47 ผลงานด้านการวิจัย
• รปู แบบและแนวทางการส่งเสรมิ กลุ่มอาชพี คนพิการจงั หวัดชยั ภมู ิ
• รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ในบรบิ ทประชาคมอาเซยี นของสถานศึกษา
(บรรยายสิ่งที่จะทำในเชิงยุทธศาสตร์เพื่อแสดงให้ผู้อ่านคาดเดาได้ว่าท่านรับผิดชอบงานด้านไหน
ประมาณ ๑ หน้า)
ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๗ ได้กำหนดบทบาท
หน้าที่ที่สำคัญของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ที่ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการ
พัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดินนั่นก็คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิต้องเป็น
มหาวิทยาลัยที่รับใช้สังคม หรือมหาวิทยาลัยที่บริการท้องถิ่นชุมชนเป็นสำคัญ ไม่ว่าจะเป็นด้าน
วิชาการ การสอน วิจัย ศิลปวัฒนธรรม และการบริการวิชาการ ดังนั้นผู้บริหารมหาวิทยาลัยต้อง
มีจิตใจแห่งการบริการ และอยากเห็นนักศึกษา บุคลากรและหน่วยงานต่างๆของมหาวิทยาลัย
ให้บริการที่เปี่ยมไปด้วยไมตรีจิต เป็นมิตรและน่าเข้าหา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิยังเป็น
ศูนย์กลางแหล่งความรู้ที่สำคัญของจังหวัดชัยภูมิ นอกจากต้องมีความเป็นเลิศทางด้านวิชาการแล้ว
ยังต้องพัฒนาด้านการบริการให้ทันสมัยและสามารถสนองความต้องการของชุมชนและนักศึกษา
ปัญหาอย่างหนึ่งของมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิที่ประสบอยู่ก็คือ การขาดความเชื่อมั่นใน
มหาวิทยาลัย ส่งผลต่อชื่อเสียง จำนวนนักศึกษาและมักจะได้ยินข่าวด้านลบทั้งที่มหาวิทยาลัยราช
ภัฏชัยภูมิมีสิ่งที่ดีจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นมหาวิทยาลัยที่สวยงาม มีบุคลากรที่มีความรู้
ความสามารถ ดังนั้นสิ่งที่มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิควรจะเร่งรัดในการแก้ไขปัญหาก็คือ สร้าง
ความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้นกับบุคคลทั่วไป ต้องมีการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์อย่างจริงจังและมีโครงการที่
ชัดเจนในการให้บริการกับสังคม เป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ส่งผลให้เกิดมูลค่าเพิ่มต่อ
มหาวิทยาลัย เช่น มีนักศึกษาเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงมหาวิทยาลัยเพิ่มขึ้น เกิด
สังคมใหม่ที่น่าอยู่น่าอาศัยและที่สำคัญคือประชาชนรู้สึกมีความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัยของ
จังหวดั ชยั ภมู ิ
มหาวิทยาลัยจึงต้องสร้างความร่วมมือกับทุกระดับตั้งแต่จังหวัด ท้องถิ่น องค์กร
ภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้เกิดความไว้วางใจและสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับมหาวิทยาลัย
ตลอดจนสร้างทัศนคติให้นักศึกษามีจิตอาสาและการอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ผ่านกระบวนการ
ดา้ นศิลปวัฒนธรรมและกจิ กรรมของนักศกึ ษา
48
ผลงานดา้ นการวิจัย
การดำเนินการดังกล่าวควรจะต้องดำเนินภายใต้งานกิจการนักศึกษาและกิจการ
พิเศษ ที่มีขอบข่ายการปฏิบัติงานด้านพัฒนาศักยภาพนักศึกษา นอกเหนือจากงานด้านวิชาการ ซึ่ง
