The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวิตที่ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ
"แรงงานข้ามชาติ" ที่ต้องฝ่าฟันอุปสรรคจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ต้องจำยอมอยู่ในสังคมที่ไม่ได้รับการยอมรับ เพียงเพราะ... "เขาคือคนแปลกหน้าที่มีความต่างทางเชื้อชาติ"

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by It'me Bell, 2022-06-17 15:36:24

พื้นที่ความทรงจำของหยี่ มะ (Nyi Ma)

ชีวิตที่ไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ
"แรงงานข้ามชาติ" ที่ต้องฝ่าฟันอุปสรรคจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ต้องจำยอมอยู่ในสังคมที่ไม่ได้รับการยอมรับ เพียงเพราะ... "เขาคือคนแปลกหน้าที่มีความต่างทางเชื้อชาติ"

แรงงานขา้ มชาติ : ชีวติ ทีถูกเลือกปฏิบตั ิ



คำนำ
ผูเ้ ขียน

ชวี ิตท่ีไม่ไดโ้ รยดว้ ยกลบี กหุ ลาบ ใครกต็ ามที่เคยอา่ น
เรื่อง “แรงงานขา้ มชาติ” จะเห็นวา่ ชีวิตของ “พวกเขา” ตอ้ งฝ่ า
ฟันอปุ สรรคจากการถูกละเมดิ สิทธมิ นุษยชน ตอ้ งจายอมอยใู่ น
สงั คมท่ีไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั เพยี งเพราะ….

“เขาคือคนแปลกหนา้ ท่ีมคี วามต่างทางเช้ือชาติ”

เร่ืองเล่าเล่มน้ ี อาจไม่ใช่เรื่องเล่าท่ีดีที่สุดหรือสะทอ้ น
ปัญหาของแรงงานขา้ มชาติไดด้ ีที่สุด แต่เป็ นเพียงการบนั ทึก
เรื่องราวท่ีฉนั พบในระหวา่ งท่ีเป็ นอาสาสมคั ร และไม่ว่าจะเป็ น
เร่ืองรา้ ยหรือดี ทุกอย่างผ่านมาเพื่อให้ฉนั เรียนรูแ้ ละเติบโตไป
พรอ้ ม ๆ กบั “พวกเขา”

หย่ี มะ

สารบญั 1
4
คำนำผเู้ ขยี น 7
ยนิ ดที ีร่ จู้ กั 12
จำกเมยี นมำ ถงึ ไทย 14
เสียงของลกู เรือท่ี (ไม)่ ไดย้ นิ 23
ประกนั สงั คมในโรงงำน
วซี ่ำ
บทส่งทำ้ ย

Page |1

- ยินดีทรี่ ูจ้ กั –
ชีวิตการเป็ นอาสาสมคั รของ (ฉนั ) หย่ี มะ1 เร่ิมตน้ ใน
เชา้ วนั นึงของฤดูฝน แอบตื่นเตน้ เหมือนกนั เพราะนี่เป็ นคร้งั แรก
ที่ฉันไดท้ างานร่วมกับพี่ ๆ แรงงานขา้ มชาติ นาทีที่ฉันเลื่อน
ประตูกระจกเขา้ ไป ฉันพบกบั อะมะ2พอ อะโก3ซอและอะโกไท้
พี่เจา้ หน้าที่ประสานงานดา้ นภาษา (ไทย – เมียนมา) เราต่าง
ทักทายกันตามประสาคนรูจ้ กั กนั คร้งั แรก กระทัง่ คนอ่ืน ๆ ใน
สานักงานมาครบ ฉนั จึงรวู้ า่ ...ภายในสานักงานน้ ีมเี พียงฉันและ
ผูจ้ ดั การเท่าน้ันท่ีเป็ นคนไทย นอกน้ันเป็ นพ่ี ๆ ลุง ๆ เมียนมา
ท้งั หมด
สานักงานฉันช่ือว่า “มูลนิธิเพื่อสิทธิแรงงาน” ทางาน
ช่วยเหลือแรงงานที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน และส่งเสริม
คุณภาพชีวิตของแรงงานทุกคนใหด้ ีข้ นึ โดยไม่เลือกปฏบิ ตั ิ
เท่ียงวันน้ ี อะโกโชว์ฝีมือทาอาหารพม่า คือ แกงหมู
ลกั ษณะคลา้ ยการผัดหมูใส่น้ามนั เยอะ ๆ จนกลายเป็ นน้าแกง

1 หยี่ มะในภาษาพมา่ แปลวา่ น้องสาว
2 อะมะในภาษาพม่า แปลวา่ พ่ีสาว
3 อะโกในภาษาพม่า แปลว่า พช่ี าย

Page |2

ใส่ผกั ต่าง ๆ เหมือนกบั แกงของไทยแตม่ ีความมนั มากกวา่ อูเล4
เลา่ วา่

“เมื่อก่อนคนเมียนมามีความเชื่อว่า บ้านไหนท่ี
ทาอาหารแลว้ ใส่น้ามนั เยอะ ๆ ถือวา่ เป็ นบา้ นที่มีฐานะ เพราะ
น้ามนั แพงและหาซ้ ือยาก”

และยังมี ยำใบชำ หรือ ละแพะโตะ ที่นาใบชาหมัก
มาคลุกกับถัว่ ทอด ท้ังถัว่ ลิสงและถัว่ อื่น ๆ กะหลา่ ปลี กุง้ แหง้
พริก มะเขือเทศ ปรุงรสด้วยผงชูรส น้าปลา และน้ามันถัว่
รสชาติขมนิด ๆ จากใบชา และมีความมนั จากน้ามนั ถวั่ กนิ ไปก็
เพลินดีเหมอื นกนั นะ ><

วนั แรกของฉันผ่านไปอย่างรวดเร็ว อาจเป็ นเพราะฉัน
ไม่ไดร้ ูส้ ึกอึดอัดหรือกดดันในการอยู่ร่วมกันพ่ี ๆ ในสานักงาน
เพราะ… “เราตา่ งเป็ นคนแปลกหนา้ ท่ียินดีไดร้ จู้ กั ”

4 อูเลในภาษาพม่า แปลวา่ ลงุ

Page |3

“ คุณ...

