รายงาน
เร่ือง การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม
จัดทำโดย
นางสาว ลดาวลั ย์ ทองขาว
รหสั นกั ศึกษา 6412404001221
เสนอ
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ปลืม้ ใจ ไพรจิตร
มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสรุ าษฎร์ธานี
ก
คำนำ
รายงานเรอื่ งการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มเป็นส่วนหน่งึ ของรายวิชาการ
บรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ จัดทำข้นึ เพ่ือประกอบการเรียนโดยรายงานเลม่ นจี้ ะมเี นื้อหาสาระสำคัญ
เกย่ี วกับการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตและสงิ่ แวดลอ้ มเปน็ อย่างย่ิง เช่น วกิ ฤตกิ ารณ์ของระบบนเิ วศ
หลกั การอนรุ ักษณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เปน็ ตน้ ซึง่ ในแตล่ ะหัวขอ้ กจ็ ะแยกออกเป็น
หวั ขอ้ ยอ่ ยไปอีก
ดฉิ นั หวงั วา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชนก์ บั ผู้อ่านและนกั ศกึ ษาท่กี ำลังหาขอ้ มลู นี้อยู่หากมี
ข้อแนะนำหรือขอ้ ผิดพลาดประการใด ดฉิ ันขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั ไว้ ณ ทีนีด้ ว้ ย
ผู้จดั ทำ
นางสาวลดาวัลย์ ทองขาว
ข
สารบัญ
คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………..ก
สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………………….ข
สารบญั รูปภาพ………………………………………………………………………………………………………..……..ค
บทที่1..........................................................................................................................................1
การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ......................................................................1
วกิ ฤติการณข์ องระบบนิเวศ.................................................................................................2
วฒั นธรรมกบั การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม.....................................................3
อิทธิพลของการเปลยี่ นแปลงวฒั นธรรม...............................................................................4
หลกั การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ...........................................................5
หลักการอนรุ กั ษ์ตามประเภททรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม......................................10
บทบาทของผ้ดู ำเนินการจดั การส่ิงแวดล้อม.......................................................................11
ยทุ ธศาสตรแ์ ผนการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม..............................................................................14
องคก์ รด้านสงิ่ แวดล้อมในเมอื งไทย....................................................................................17
บทสรปุ การอนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม.....................................................20
บรรณานกุ รม.............................................................................................................................21
ค
สารบัญรูปภาพ
การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ 1 ........................................................................................................5
1
บทที่1
การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
การเพิ่มขึน้ ของจำนวนประชากรส่งผลกระทบใหม้ ีการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในปริมาณ
มาก และเพิ่มขึ้นตามสัดสว่ นจำนวนประชากร ประกอบกบั การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยอย่าง
รวดเรว็ ในช่วงระยะเวลาทผ่ี ่านมา สง่ ผลให้ประเทศไทยเปน็ หนึ่งในประเทศผู้นำทางดา้ นเศรษฐกิจและ