ปัจจุบันมีนักศึกษาที่เป็น GenZ จึงได้มีการพัฒนางานตามยุทธศาสตร์ทVี 1 ปฏิรูปเพPือการ
พฒั นาองค์กร (Reform & Repositioning) ตามกลยทุ ธ์ (R.S) : พฒั นาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาและ
การสร้างครูพนั ธ์ใหม่ (Digital Citizen) ผา่ นกิจกรรมทีPไมส่ ามารถหาได้ในห้องเรียนและนําเอา
พฤตกิ รรม Gen Z ทPีชอบตดั สนิ ใจทําอะไรอยา่ งรวดเร็ว ใช้เวลาสว่ นใหญ่อยบู่ นเวบ็ สอืP สารผา่ น
อินเทอร์เน็ตเป็นหลกั อาทิ โครงการฝึกอบรมทกั ษะอาชีพ, โครงการ Start up โดยต้องอาศยั
การบรู ณาการจากหน่วยงานภายนอกไม่ว่าจะเป็นภาครัฐหรือเอกชนในการดําเนินงาน แต่ทงั` นี `
ต้องมีการเสริมสร้างคณุ ธรรม จริยธรรมให้กบั นกั ศึกษาเพPือให้สมดงั อตั ลกั ษณ์ของบณั ฑิตทPีว่า
“ความรู้ดี มีคุณธรรม นําสังคม” เช่น โครงการปลูกฝังอบรมคุณธรรมจริยธรรมนักศึกษา
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ, โครงการจิตอาสาผ่านชมรมตา่ งๆ เพืPอให้นกั ศกึ ษาฝึกความเป็นผ้นู ํา
และทํางานเป็นทีม, ทัง` นีย` ังต้องมีการปลูกฝังให้นักศึกษารักในความเป็นมหาวิทยาลัย และ
จงั หวดั ชยั ภมู ิ ซVึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ทVี X ครอบครัวราชภฏั ชยั ภมู ิ เปPียมสขุ มนัP คง มงัP คงPั
ยงPั ยืน (Quality of Life &Sustainability) กลยทุ ธ์ทีP (e.R) : สง่ เสริมคา่ นิยม "ราชภฏั ชยั ภมู ิ เราทํา
ได้ด้วยกนั " (CPRU Mind is One) ผา่ นโครงการพาน้องไหว้พอ่ แล, โครงการเรารัก CPRU ให้เดก็
Gen Z เปิดกว้างทางความคดิ และวฒั นธรรมทPีแตกตา่ งมากขนึ ` มีความกล้าแสดงออก ชอบโชว์
มีความมนPั ใจสงู ทางด้านศิลปวัฒนธรรมจึงเป็นเวทีเพื่อเปิดโอกาสให้กับนักศึกษา ผ่านโครงการ
ลานศิลปวัฒนธรรม ตามกลยุทธ์ที่ (4.3) : มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green and Clean University)
เมPือเราสามารถสร้ างศรัทธาให้เกิดขึน` กับนักศึกษาได้แล้ว บัณฑิตทีPจบออกไปก็จะรับรู้ และ
ตระหนัก ผูกพันกับองค์กร จึงเกิดการสร้ างความร่วมมือระหว่างมหาวิยาลัยกับศิษย์เก่า
ตามยุทธศาสตร์ทVี 2 สร้างความร่วมมือมงุ่ เปา้ (Cooperation Focus) กลยทุ ธ์ทีP (g.h) : ความ
ร่วมมือกับศิษย์เก่า ผ่านแผนงานจัดตัง` ชมรมศิษย์เก่า เพืPอให้ศิษย์เก่ามีบทบาทในการร่วม
พฒั นามหาวิทยาลยั , โครงการฝึกอบรมพฒั นาศกั ยภาพศิษย์เก่า, โครงการพPีสอนน้องก่อนออกสู่
โลกกว้าง, โครงการคืนสเู่ หย้าศิษย์เก่าสมั พนั ธ์การดําเนินงานทีPกลา่ วมามีวตั ถปุ ระสงค์ทPีสําคญั
ทีPสดุ คือ การสร้างภาพพจน์ทPีดีให้กับมหาวิทยาลยั ฯ โดยผ่านงานกิจกรรมต่างๆ เพืPอสร้างการ
รับรู้ให้เกิดขึน` ในสังคมจังหวัดชัยภูมิและใกล้เคียง มหาวิยาลัยราชภัฏฯ ต้องพร้ อมร่วมทุก
กิจกรรมทPีทางจงั หวดั หรือหน่วยงานภายนอกขอความร่วมมือ อีกทงั` ในปีแรกควรเร่งรัดจดั ทํา
โครงการดงั นี `
49
ผลงานด้านการวจิ ัย
๑. สร้างเครือข่ายทางการศึกษา จัดให้มีการฝึกอบรมและให้บริการทางวิชาการทั้งที่เป็น
ภาครัฐและภาคเอกชน เช่น ให้บริการวิชาการแก่สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมี
การตกลงทำ MOU ร่วมกนั
๒. ส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยเป็นสถานที่จัดกิจกรรมที่สำคัญของจังหวัด เช่น งานประชุม