พร้อมทจ่ี ะเรยี นรู้วัฒนธรรมของ “เขา”

แล้วหรือยัง? ”

Page |4

- จำกเมียนมำ ถึง ไทย -

เชา้ วนั อาทิตย์ วนั หยุดของอะโก อะมะ และอีกหลาย ๆ
คน แต่เป็ นวันทางานปกติของฉัน สานักงานฉันจะคึกคักเป็ น
พิเศษ เพราะอะโก อะมะ จากโรงงานต่าง ๆ จะเขา้ มานั่งเล่น
ทาอาหาร ถามสารทุกข์สุกดิบ ท้ังปัญหาส่วนตัวและปัญหา
ภายในโรงงาน

ฉันมีโอกาสคุยกบั อะมะยี หญิงสาวสญั ชาติเมียนมาท่ี
เขา้ มาทางานในประเทศไทย อะมะเล่าว่า ครอบครวั ของอะมะ
เป็ นครอบครัวที่มีฐานะยากจน อะมะจึงเลือกมาทางานท่ี
ประเทศไทย เพ่ือหาเงินสง่ เสยี เล้ ียงดูคนในครอบครวั

“ท่ีอะมะเลือกมาประเทศไทย เพราะเป็ นประเทศที่อยู่
ใกลบ้ า้ น เดินทางไป – กลับสะดวก อาหาร และวัฒนธรรม
ใกลเ้ คียงกนั ”

“อะมะเลือกเขา้ มาทางานผ่านนายหน้า เสียค่าใชจ้ ่าย
สูง ตีเป็ นเงินไทยประมาณ 18,000 – 20,000 บาท แบ่งจ่าย
เป็ นค่าทาพาสปอร์ต ค่าสัญญา ค่าเดินทาง ค่าวีซ่า ค่าตรวจ
สุขภาพ และคา่ อ่นื ๆ”

Page |5

ตอนน้ันอะมะไม่รหู้ รอกวา่ การเขา้ มาทางานในประเทศ
ไทย ค่าใชจ้ ่ายตามท่ีรฐั บาลกาหนดราคาเท่าไหร่ แต่ก็ยอมจ่าย
ใหน้ ายหนา้ เพ่อื ความสะดวกในการเขา้ มาทางาน

เม่ือมาถึงประเทศไทยอะมะไม่มีเพื่อน ไม่มีญาติ และ
เข้าทางานที่โรงงานแปรรูปอาหารทะเลแห่งหนึ่ ง ตามท่ี
นายหน้าจดั หาให้ อะมะมีความกงั วลในเร่ืองของภาษา เพราะ
ไม่สามารถส่ือสารภาษาไทยไดเ้ ลย แต่โชคดีท่ีอะมะเจอเพ่ือน
ที่มาจากประเทศเมียนมาเหมือนกัน จึงมีเพ่ือนค่อยให้
คาปรึกษา อะมะยงั เล่าต่อวา่

“โรงงานของอะมะมีการแบ่งกลุ่มการทางานของ
แรงงานขา้ มชาติกบั แรงงานไทยอยา่ งชดั เจน”

ไม่ค่อยไดเ้ จอเพ่ือนคนไทยเท่าไหร่ การแบ่งกลุ่มการ
ทางานเป็ นสาเหตุหนึ่งที่ทาใหค้ นไทยยังมีทัศนคติท่ีไม่ดีต่อ
แรงงานขา้ มชาติ เพราะไม่มีโอกาสไดเ้ รียนรูว้ ัฒนธรรมซ่ึงกัน
และกัน บางคร้ังที่อะมะยืนกอดอกคุยกับเพื่อน คนไทย และ
หวั หน้างานมกั จะชกั สีหน้า และมองวา่ ไม่มีมารยาท แต่สาหรบั
คนเมียนมาแลว้ การยืนกอดอกต่อหน้าคนพูด เป็ นวฒั นธรรม
นึง ที่แสดงถึงการต้งั ใจฟัง

ส่วนปัญหาอ่ืนที่อะมะมองว่าเป็ นการเลือกปฏิบัติใน
โรงงาน คือ การกาหนดจานวนในการเขา้ หอ้ งน้า วนั ละไม่เกิน

Page |6

3 คร้งั ครง้ั ละไม่เกิน 5 นาที ซงึ่ ตอ้ งเปลี่ยนชุดและเดินไปอีกฝั่ง
ของแผนก การกาหนดเวลา อะมะมองว่าเป็ นเรื่องที่ไม่สมควร
เพราะเป็ นการไม่คานึงถึงเรื่องสุขอนามยั ของผูห้ ญิงโดยเฉพาะ
ในช่วงมีประจาเดือน และหญิงต้ังครรภ์ที่ตอ้ งระมัดระวังเป็ น
พิ เ ศ ษ ซึ่ งก า ร ก า ห น ด เ ว ลา อ า จ ท า ใ ห้เ กิ ด อันต ร า ย กับ ห ญิ ง
ต้ังครรภ์ได้ ปั ญหาที่อะมะเล่าให้ฟังน้ ี เคยร้องเรียนไปที่
คณะกรรมการสวัสดิการในโรงงาน ก็ถูกนามาพิจารณาและ
แกไ้ ขใหด้ ีข้ ึน “ฟังดูมนั เหมือนง่ายท่ีทางบริษัทรับพิจารณาและ
แกไ้ ข แต่ในความเป็ นจริง เราตอ้ งทนอยู่กบั การถูกเลือกปฏิบตั ิ
มาไม่รกู้ ่ีปี และย่นื หนังสอื ไปไม่รกู้ ี่ฉบบั …”

ฉันจึงถามอะมะว่า “ถา้ ยอ้ นกลับไปไดแ้ ละรูว้ ่าการมา
ทางานในประเทศไทยจะถูกเลือกปฏิบัติ ยังเลือกที่จะมา
ประเทศไทยไหม”