หุ้นส่วนด้าน การพัฒนาในภูมิภาคอาเซียน ผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วทำให้ชุมชนเมือง
มีการขยายตัว มีการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว ส่งผลให้มีการใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกินสมรรถนะของธรรมชาติที่จะฟื้นฟูได้ จึงเป็นเหตุให้เกิด
การลดลง การเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือบางแห่งมีการปลดปล่อย
สารพิษปนเปื้อนออกสู่ธรรมชาติ ซึ่งจะเห็นได้ว่าทรัพยากรธรรมชาติขาดความอุดมสมบูรณ์ คุณภาพ
สิ่งแวดล้อมมีความเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่องและก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อความ
เป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะมนุษย์ จึงนับว่าเป็นปัญหาระดับท้องถิ่นและระดับชาติที่ควรร่วมมือ
แก้ไขอย่างเร่งด่วน ภาครัฐจึงควรให้ความสำคัญต่อการดำเนินการตามนโยบาย มาตรการ และกลไก
ด้านการบริหารจัดการให้เป็นไปตามหลักการการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยอาจเริ่มจากการวางแผนเพื่อหา
ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา สาเหตุของปัญหาและนำปัจจัยต่าง ๆ มาจัดระบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมโดย
ยึดหลักการใดหลักการหนึ่งหรือหลักการผสมผสานเพื่อให้คงอยู่ของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอันเป็นวัตถุดิบที่สำคัญ เพื่อนำมาใช้ในกระบวนการพัฒนาการใช้ โดยในกลไกของระบบ
การทำงานการผลิตจะต้องไม่ก่อให้เกิดการปลดปล่อยสารพิษลงสู่แหล่งธรรมชาติและได้ผลิตภัณฑ์ท่มี ี
คุณภาพ และทำให้ผู้อุปโภคสามารถดำรงชีวิตในสังคมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในสิ่งแวดล้อม
นอกจากนี้ควรวางแนวทางในการสร้างความสมดุลในการพัฒนาทั้ง 3 มิติคือ มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม
และมิติส่ิงแวดล้อม ที่มุ่งเน้นให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจในระดับท่ีเหมาะสม มีเสถียรภาพ มีการ
กระจายการพฒั นา การกระจายรายได้ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และสร้างฐานทรัพยากรธรรมชาติ
และคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้มั่นคง ก็เป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนซึ่งในการดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและการ
ดำเนินการจัดการเป็นไปตามขั้นตอนและเกิดความสำเร็จในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม จำเป็นอย่างยิ่งที่ผูบ้ ริหารนักวิชาการ หรือล้าหนา้ ที่ผู้ปฏิบัติการ แม้กระทั่งประชาชนผู้ที่มี
ส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการและใช้ประโยชน์ต่าง ๆ จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในประเด็นต่าง
ๆ อย่างแท้จริง เพื่อให้การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมดำเนินการไปได้ รวมถึงการให้
2
ความร่วมมือของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการดำเนินการจัดนั้นไม่สามารถดำเนินการได้อย่างมี
ประสิทธผิ ลหากไม่มีความร่วมมอื กันของประชาชนทุกคน
วิกฤตกิ ารณ์ของระบบนเิ วศ
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันล้วนเป็นสาเหตุที่ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของ
มนุษย์ทำให้ต้องหันกลับมาพิจารณาถึงกิจกรรมต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้สร้างขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันวา่
ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อสิ่งแวดล้อมหรือระบบนิเวศอย่างไรบ้าง โดยปกติการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือระบบนิเวศนั้นส่วนใหญ่เกิดจากสัดส่วนของวัตถุธาตุและพลังงานในระบบ
นิเวศถูกเปลี่ยนแปลง เช่น แหล่งน้ำเกิดการปนเปื้อนของโลทะหนักหรือมีวัตถุธาตุบางอย่างหายไป
