่างที่ดีของภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้าน ๑. มีแนวทางในการพัฒนาตนเอง กศน.อ าเภอหนองใหญ่ ได้ส่งเสริมให้ความรู้ในด้านเกษตรกรรม ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ เป็นผู้ที่มีความสนใจและใส่ใจในการหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ ไม่ว่าจะศึกษาหา ความรู้ผ่านหนังสือ วารสาร สิ่งพิมพ์ต่างๆแล้ว ก็ยังหาความรู้ผ่านสื่อโซเชียลมีเดียต่างๆสามารถพัฒนาความรู้และ จัดตั้ง ไร่บุญญา เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนในพื้นที่ต าบลเขาซก ถ่ายทอดความรู้ด้านการเกษตรกรรม ศาสตร์พระราชา ให้กับชาวบ้านและผู้ที่เข้ามาศึกษาหาความรู้ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังได้รับเชิญให้ไปเป็นวิทยากร ให้กับหน่วยงานต่างๆมากมาย จนเป็นที่ยอมรับยกย่องให้เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านเกษตรกรรม ได้เข้าร่วมอบรมรับฟังความรู้ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรธรรมชาติ โดยมีวิทยากรจากศูนย์ฝึกและ พัฒนาอาชีพเกษตรกรรม วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชด าริมาให้ความรู้
27 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ศึกษาดูงานเรียนรู้ดูงานวันดินโลก อ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เข้าร่วมอบรมการพัฒนาเกษตกรผู้น า ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ น าความรู้ความสามารถมาพัฒนาไร่บุญญา จนเป็นที่ยอมรับจากหน่วยงาน ต่างๆ และได้รับป้าย จากหน่วยงานราชการ ดังนี้ ๑. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ ๒. ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กรรมอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ๓. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเกษตรธรรมชาติ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ กศน.อ าเภอหนองใหญ่ ๔. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร (ด้านประมง) ๕. จุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ประจ าต าบลเขาซก อ าเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี ๖. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ปีการศึกษา 2562 สถานศึกษาในสังกัดส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
28 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 2. มีจิตอาสาที่จะเผยแพร่องค์ความรู้ เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้ สืบสานปณิธานของพ่อหลวง รัชกาลที่ 9 น้อมน า หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฏีใหม่ เกษตรธรรมชาติและถ่ายทอดองค์ความรู้การเป็น Smart Farmer สอนการผลิตปุ๋ยน้ า ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด การปลูกผักสวนครัวและการเผาถ่าน ให้กับประชาชนใน หมู่ 2 ต าบลเขาซก เป็นต้นแบบ ประชาชนน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพลดรายจ่ายเพิ่มรายได้มี คุณภาพชีวิตที่ดี 3. มีเครือข่ายมาร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง“ตามรอยพ่อ” หรือ ไร่บุญญา ได้มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเข้ามา มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอหนองใหญ่ ส านักงานเกษตรอ าเภอหนองใหญ่ หน่วยงานทหารผ่านศึก ธนาคารเพื่อการเกษตร สาขาอ าเภอหนองใหญ่ กรมประมงอ าเภอหนองใหญ่ และ กศน.อ าเภอหนองใหญ่ เป็นต้น
29 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 4. มีผลงานเป็นที่ยอมรับ/เป็นที่ศึกษาดูงาน เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ เป็นผู้ที่มีทั้งความรู้ความสามารถ เป็นที่ประจักษ์แก่คนทั่วไป จึงได้รับการ คัดเลือกให้เป็นเกษตรกรต้นแบบ อ าเภอหนองใหญ่ และยังมีรางวัลอื่นๆอีกมากมาย ผ่านการประเมินคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน.ดีเด่น ระดับภาคตะวันออก ประจ าปี 2562 อันดับ 1 ระดับภาคตะวันออก สาขา ภาคีเครือข่าย ประเภท ภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้าน ดีเด่น