ตอ่ ใหร้ ลู้ ่วงหนา้ ว่าเราตอ้ งเจอกบั อะไร อะมะก็เลือกที่จะมา
เหมือนเดมิ เพราะชีวิตของอะมะไม่ไดม้ ีทางเลือกมากขนาด

นนั้ อยู่ที่น่ีถกู กดข่ีแต่อะมะไม่อดตาย

- อะมะยี –

Page |7

- เสยี งของลกู เรือที่ (ไม)่ ไดย้ ิน –

บ่ายวนั น้ ี มพี ี่นอ้ งแรงงานขา้ มชาติหลายคน มารบั ถุงยงั
ชีพท่ีสานักงานฉนั ตามโครงการของทางจงั หวดั หน่ึงในน้ันก็มี
พี่ ๆ ที่เป็ นลูกจา้ งเรือประมง เมื่ออะโกขอดูเอกสารประจาตัว
“เขา” ตอบกลับทันทีว่า “เอกสารประจาตัวท้ังหมดอยู่กับเจ๊”
พรอ้ มท้งั เลา่ วา่

“ตอนน้ ี “พวกเรา” ไม่มีงานทาเพราะเจ๊ เลิกจำ้ ง เรือ
ออกหาปลาไม่ได้ ขาดทุน ตอ้ งปิ ดกจิ การ และเอกสารประจาตวั
ท้ังหมด คือ เอกสารรับรองบุคคลที่ออกโดยสาธารณรัฐแห่ง
สหภาพเมียนมา บตั รประจาตัวคนไม่มีสญั ชาติไทย ใบอนุญาต
ทางาน กอ็ ยกู่ บั เจ๊ ตอ้ งหาเงินคนละ 12,000 บาท ไปจ่ายเจ๊ถึง
จะคืนเอกสารให้ เจบ๊ อกวา่ เป็ นค่าต่อเอกสารประจาตัวที่เจอ๊ อก
ใหก้ อ่ น”

เราจึงติดต่อไปท่ีนายจา้ งและนัดเจรจาเร่ืองเอกสาร
ประจาตัว ซึ่งนายจา้ งประสานไปยังเจา้ หน้าท่ีภาครัฐใหเ้ ขา้
มาร่วมเจรจาในคร้ังน้ ีดว้ ย น่ีเป็ นเคสแรกท่ีฉันไดไ้ ปเจรจากบั
นายจา้ งพรอ้ มกบั พ่ี ๆ ในสานักงาน

Page |8

เคสน้ ี เราเจรจากระทั่งนายจ้างยอมคืนเอกสาร
ประจาตัว และลูกจา้ งไม่ตอ้ งจ่ายเงินจานวน 12,000 บาท
ใหก้ บั นายจา้ ง

สง่ิ ที่ฉนั จาไม่ลืมเลยในเคสน้ ี คอื ฉนั ถูกถามดว้ ยคาถาม
ท่ีวา่ “น้องคิดวา่ เคสน้ ีใครไดเ้ ปรียบ...สาหรบั พี่พ่ีมองว่าลูกจา้ ง
ไดเ้ ปรียบ เพราะไม่ตอ้ งเสียอะไรเลย” ฉันไดแ้ ต่ย้ ิมแลว้ ตอบ
กลบั วา่ ...

“สาหรบั ฉนั ไม่มีใครไดเ้ ปรียบเสียเปรยี บ ทกุ อย่างเป็ นไป
ตามหลักท่ีควรจะเป็ น และไม่ควรมีคาถามน้ีดว้ ยซา้ ”

Page |9

“ คุณมคี าตอบในใจ...

สาหรับคาถามน้ีหรือยัง?



P a g e | 10

วนั น้ ีฉันลงชุมชนที่ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเรือประมง
พุดคุยถามสารทุกขส์ ุกดิบ อะโก เล่าว่า ช่วงสถานการณ์โควิด
การทางานถูกปรับเปลี่ยนจากเดิมที่แบ่งเวลาออกเรือเป็ น 2
ช่วง คือแบบออกเชา้ - กลบั เย็น และ ออกเย็น - กลบั เชา้ แต่
ปัจจุบนั ออกเรือจากท่าแลว้ นายจา้ งไม่ใหล้ ูกจา้ งกลบั ข้ ึนฝั่งเดิม
จะต้องไปข้ ึนฝั่งท่ีจังหวัดอ่ืนที่ไม่มีประกาศเรื่องมาตรการ
ควบคุมการเขา้ - ออกเรือประมง เพ่ือลดภาระของนายจา้ งใน
การจดั หาวคั ซีนและการตรวจหาเช้ ือโควิดก่อนลงเรือตามคาสงั่
จงั หวดั ฯ

ระหว่างท่ีออกเรือ อะโกและเพ่ือนตอ้ งใชช้ ีวิตกิน นอน
บนเรือ จนกว่าจะไดข้ ้ ึนไปถ่ายเทปลาที่ท่าจงั หวดั ใกลเ้ คียง ใช้
เวลาประมาณ 2 ชัว่ โมง ก็กลับลงเรือและใช้ชีวิตบนเรือ
เหมือนเดิม อะโกและเพื่อนใชช้ ีวิตแบบน้ ีอยู่ประมาณ 5 – 6
เดือน อะโกอาว พูดติดตลกว่า “บางคนมีลูกเล็ก กลับมาอีกที
ลูกจาหน้าพ่อไม่ไดแ้ ลว้ ” ทุกคนต่างหวั เราะชอบใจ แต่ภายใต้
เสียงหวั เราะน้ัน ใครจะรูว้ า่ เขาตอ้ งใชค้ วามอดทนมากแค่ไหนท่ี
ไมไ่ ดเ้ จอหนา้ ครอบครวั

ส่วนค่าจา้ งนายจา้ งจ่ายล่วงหน้าก่อนออกเรือ 1 เดือน
และรอบถัดไปใหภ้ รรยาติดต่อเบิกกับนายจา้ ง ซ่ึงนายจา้ งจะ
จ่ายทุก ๆ 30 วนั ของการทางานของอะโก บางเดือนออกเรือแค่
10 วนั ในเดือนน้ันอะโกก็จะไม่ไดเ้ งินเดือนตอ้ งรอไปเรื่อย ๆ