เช่น น้ำมีปริมาณออกซิเจนละลายน้ำน้อยจนทำให้เกิดน้ำเน่าเสีย เป็นต้น ซึ่งสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงของระบบนเิ วศอนั เกดิ จากกจิ กรรมของมนษุ ยม์ ดี ังน้ี
1) ปญั หาประชากร
การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรในขณะที่พื้นที่ของประเทศยังคงเท่าเดิม ทำให้ความหนาแน่นของ
จำนวนประชากรต่อหน่วยพื้นที่เพิ่มขึ้น ทรัพยากรธรรมชาติที่ถูกใช้หมุนเวียนอยู่ในระบบนิเวศถูก
นำมาเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์มากขึ้น เกิดการแย่งชิงทรัพยากรธรรมชาติจาก
ส่วนประกอบอื่นในระบบนิเวศเดียวกันมาใช้ จึงทำให้ระบบนิเวศขาดความสมดุล นอกจากนี้การ
กระจายและอพยพของประชากรก็เป็นปัญหาต่อระบบนิเวศ โดยส่งผลทำให้เกิดความร่อยหร่อของ
ทรพั ยากรและความเส่ือมโทรมของสภาพแวดล้อม
2) การใชท้ รพั ยากรเพิ่มขึน้
การเพิ่มปริมาณการบริโภคทรัพยากรในปัจจุบันเกิดขึ้นจากแรงจูงใจทางเศรษฐกิจตามนโยบายของ
รัฐบาล โดยเฉพาะรัฐบาลในประเทศต้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนาที่ได้นำแบบแผนของระบบเศรษฐกิจ
และมาตรฐานการครองชีพจากประเทศที่พัฒนาแล้วมาใช้ ทำให้เกิดคำนิยมและรูปแบบการดำเนิน
ชีวิตขึ้นมาใหม่ ถึงแม้ว่าในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งจะมีโอกาสทำให้การเพิ่มจำนวนประขากรลดลง แต่
ด้วยวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันทำให้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานเพิ่มมากขึ้น
กวา่ แตก่ ่อน
3) การใช้เทคโนโลยี
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำให้มนุษย์สามารถนำเอาทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในแหล่งต่าง 1 ใน
โลกมาใช้ประโยชน์ได้ง่ายและมปี ริมาณการนำมาใช้มากข้ึน ทำให้ระบบนิเวศขาดสมดลุ ขึ้นจากการนำ
ทรัพยากรมาใช้เกินขีดจำกัดและการใช้เทคโนโลยีท่ีไม่เหมาะสมทำให้มีการปนเปื้อนของสารมลพษิ ใน
ระบบนิเวศ จนทำให้ระบบนิเวศเกิดการปรับโครงสร้างใหม่ซึ่งอาจเกิดการทำลายระบบนิเวศเดิมหรือ
เป็นการสร้างระบิบนิเวศใหม่ขึ้นมาซึ่งก็ไม่สามารถนำมาแทนท่ีทรัพยากรธรรมชาติเติมได้ นอกจากน้ี
เทคโนโลยียังเป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแบ่ลงแบบแผนในการดำเนินชีวิตที่เรียกว่าการ
“เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม" ซึ่งมักจะถูกถ่ายทอดรูปแบบมาจากประเทศที่เป็นเจ้าของ
3
เทคโนโลยีจนเกิดเป็นค่านิยม ความเชื่อ พฤติกรรม และสังคมใหม่ขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาหรือ
ประเทศด้อยพัฒนาถึงแม้จะมีมาตรการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการจัดการสิ่งแวดล้อมเพ่ือ
แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมแล้วก็ตาม แต่มาตรการที่สำคัญยิ่งกว่าคือการปรับวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรมให้
สอดคล้องเหมาะสมกบั ทรพั ยากรน่ันเอง
วฒั นธรรมกบั การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
วัฒนธรรมเปน็ วถิ ีชีวติ ของทกุ คนในสังคมมนษุ ย์ ดงั นน้ั ในสงั คมแต่ละแห่งจึงมีข้อกำหนดให้ยืด
ถือปฏบิ ัติและมแี นวคดิ ทจี่ ะเชอื่ ในแบบแผนเดยี วกนั อย่างไรกต็ ามวัฒนธรรมยังมีรายละเอียดแยกย่อย
ไปเป็นครอบครัว กล่าวคือแม้ว่าจะอยู่ในสังคมเดียวกันก็ยังมีวิถีชีวิตในครอบครัวที่แตกต่างวัฒนธรรม
นั้นจะประกอบด้วยการประพฤติปฏิบัติหรือกิจกรรม ซึ่งเรียกวัฒนธรรมลักษณะนี้ว่า วัฒนธรรมทาง
วัตถุ (material culture) ซึ่งวัฒนธรรมทางวัตถุที่ปรากฎให้เห็นเป็นรูปธรรมได้นั้นเป็นสิ่งที่เกิดจาก
ความคิด ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี การเรียนรู้ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่เป็นนามธรรม
(nonmaterial culture) เสมอ
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งวัฒนธรรมกับการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