วิชาการระดับชาติ งานอนุรักษ์มรดกไทย งานกีฬาประจำจังหวัด หรืองานแข่งขันทักษะทาง
วิชาการ
๓. พัฒนาศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรม และมีการจัด
กิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง เช่น ฮีตสิบสองครองสิบสี่ งานประเพณีสงกรานต์
การถอื ศีลปฏิบัติธรรม
๔. จัดทำโครงการ “เปิดมหาวิทยาลัยเพื่อน้อง” Open University เพืPอนํานกั เรียนทPี
กําลงั หาทPีเรียนต่อระดบั อดุ มศกึ ษา ได้มีโอกาสเข้าเยีPยมชมมหาวิทยาลยั ทีPสวยงามและมีความ
ทนั สมยั ของชาวชยั ภมู ิ
๕. ขยายเวลาปิดห้องสมุดให้นานขึ้น เพื่อบริการนักศึกษาและประชาชน เนื่องจาก
นักศึกษาจำนวนมากอยู่หอพัก ถ้าใช้เวลาว่างหลังเลิกเรียนมาอ่านหนังสือหรืออยู่ในห้องสมุดก็คง
เกดิ ประโยชนไ์ ม่น้อย
๖. จัดให้มีการอำนวยความสะดวกในการเดินทางจากตัวเมืองชัยภูมิมามหาวิทยาลัยราชภัฏ
ชัยภูมิโดยจัดให้มีรถตู้ให้บริการนักศึกษาและบุคลากร ลดความห่วงใยของผู้ปกครองระหว่างการ
เดินทาง
๗. จัดให้มีถนนคนเดินบริเวณหน้ามหาวิทยาลัย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษาและ
บคุ ลากร และเป็นการสรา้ งรายไดใ้ ห้แกช่ ุมชน
๘. จัดให้มีการดูแลรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินภายในมหาวิทยาลัยด้วยการ
ติดตั้งกล้อง CCTV ให้ทัPวถึงและสนับสนุนกิกรรมของนักศึกษาชมรมกู้ภัยสระหงส์ เพืPอช่วย
มหาวิทยาลยั ในการดแู ล
๙. จัดอบรมนักศึกษา ประชาชน ให้มีความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ระเบียบเกี่ยวกับ
จราจร โดยมหาวิทยาลัยร่วมกบั ขนส่งจงั หวดั จัดอบรมความรู้เกยี่ วกบั การจราจรพร้อมกับจัดให้มีการ
สอบใบขับขใ่ี นชว่ งเปดิ ปกี ารศึกษาใหมท่ ุกปี
50
51
ช่ือหนงั สอื : หนังสือที่ระลกึ งานแสดงมทุ ิตาจิตแดผ่ เู้ กษียณอายุราชการ 2565
พิมพ์คร้งั ที่ 1 : กันยายน 2565
เจ้าของ : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ
ท่ีปรึกษา อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ
รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริวัฒน์ โพธเิ วชกลุ ผ้ชู ่วยอธิการบดงี านบริหารทรัพยากรบุคคล
อาจารยธ์ มลวรรณ สวสั ด์สิ งิ ห์ และประกนั คณุ ภาพ
คณะผ้จู ัดทำ รกั ษาการในตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการกองกลาง
นางอรุณี ปราบพยัคฆ์ หวั หน้างานบริหารทรัพยากรบคุ คล
นายชินวร ศริ ิบตุ ร เจา้ หนา้ ท่ีบรหิ ารงานทวั่ ไป
นางสาวปรางค์พกิ ุล ผสมญาติ เจา้ หนา้ ที่บรหิ ารงานทั่วไป
นางสาวจรยิ าพร ดวงแกว้ บุคลากรปฏบิ ัติการ
นางสาวเพ็ญภักดิ์ กระตุฤกษ์ บุคลากรปฏิบัติการ
นางสาวศศินนั ท์ มิตรสันเทยี ะ บุคลากรปฏิบัติการ
นางสาวกฤษณา พฒั เพง็ เจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ ารงานท่ัวไป
นางสาวทิพวัลย์ ถ่นิ อุดม บุคลากร
นางสาวรัตนาภรณ์ อาจกมล บคุ ลากร
นายวรี ะวฒุ ิ จนั ทรม์ นตรี
CPRU
Chaiyaphum Rajabhat University
CPRU
มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ข อ ง ค น รุ่ น ใ ห ม่
Chaiyaphum Rajabhat University
ด้วยรกั และผูกพัน
ในวันเกษียณ ประจําปี 2565