P a g e | 11

จนกว่าจะทางานครบ 30 วัน ถึงไดร้ ับเงินเดือน 1 คร้ัง เป็ น
เหตุท่ีทาใหไ้ ม่มีเงินเพียงพอต่อค่าใชจ้ ่าย ตอ้ งขอยืมเงินจาก
นายจา้ ง เม่ือเงินเดือนออกก็ถูกหกั ค่าหน้ ี เป็ นวงจรที่อะโกไม่
เคยหลุดพน้ ได้เลย ที่น่าเศร้าคืออะโกเล่าว่า “ต้องยืมเงิน
เจา้ ของบา้ นเช่า เพื่อจ่ายค่าเช่าบา้ น และเสียดอกเบ้ ียใหก้ ับ
เจา้ ของบา้ นเช่ารอ้ ยละ 15 – 20” อะโกพูดต่อว่า “โกก็เห็นนะ
ว่าใกล้ ๆ บา้ นมีงานรับจา้ งทัว่ ไป แต่โกก็ไปทาไม่ได้ เพราะถา้
ถูกตรวจใบอนุญาตทางาน โกจะกลายเป็ นคนท่ีทางานผิด
ประเภทและถูกจบั ” และยงั สงิ่ ทา้ ยวา่

“บางครงั้ ที่ออกเรอื ไม่ได้ ส่ิงที่โกอยากจะขอ คือ
อนุญาตใหโ้ กไดท้ างานอ่ืนอย่างรบั จา้ งท่วั ไปใกล้ ๆ บา้ น

เพื่อใหม้ ีเงนิ เพียงพอต่อค่าใชจ้ า่ ย…แคน่ นั้ เอง…”

P a g e | 12

- ประกนั สงั คมในโรงงำน -

หลังจากท่ีฉันประชุมเสร็จ ฉันไดร้ ับเคสอุบัติเหตุจาก
การทางาน เป็ นหญิงวัยกลางคน ทางานอยู่ในโรงงานผลิต
ประตู หน้าต่าง เขา้ ทางานต้ังแต่ปี 2018 ลกั ษณะการทางาน
คือ นาเหล็กแผ่นใส่เคร่ืองจกั ร โดย 1 เครื่องจะมีลูกจา้ งประจา
เครอื่ ง 1 คน ลกั ษณะของเหล็กจะเป็ นแผ่นแบนยาว น้าหนักไม่
เท่ากนั ขนาดประมาณ 2.40 เมตร การนาแผ่นเหล็กใส่เคร่ือง
ลูกจา้ งจะตอ้ งสวมถุงมือแลว้ นาแผ่นเหล็กใส่เคร่ืองดว้ ยมือเปลา่
เครื่องจักรจะมีใบมีดขนาดยาว ซึ่งคาดการณ์ได้ว่าจะเกิด
อนั ตรายในระหว่างการทางานได้ โรงงานไม่มีการอบรมเรื่อง
ความปลอดภัยระหว่างการทางาน มีเพียงลูกจา้ งคนก่อนท่ี
ตอ้ งการลาออกสาธิตวิธีการใชเ้ ครื่องจกั รใหก้ บั ลูกจา้ งที่เขา้ มา
ใหมเ่ ทา่ น้ัน

การเกิดอุบตั ิเหตุในระหว่างทางานคร้งั น้ ี เกิดข้ ึนขณะที่
คุณป้านาแผ่นเหล็กเขา้ เครื่องจกั ร ระหวา่ งน้ันแผ่นเหล็กงอ จึง
เอ้ ือมมือไปดึงแผ่นเหล็กออกเพื่อใส่เขา้ ไปใหม่ แต่ใบมีดตัดลง
มากอ่ นจงึ ทาใหใ้ บมดี ตดั เขา้ ที่น้ ิวฝั่งซา้ ย คือ น้ ิวช้ ี กลาง นาง

คุณป้านอนรกั ษาตัวท่ีโรงพยาบาลท้งั หมด 8 วนั ฉันจึง
ถามวา่ “ใครเป็ นคนจ่ายค่ารกั ษาพยาบาล และมีประกนั สงั คม
ไหม” คุณป้าตอบ “นายจา้ งเป็ นผูจ้ ่ายค่ารกั ษาพยาบาล แต่ไม่
มีประกนั สงั คม”

P a g e | 13

หลงั จากท่ีออกจากโรงพยาบาล นายจา้ งเรียกคุณป้าไปพบเพื่อ
เจรจาเรื่องค่าสญู เสียอวยั วะ โดยเสนอเป็ นเงินจานวน 30,000
บาท พรอ้ มท้งั ใหเ้ ซน็ ใบยนิ ยอม แต่คุณป้าไมไ่ ดร้ บั เงินและไม่ได้
เซ็นใบยนิ ยอมตามนายจา้ งสงั่ และมาขอคาปรึกษาท่ีสานักงาน

วนั จนั ทรฉ์ นั จงึ นัดคุณป้าไปที่ประกนั สงั คมในพ้ ืนที่ เพื่อ
หารือแนวทางแกป้ ัญหากับกรณีที่เกิดข้ ึน เมื่อไปถึง ฉันเล่า
ขอ้ เท็จจริงท่ีเกิดข้ ึนใหเ้ จา้ หน้าที่ฟัง และใหช้ ่วยเช็คการข้ ึน
ทะเบียนประกันสังคมของลูกจ้างในโรงงาน ปรากฏว่า...
นายจา้ งมีการแจง้ ข้ึนทะเบียนประกันสังคมของลูกจา้ งไทย
ทัง้ หมด แต่แรงงานสัญชาติอ่ืนไม่มีการแจง้ ข้ึนทะเบียนเลย
... ในวันน้ันเจา้ หน้าที่ ลงพ้ ืนท่ีโรงงานเพ่ือตรวจสอบจานวน
ลูกจา้ ง และแจง้ ใหน้ ายจา้ งดาเนินการข้ ึนทะเบียนประกนั สงั คม
ใหล้ ูกจา้ งท้งั หมด ไม่วา่ จะคนไทยและคนต่างชาติ เพอื่ ใหล้ กู จา้ ง
ไดร้ บั สิทธิตามที่ควรไดร้ บั