30 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ชนะเลิศ อันดับ 1 การประเมินคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน.ดีเด่น ระดับภาคตะวันออก ประจ าปี 2562 อันดับ 1 ระดับภาคตะวันออก สาขา ภาคีเครือข่าย ประเภท ภูมิปัญญาปราชญ์ชาวบ้าน ดีเด่น ได้รับการคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน.เด่น ประจ าปี 2562 (ระดับจังหวัด) รางวัลที่ 1 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้าน ดีเด่น
31 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ได้รับรางวัลชมเชย ปี 2561 จากมูลนิธิสมาน คุณหญิงเบญจา แสงมะลิ ได้รับใบประกาศเกียรติคุณ เกษตรกรต้นแบบอ าเภอหนองใหญ่ ปี 2562 จากผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี ได้รับประกาศเกียรติคุณเกษตรกรต้นแบบโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่จังหวัดชลบุรีเพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
32 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น 5. มีผู้เรียนน าองค์ความรู้ไปปฏิบัติ จากการเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตรกรรม เศรษฐกิจพอเพียง เกษตรธรรมชาติ การเป็น Smart Farmer ให้กับประชาชน หมู่ที่ 2 ต าบลเขาซก อ าเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี จ านวน 45 ครัวเรือน ได้น าเอาความรู้ที่ได้รับเป็นต้นแบบในการด ารงชีวิต สามารถลดรายจ่าย สร้างรายได้ มีความมั่นคงและยั่งยืน ประชาชนต าบลเขาซกเขาซก จ านวน 45 ครัวเรือน ได้น าเอาความรู้ที่ได้รับมาเป็นต้นแบบในการใช้ชีวิตประจ าวัน 6. มีการประพฤติตนเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน เรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ มีการประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีเป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน ด าเนินชีวิตใน สังคม โดยมีความคิดดี จิตใจดี และปฏิบัติดี มีความเอื้ออาทรเห็นคุณค่า และช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ในสังคม โดยไม่หวัง ผลตอบแทน เข้าร่วมท าบุญ สืบสาน ประเพณีตามวันส าคัญต่างๆ และเข้าร่วมสวดมนต์ทุกวันพระ เข้าร่วมบริจาคโลหิต เข้าร่วมกิจกรรมกับทางชุมชนอย่างสม่ าเสมอ
33 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ตอนที่ 3 ผลงานที่ประสบความส าเร็จ (20 คะแนน) องค์ประกอบ ตัวชี้วัด หลักฐาน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนที่ได้ ผลงานที่ประสบ ความส าเร็จ (20 คะแนน) มีผลงานเด่นที่เป็น ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ ชุมชนและสังคม ๑. ตรวจสอบสภาพจริง ๒. สังเกต สัมภาษณ์ ๓. เอกสารหลักฐาน ๔. ภาพถ่าย ๕. โล่/รางวัล/เกียรติบัตร ๖. อื่น ๆ (โปรดระบุ.....) 10 = มีตัวชี้วัด 5 รายการ 8 = มีตัวชี้วัด 4 รายการ 6 = มีตัวชี้วัด 3 รายการ 4 = มีตัวชี้วัด 2 รายการ 2 = มีตัวชี้วัด 1 รายการ ผลงานที่ประสบความส าเร็จ ไร่บุญญาได้จัดท าพื้นที่ในศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ เป็นฐานการเรียนรู้ ที่เชื่อมโยงกับ ความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศาสตร์ของพระราชา เรื่อง การเกษตรทฤษฎีใหม่ และการเกษตร ธรรมชาติ เพื่อขยายผลการเรียนรู้กับนักเรียนจากโรงเรียนใน เขตอ าเภอหนองใหญ่ นักศึกษา กศน. หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน เพื่อนเกษตรกรและประชาชนและมีการน าองค์ความรู้มาจัดฐานการเรียนรู้ จ านวน ๑๐ ฐาน มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสามห่วงหลักการ สองเงื่อนไข รองรับการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบันสู่สี่มิติโดยทาง กศน.อ าเภอหนองใหญ่ได้ด าเนินการเผยแพร่ ความรู้ผ่านทาง Webpage กศน.อ าเภอหนองใหญ่ และ กศน.ต าบลทุกต าบล • ฐานที่ 1 ขยะคือขุมทรัพย์ การบริหารจัดการขยะในครัวเรือน • ฐานที่ 2 ตนเอาถ่าน การเผาถ่านด้วยถังแบบตั้ง 200 ลิตร และการใช้ประโยชน์จากน้ าส้มควันไม้ • ฐานที่ 3 สวนครัวรั้วกินได้ท าการเกษตรแบบประณีตในพื้นที่จ ากัด • ฐานที่ 4 ไม้ผลเลี้ยงตนเอง เทคนิคการปลูกไม้ผลหลากหลายชนิดรวมกันไว้บริโภคตามฤดูกาล • ฐานที่ 5 สมุนไพรนานาพันธุ์ การปลูกพืชผักและสมุนไพรพื้นบ้านต้านโรค • ฐานที่ 6 ประมงพอเพียง การเลี้ยงปลาหลากหลายชนิดเพื่อการบริโภคอาหารโปรตีน • ฐานที่ 7 สัตว์เลี้ยงพอเพียง การเลี้ยงสัตว์ให้เพียงพอต่อการใช้ประโยชน์ • ฐานที่ 8 เวชภัณฑ์ชีวภาพ การผลิตปุ๋ยน้ าอินทรีย์ ฮอร์โมน และยาสมุนไพรไล่แมลง • ฐานที่ 9 เสบียงกรังคลังพืช เรียนรู้ชนิดของปุ๋ย และการท าปุ๋ยหมัก • ฐานที่ 10 คนมีน้ ายา เรียนรู้การท าน้ ายาซักผ้า น้ ายาล้างจาน น้ ายาเอนกประสงค์ QR Code ถอดบทเรียน 10 ฐานการเรียนรู้ ไร่บุญญา ของเรือตรีวิญญา อุณห์ไวทยะ