“สิทธิขนั้ พ้ืนฐานที่เขาตอ้ งไดร้ บั
สิทธทิ ่ีมีกฎหมายกาหนดไวช้ ัดเจน
ทกุ วนั น้ี…ยงั ถกู พรากไปจาก “เขา” อยู่เลย”

P a g e | 14

- วีซ่ำ… -

ฉันได้พบกับชายวัยกลางคน ผู้ที่ไม่เคยเจอมาก่อน
อะมะพอ จึงแนะนาคุณลุงใหฉ้ ันรูจ้ กั คุณลุงคือคนที่ดาเนินการ
เร่ืองเอกสารต่าง ๆ ของสานักงาน ท้ังเรื่องการต่อวีซ่า การต่อ
ใบอนุญาตทางาน และวันน้ ีคุณลุงเดินทางมาจากกรุงเทพฯ
เพ่ือมาทาเร่ืองตอ่ วีซา่ ใหก้ บั อะมะพอ

เมื่อคุณลุงเตรียมเอกสารเรียบรอ้ ยแลว้ จึงถามฉันว่า
“อยากไปศึกษาวิธีการต่อวีซา่ ไหม” ฉนั ตอบทนั ทีโดยไม่ตอ้ งคิด
ว่า “ไปค่ะ...ต่อใหค้ ุณลุงไม่ชวนหนูก็จะขอไปดว้ ย” ระหว่าง
เดินทางคุณลุงกเ็ ลา่ ใหฟ้ ังว่า การต่อวีซ่าของอะมะจะตา่ งจากคน
อื่นที่เขา้ มาแบบ MoU เพราะอะมะเขา้ มาเป็ นอาสาสมคั ร วีซ่า
ท่ีอะมะถือ เรียกว่า Non-Immigrant Visa "O" ท่ีออกให้ผู้ถือ
หนังสือเดินทางที่ประสงค์จะเดินทางเข้าประเทศไทยเพ่ือ
ทางานในมูลนิธิ องคก์ รสาธารณกุศล ที่ไม่มีลกั ษณะจา้ งงาน มี
อายุ 3 เดือน กาหนดระยะเวลาท่ีไดร้ บั อนุญาตใหอ้ ยใู่ นประเทศ
ไทย ไม่เกิน 90 วนั ต่อคร้งั ในกรณีท่ีมีการขอวีซ่าสาหรับการ
ทางานในมูลนิธิ องค์กรสาธารณกุศลเป็ นคร้ังที่ 2 ตอ้ งแสดง
ใบอนุ ญาตทางาน (Work Permit) และหนังสือรับรองการ
ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีอาสาสมคั รจากหน่วยงานของรฐั ระดบั กรมดว้ ย

P a g e | 15

ผ่านไป 3 เดือน วนั น้ ีเป็ นคร้งั แรกท่ีฉันพาอะมะไปต่อวซี ่า
โดยไม่มีคุณลุง ฉันเตรียมเอกสารทุกอย่างตามที่คุณลุงลิสต์ให้
เมือ่ ยน่ื เอกสารเรยี บรอ้ ย พพ่ี นักงานแจง้ กบั ฉนั วา่

“คร้งั น้ ีจะเป็ นคร้งั สุดทา้ ยท่ีต่อวีซ่าไดแ้ ลว้ นะคะ เพราะต่อ
วซี ่าครบ 4 คร้งั /ปี แลว้ จะตอ้ งกลบั ไปทาเรื่องขอวซี ่าท่ีประเทศ
ตน้ ทางแลว้ กลับเขา้ มาใหม่” ฉันตกใจมาก และพึ่งรูว้ ่าวีซ่าที่
อะมะถืออยู่ตอนน้ ีเป็ นวีซ่าสาหรบั อยู่ในประเทศไทยช่วงโควิด
เท่าน้ัน ฉนั จึงถามพ่ีพนักงานต่อว่า ฉันตอ้ งดาเนินการอย่างไร
บา้ ง พ่พี นักงานตอบฉนั วา่ “มีทางเลือก 2 ทาง คือ” 1. เดินทาง
ออกนอกประเทศไม่ว่าจะกลบั ประเทศตน้ ทางของตน หรือไป
ประเทศท่ีสามและขอวีซ่ากลับเขา้ มาในประเทศไทย กับ 2.
ไดร้ บั การรบั รองและรอ้ งขอจากหวั หน้าส่วนราชการระดับกรม
หรือเทียบเท่าข้ ึนไป หรือหัวหน้ารัฐวิสาหกิจ หรือหัวหน้า
หน่วยงานอื่นของรัฐซ่ึงเกี่ยวขอ้ งกับองคก์ รน้ัน และจะสามารถ
ต่อวีซ่าได้ 1 ปี

หลังจากท่ีฉันคุยกับพี่พนักงานเสร็จ ฉันรีบกลับมา
สานักงานและเล่าเรื่องท้ังหมดใหท้ ุกคนฟัง ปัญหาที่เรากังวล
ตอนน้ ี คือ แมว้ ่าประเทศไทยจะเปิ ดประเทศสามารถเดินทาง
ออกนอกประเทศได้ แต่สถานการณ์การเมืองประเทศเมียนมา
ยงั มีความรุนแรง อีกท้ังสถานการณ์โควิดทางฝั่งเมียนมาเองก็

P a g e | 16

ยงั รุนแรงไม่ต่างกนั กงั วลวา่ หากใหอ้ ะมะเดินทางกลบั ประเทศ
ไปตอนน้ ี อาจไม่มีความปลอดภยั ในชีวิต

ระหวา่ งที่รอผลวซี ่า ฉนั ติดตอ่ ไปท่ีหน่วยงานที่เกยี่ งขอ้ ง
เช่น พม. เพ่ือขอคาปรึกษาเร่ืองการออกหนังสือรบั รองการเป็ น
อาสาสมคั รของอะมะ ปรากฏว่า การท่ีทาง พม. จะออกหนังสือ
รับรองได้ จะต้องย่ืนคาร้องก่อนท่ีวีซ่าจะหมดอายุ 60 วัน
ดังน้ันการที่ฉันจะยื่นเรื่องเพื่อใหท้ าง พม. ออกหนังสือรับรอง
คงเป็ นตวั เลือกที่ฉนั ตดั ท้ ิงไดเ้ ลย ฉนั จงึ ประสานไปที่จงั หวดั เพ่ือ
ขอหนังสือรับรองจากทางจังหวัด ซึ่งตอ้ งทาหนังสือไปท่ีศูนย์
ดารงธรรมเพือ่ ใหท้ างศูนยฯ์ ยืน่ เรอื่ งไปท่ีจงั หวดั

วันที่ 30 ธันวาคม 2564 อะมะเดินทางไปฟังผลการ
ต่อวีซ่า ผลอนุ ญาตให้อะมะอยู่ในประเทศได้ถึงวันที่ 16
กุมภาพันธ์ 2565 เท่ากับว่าเรามีเวลาในการดาเนินการขอ
หนังสือรับรองฯ ประมาณ 1 เดือน 15 วัน เป็ นระยะเวลาที่
นอ้ ยมากสาหรบั ฉนั

หลงั จากหยดุ ยาวเทศกาลปี ใหม่ ฉนั ทาหนังสือไปท่ีศูนย์
ดารงธรรมเพื่อขอหนังสือรับรองการเป็ นอาสามสมัครตาม
คาแนะนาของทางจงั หวดั และรอหนังสอื อยปู่ ระมาณ 1 สปั ดาห์
กไ็ ม่ไดร้ บั หนังสือตอบกลบั ฉนั จงึ กลบั ไปที่ศูนยฯ์ อกี ครง้ั

P a g e | 17

พ่ีเจา้ หน้าท่ีแจง้ กบั ฉนั ว่า หนังสือส่งไปที่อาเภอแลว้ ให้
รอจนกว่าทางอาเภอจะส่งหนังสือกลบั มา หรือถา้ ใหเ้ ร็วฉันตอ้ ง
ไปติดต่อท่ีอาเภอเอง ฉันจึงไปติดต่อท่ีอาเภอ เพราะกลัวจะ
ล่าชา้ ทางอาเภอแจง้ ฉันว่า เคยออกหนังสือรับรองการเป็ น
อาสาฯ ใหก้ บั อะมะแลว้ ฉะน้ันไม่ตอ้ งขอใหม่ ใหไ้ ปถอนคารอ้ ง
ที่ศูนยฯ์ และขอคดั สาเนาที่อาเภอไดเ้ ลย ฉนั จงึ เดินกลบั ไปถอน
คารอ้ งท่ีศูนย์ และมาคัดสาเนาที่อาเภอ เม่ือไดส้ าเนาหนังสือ
รบั รองการเป็ นอาสาสมคั รแลว้ ฉันจึงกลบั สานักงาน รูส้ ึกโล่ง
มากเพราะอะมะคงไม่ตอ้ งเดินทางกลับไปขอต่อวีซ่าที่ประเทศ
ตน้ ทางแลว้

วนั ต่อมา ฉันเตรียมเอกสารและหนังสือรับรองฯ เพื่อ
พาอะมะไปตอ่ วีซา่ ใหม่อกี คร้งั และหวงั วา่ ครง้ั น้ ี อะมะคงต่อวีซ่า
ได้ 1 ปี ตามระเบียบฯ แต่ฉันคิดผิดเพราะหนังสือรับรองฯ ที่
ฉันไดม้ าน้ันใชไ้ ม่ได้ ไม่ตรงตามแบบฟอร์มของตม. ฉันตอ้ ง
กลับไปขอหนังสือรบั รองฯ ใหม่ ฉันจึงขอตัวอย่างจากตม. เพ่ือ
ไปย่นื ทางอาเภอ

ฉันกลับไปท่ีอาเภอแลว้ แจง้ กับพ่ีเจา้ หน้าที่ว่าสาเนา
หนังสือท่ีคัดไปน้ันใชย้ ื่นต่อวีซ่าไม่ได้ พร้อมท้ังยื่นหนังสือ
ตัวอย่างท่ีทางตม. ใหม้ า พ่ีเจา้ หน้าท่ีจึงใหฉ้ ันไปติดต่อที่สานัก
ปลดั จงั หวดั ฯ ฉนั อธิบายและขอคาแนะนา พี่ ๆ ในสานักฯ เขา
แจง้ ฉันว่า “ทางจงั หวดั ไม่สามารถออกหนังสือแบบตัวอย่างได้

P a g e | 18

ถา้ อยากไดห้ นังสอื ตามฟอรม์ น้ ี จะตอ้ งใหท้ างตม. ทาหนังสอื มา
ท่ีจงั หวดั ทางจงั หวดั จึงจะตอบกลบั ตามแบบฟอรม์ ได”้

ฉนั จงึ กลบั ไปท่ีตม. อีกคร้งั และแจง้ กบั พ่ีเจา้ หน้าท่ี ที่ฉนั
เคยขอคาปรึกษา และอธิบายใหฟ้ ังตามท่ีทางจงั หวดั ฯ แจง้ แต่
คาตอบที่ฉันไดร้ ับ ก็ทาใหฉ้ ันเหนื่อยใจอยูไ่ ม่น้อย “เป็ นหน้าที่
ของทางมูลนิธิฯ ที่ตอ้ งทาหนังสือไปท่ีจงั หวัด และเอาหนังสือ
รับรองฯ มาย่ืน ถ้าไม่ไดก้ ็ตอ้ งกลับประเทศ” ฉันเดินคอตก
ออกมา และอยา่ งจะรอ้ งไหม้ าก ๆ เพราะฉนั ไม่รูแ้ ลว้ ว่าฉนั ตอ้ ง
ทายงั ไงตอ่

ผ่านไป 2 สปั ดาหแ์ ลว้ ยงั ไม่ไดห้ นังสือรับรองฯ จากท่ี
ใด และสัปดาห์น้ ีฉันตอ้ งพกั เร่ืองของอะมะไดก้ ่อน เพราะฉัน
ต้องทาเรื่องต่อวีซ่าและต่อใบอนุญาตทางาน MoU ของอูเล
หมอ่ ง ซ่งึ ตอ้ งใชร้ ะยะเวลาพอสมควรกวา่ จะแลว้ เสรจ็