34 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ได้รับป้ายศูนย์ต่าง ๆ จากหน่วยงานราชการ ดังนี้ ๑. ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตามรอยพ่อ ๒. ศูนย์อนุรักษ์พันธุ์กรรมอันเนื่องมาจากพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ๓. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเกษตรธรรมชาติ อันเนื่องมาจากพระราชด าริ กศน.อ าเภอหนองใหญ่ ๔. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร (ด้านประมง) ๕. จุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ประจ าต าบลเขาซก อ าเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี ๖. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ปีการศึกษา 2562 สถานศึกษาในสังกัดส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รางวัล หรือประกาศเกียรติคุณที่ได้รับ ๑. รางวัลพระราชทานประกาศเกียรติคุณและเข็มที่ระลึกผู้บริจาคโลหิตครบ ๓๖ ครั้ง เมื่อวันที่ ๔ กรกฏาคม ๒๕๕๙ ๒. รางวัลชมเชย ผู้มีผลงานดีเด่นสาขาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จากมูลนิธิสมาน คุณหญิงเบญจา แสงมลิ ประจ าปี ๒๕๖๑ ๓. รางวัลประกาศเกียรติคุณ เกษตรกรต้นแบบอ าเภอหนองใหญ่ จากผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๖๒ ประจ าปี ๒๕๖๒ ๔. เกียรติบัตรรางวัลที่ ๑ (ระดับจังหวัด) สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ประจ าปี๒๕๖๒ ๕. เกียรติบัตรอันดับที่ ๑ ระดับภาคตะวันออก ประจ าปี ๒๕๖๒ สาขาภาคีเครือข่าย ประเภท ภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ๖. เกียรติบัตรรางวัลชมเชย ประเภททหารผ่านศึกนอกประจ าการดีเด่น ภาคกลาง ประจ าปี ๒๕๖๓ ๗. เป็นแกนน าขยายผลเกษตรธรรมชาติดีเด่นระดับประเทศ การคัดเลือกบุคคลเข้ารับการอบรม เกษตรธรรรมชาติระดับสูง (ระดับประเทศ)ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖3 ๘. ผ่านการประเมินเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้ารับการอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูงในต่างประเทศตามโครงการ ความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านการพัฒนาส่งเสริมและเผยแพร่เกษตรธรรมชาติระหว่างส านักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยMOA International Association มูลนิธิ เกษตรธรรมชาติ MOA ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ MOA และมูลนิธิเอ็มโอเอไทย
35 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ภาพบรรยากาศการคัดเลือกบุคคลเข้ารับการอบรมเกษตรธรรมชาติระดับสูง (ระดับประเทศ)
36 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น
37 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น
38 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ภาพบรรยากาศการประเมินสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ปีการศึกษา 2562 สถานศึกษาในสังกัดส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
39 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น
40 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น
41 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ได้รับการเผยแพร่องค์ความรู้ถอดบทเรียนเกษตรต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงของส านักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี
42 การคัดเลือกการปฏิบัติงาน กศน. ดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2563 สาขาภาคีเครือข่าย ประเภทภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเด่น ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับศูนย์ ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง ฐานการเรียนรู้ ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง หนังสือเชิญเป็นวิทยากร ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง รายการคนไทยหัวใจเกษตร ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง รายการเกษตรกรต้นแบบ อ าเภอหนองใหญ่ ข้อมูลเพิ่มเติม เรื่อง เว็ปไซต์ไร่บุญญา