หลงั จากเสร็จเรื่องวุ่น ๆ ของอูเลหม่อง ฉันกลบั มาทา
เรื่องวีซ่าของอะมะอีกคร้งั ฉนั กลบั ไปท่ีจงั หวดั อีกรอบ ไดพ้ บกบั
พี่ผู้ชาย พี่เขาแจง้ ว่าใหฉ้ ันทาหนังสือไปท่ีอาเภอและใหท้ าง
อาเภอส่งเรื่องมาที่จงั หวดั แลว้ จะออกหนังสือตามตัวอย่างให้
ฉนั จงึ ตอบกลบั ไปวา่ “เราเคยทาหนังสอื ไปที่อาเภอแลว้ ฉบบั นึง
แต่ไดค้ ัดสาเนาหนังสือรบั รองแทน” เขาจึงตอบว่า “ไม่เป็ นไร
ใหท้ าหนังสือมาใหม่ แลว้ แจง้ วา่ ไดป้ รึกษากบั ทางจงั หวดั แลว้ ”

P a g e | 19

ฉันกลบั ไปทาหนังสือและกลบั มาย่ืนท่ีอาเภออีกคร้ัง และบอก
รายละเอยี ดตามท่ีไดค้ ุยกบั พีท่ ี่จงั หวดั

เวลาลว่ งเลยจนเหลืออยู่ 3 สปั ดาห์ ฉนั เปิ ดดพู าสปอรต์
ของอะมะ ช็อกยิ่งกว่าช็อก เม่ือเห็นว่าเล่มพาสปอรต์ ของอะมะ
จะหมดอายุในอีกไม่เดือน ซึ่งต่อใหไ้ ดห้ นังสือรบั รองฯ มา ตม.
ก็ต่อวีซ่าใหไ้ ดเ้ ท่าที่เล่มพาสปอร์ตหมดอายุเท่าน้ัน ตอ้ งรีบไป
ทาเล่มพาสปอร์ตใหม่ท่ีสถานทูตพม่าประจาประเทศไทย ใช้
เวลาในการทาเลม่ อีก 1 สปั ดาห์

วันท่ีไปรับพาสปอร์ตเล่มใหม่ ฉันพาอะ มะไปที่
สนามบินเพื่อถามเท่ียวบินไปประเทศเมียนมา เป็ นแผนสารอง
หากไม่ไดห้ นังสือรับรองฯ จริง ๆ ก็คงตอ้ งกลับไปทาเรื่องที่
ประเทศตน้ ทาง เดินถามทุกสายการบนิ ก็ไม่มสี ายการบินไหนมี
ไฟลท์ บนิ ไปประเทศเมยี นมาเลย

วนั ตอ่ มา ฉนั พาอะมะไปยา้ ยเลม่ พาสปอรต์ พีเ่ จา้ หนา้ ท่ี
ที่รับเรื่องต่อวีซ่าถามฉันว่าเรื่องขอหนังสือรับรองฯ เป็ นไงบา้ ง
ฉนั เลา่ ใหฟ้ ังทุกข้นั ตอน และยงั เล่าเรอื่ งท่ีไปเดินถามไฟลท์ บินท่ี
จะกลับประเทศดว้ ย ฉันจึงถามไปว่า “ถ้าสุดทา้ ยแล้วไม่ได้
หนังสือรับรองฯ ไม่มีไฟล์ทบินกลับประเทศ เราจะทายังไงได้
บา้ ง” ฉนั ไดค้ าตอบว่า “ใหไ้ ปขอหนังสือรบั รองจากสถานทตู วา่
ไม่สามารถเดินทางกลบั ประเทศตน้ ทางได้ เน่ืองจากไม่มีไฟลท์

P a g e | 20

บิน แต่ก็ตอ้ งเสียค่าปรับตามระเบียบ” คอตกไม่ต่างจากคร้ัง
ก่อน มันเป็ นช่วงที่ฉันรูส้ ึกวา้ วุ่นไปหมด ชีวิตมันดูเศรา้ และ
หาทางออกไม่ได้ กงั วลไปหมดทุกอยา่ ง คดิ ไปวา่ ถา้ อะมะจะตอ้ ง
กลับประเทศจริง ๆ เขาจะปลอดภัยไหม เขาจะทาเร่ืองขอวีซ่า
ไดห้ รือเปล่า อีกใจก็เหมือนเรารูว้ า่ ขา้ งหน้ามนั เป็ นหลุมระเบิด
แตเ่ รากย็ งั ปลอ่ ยใหเ้ ขาเดินไป มนั อาจจะฟังดเู วอรม์ าก ๆ แตไ่ ม่
รสู้ ิ ณ ขณะน้ันฉนั รสู้ ึกแบบน้ันจรงิ ๆ

เหลือเวลาอีก 2 สัปดาห์ ฉันไปตามเรื่องท่ีจังหวัดอีก
คร้งั ทางจงั หวดั แจง้ วา่ ยงั ไม่มีหนังสือมาจากอาเภอ ฉนั ย่ิงทอ้ ใจ
และรูส้ ึกปล่อยวางมาก ๆ อะไรจะเกิดก็ปล่อยใหเ้ กิดล่ะกนั ฉนั
คิดวา่ ฉนั ทาดีท่ีสุดแลว้ แต่ฉนั ยงั ไมเ่ ลิกพยายามหรอกนะ ฉนั ไป
ตามเรอ่ื งท่ีอาเภอ คาตอบที่ฉนั ไดร้ บั คอื “คอมพงั พ่งึ ไดท้ าเร่ือง
ไปท่ีจงั หวดั ” ฉันตอบแค่ “ค่ะ” แลว้ เดินออกมา เพราะฉันไม่รู้
วา่ จะหาคาตอบที่มากกวา่ น้ ีไดย้ งั ไง

เหลือเวลาอีก 1 สปั ดาหเ์ ร่ืองอยูท่ ่ีจงั หวดั แลว้ รอใหผ้ ูม้ ี
อานาจเซ็น 2 วนั ต่อมา ฉันไปตามท่ีจงั หวดั อีกคร้งั หนังสือก็ยงั
ไม่ไดเ้ ซ็น ฉันจึงขอพบเพื่อช้ ีแจงถึงความจาเป็ นท่ีตอ้ งเร่งใหเ้ ซน็
หนังสือ พ่ีเจา้ หน้าที่แจง้ ว่าขอรายงานผลการดาเนินการของ
มูลนิธิปี ท่ีผ่านมา ฉันจึงอธิบายไปว่ามูลนิธิฉัน เป็ นมูลนิธิที่จด
ทะเบียนใหม่ จึงยังไม่มีรายงานผลการดาเนินงาน มีเพียง
แผนการดาเนินงานที่อยใู่ นระหวา่ งการดาเนินการเท่าน้ัน

P a g e | 21

ระหว่างที่ฉันอธิบายใหพ้ ี่เจา้ หน้าที่ฟัง ฉันแอบเห็น
หนังสือรับรองฯ ซึ่งลักษณะเหมือนกับหนังสือท่ีฉันเคยไปคัด
สาเนาท่ีอาเภอ ฉันจึงขอดูว่าหนังสือรับรองฯ ว่าออกมาเป็ น
รูปแบบไหน ซ่ึงก็อย่างที่คิด คือเป็ นฉบับเดียวกับท่ีฉันไปคัด
สาเนาท่ีอาเภอและย่ืนท่ีตม. ไม่ผ่าน ฉันจึงแจง้ กับพี่เจา้ หน้าท่ี
ไปอีกคร้งั ว่า ฉันเคยใชห้ นังสือฉบับน้ ีไปย่ืนที่ตม. แลว้ แต่ทาง
ตม. ไม่รับ และฉันไดแ้ นบตัวอย่างฟอร์มท่ีตม. ต้องการมา
พรอ้ มแลว้ และตามท่ีปรึกษากบั พ่ีผูช้ าย เขาก็แจง้ ว่าทาหนังสือ
มารอบน้ ีจะออกใหต้ ามแบบฟอร์ม พ่ีเจา้ หน้าท่ีก็แจง้ กับฉัน
เหมือนเดิมว่า “ออกใหต้ ามแบบฟอร์มไม่ได้ เพราะตม.ไม่ทา
หนังสือมา” ฉนั เลยตอบไปว่า “ฉนั เองก็ไม่รูแ้ ลว้ วา่ ตอ้ งทายงั ไง
ในเม่ือทางจังหวัดไม่สามารถออกหนังสือตามแบบฟอร์มได้
และทางตม. ก็ไม่รบั หนังสือตามแบบของจงั หวดั ” พี่เจา้ หน้าที่
จงึ ข้ นึ ไปคุยกบั พี่ผูช้ ายเจา้ หนา้ ที่หอ้ งช้นั บน จนในที่สุดเจา้ หนา้ ท่ี
โทรไปคุยกบั ทางตม. และอธิบายการออกหนังสือท่ีไม่สามารถ
ออกให้ตามแบบฟอร์มเก่าได้ เพราะตอนน้ ีมีระเบียบใหม่
ออกมา สุดทา้ ยทางตม. ยอมรบั ตามแบบฟอรม์ ใหม่ และฉันได้
หนังสือรับรองฯ ไปย่ืนในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2565 เกิน
กาหนดไป 1 วนั แตเ่ นื่องจาก วนั ท่ี 16 กุมภาพนั ธ์ เป็ นวนั หยุด
จึงยกเวน้ ค่าปรับ และอะมะไดว้ ีซ่าเป็ นอาสาสมัครทางานใน
ประเทศไทยไดอ้ ีก 1 ปี เฮอ้ ออออออออ ถอนหายใจไดย้ าว ๆ

P a g e | 22

เลยคร้ังน้ ี จริง ๆ ถา้ หน่วยงานท้ัง 2 ฝ่ ายคุยกันถึงระเบียบที่
เปลี่ยนไปต้ังแต่แรกก็อาจจะไม่ใช้ระยะเวลานานขนาดน้ ี แต่ก็
นัน่ แหละ….มนั เป็ นบทเรยี นที่มีค่ามากสาหรบั ฉัน

“ ถา้ วนั นนั้ ฉนั เลือกท่ีจะปล่อยท้ิง
ฉนั จะไม่มีทางรเู้ ลยว่า...การเป็ น

“แรงงานขา้ มชาตใิ นประเทศไทย”

ตอ้ งเผชิญกับปัญหาที่ไม่รจู้ บ…เพียงเพราะ “เขา”

มีความต่างทางเช้ือชาติ ”

P a g e | 23

- บทส่งทำ้ ย -
มาถึงตอนน้ ี ครบ 1 ปี สาหรบั การเป็ นอาสาสมคั รฯ ส่ิง
ที่ฉันเล่ามาน้ันเป็ นเพียงปัญหาหน่ึงของ “แรงงานขา้ มชาติใน
ประเทศไทย” ที่มกั ถูกเลือกปฏิบัติเพียงเพราะเขามีความต่าง
ทางเช้ ือชาติ มนั อาจไม่ไดส้ ะทอ้ นปัญหาครบทุกมิติหรือทาให้
เขา้ ใจแรงงานขา้ มชาติมากข้ ึน แต่มนั ทาใหฉ้ นั คิดวา่

“ถา้ วนั นึง…ฉนั ตอ้ งจากบา้ นเกิดไปเป็ นแรงงานที่ประเทศอ่ืน
ฉนั คงอยากใหท้ ุกคนปฏิบตั ิตอ่ ฉนั …
เหมือนที่ปฏบิ ตั ิกบั ทุกคนในสังคม”

ทกุ คน...อยากได้รับการปฏิบัติแบบไหน?

P a g e | 24

พ้นื ทคี่ วามทรงจา
ของ

หย่ี มะ (Nyi Ma)

“บทเรยี นท่ีฉนั เลือก…”


Click to View FlipBook Version