ในอดีฒมนุษย์จะอาศัยอยูใ่ นบริเวณที่มีแหล่งทรพั ยากรที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และวิถีทาง
การดำรงชีวิตหรือวัฒนธรรมของมนุษย์แต่ละกลุ่มจะสอดคล้องกับทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น แต่เมื่อ
มนุษยม์ ีความเจรญิ ทางดา้ นเทคโนโลยีมากขนึ้ และมีความจำกดั ในเร่ืองท่ีดินจึงไม่สามารถย้ายถ่ินไปต้งั
ถิ่นฐานตามที่ต้องการได้ จึงต้องมีการเคลื่อนย้ายทรัพยากรส่วนต่าง ๆ ของโลกมาเพื่อใช้ประโยชน์
เมื่อวัฒนธรรมเป็นวิถีแห่งการดำเนินชีวิตดังนั้นการดำรงชีวิตของมนุษย์จึง หลีกเสี่ยงไม่ได้ที่จะใช้
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อสนองความต้องการที่จะต้องดำรงชีวิตอยู่ส่วนหนึ่ง และ อีก
ส่วนหนึ่งเพื่อสนองความต้องการทางคำนิยม ประเพณี และความเชื่อ ซึ่งสามารถจะแบ่งแยก
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการใช้ทรัพยากรเพื่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ออกได้เป็น 3
ประการ ดงั น้ี
1) ความต้องการทางรา่ งกาย (biological need)
มนุษย์ต้องการปัจจัยสีในการดำรงชีวิต จึงแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในการดำรงชีวิต
ซ่ึงเปน็ ความตอ้ งการขน้ั ต้นของการมชี ีวิต
2) ความต้องการทางจิตวทิ ยา (psycholggical need)
เป็นความต้องการที่เพิ่มเติมขึน้ ตอ่ จากความตอ้ งการทางร่างกาย เช่น มนุษย์ต้องการตกแต่ง
บ้านให้ดูสวยงาม จึงมีการนำเฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ มาตกแต่งบ้านให้ดูสวยงามหรูหรา เพ่ือ
แสดงใหเ้ ห็นถึงระดบั ฐานะของครอบครวั และบง่ บอกวา่ มีรสนิยมสูง เป็นตน้
3) ความตอ้ งการทางสงั คม (social need)
4
เป็นบรรทัดฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและการประพฤติปฏิบัติทั่วไปด้วย เช่น
การแสดงความเคารพต่อผู้ใหญ่ และการรดน้ำคำหัวในวันสงกรานต์ เป็นต้น สิ่งประดิษฐ์ที่ก่อให้เกิด
ความชุมเฟือยในสังคม ซึ่งส่งผลทำให้เกิดความร่อยหรอและเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจากการพฒั นาส่ิงประดิษฐเ์ หล่านี้
4) การเปลยี่ นแปลงบทบาทหนา้ ทใ่ี นสงั คม
สืบเนื่องจากการพัฒนาการประดิษฐ์คิดค้นและการพัฒนาของสังคมที่ขับซ้อนมากขึ้น ทำให้
วิถีชีวิตเปลยี่ นแปลงไป เช่น การเปลยี่ นแปลงจากสงั คมเกษตรกรรมมาเปน็ สงั คมอตุ สาหกรรม เป็นตน้
อิทธพิ ลของการเปล่ียนแปลงวฒั นธรรม
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เกิดขึ้นจากปัจจัยที่ช่วยชักจูง
ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางวฒั นธรรม ดังต่อไปน้ี
1) ศาสนา
แนวคิดทางศาสนามีอิทธิพลอย่างมากต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสืบทอดกันมาเป็น
เวลานาน แนวความคิดทางศาสนามีส่วนสำคัญในการกำหนดการประพฤติปฏิบัติ แต่ทุกศาสนามี
แนวทางในการปฏิบัติที่มีแนวโน้มที่คล้ายกัน คือ เป็นแนวทางให้มีการดำเนินชีวิตด้วยความสุข ซึ่งนำ
จะมีบทบาทในการช่วยปรับปรงุ และดแู ลสิ่งแวดลอ้ มไปดว้ ย
2) การศกึ ษา
การให้ความรู้ก่อให้เกิดเจตคติอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้น ดังนั้นการให้ความรู้และความเข้าใจใน
เรื่องสิ่งแวดล้อมที่เป็นแหล่งกำเนิดของทรัพยากรธรรมชาติอันเป็นพื้นฐานการดำรงชีวิตและการ
ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อม น่าจะทำให้เกิดการปรับปรุงวิถีทางการดำรงชีวิตของมนุษย์ใหม่ และ
ยังชว่ ยใหม้ ีการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างถูกต้องและเหมาะสมได้มากขน้ึ
3)การเมือง
การเมืองมีอิทธิพสในการกำหนดแนวทางหรือนโยนายในการดำรงชีวิตของประขากร
ภายในประเทศ ซง่ึ เปา้ หมายท่ีแท้จรงิ ทางการเมอื ง กเ็ พอื่ ทำใหป้ ระชาชนภายในประเทศกินดีอยู่ดแี ละ
อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข แต่วิธีการดำเป็นการในแต่ละประเทศเพ่ือให้ถึงเป้าหมายดังกล่าวย่อม
แตกต่างกันออกไปตามแผนและนโยบายของแต่ละประเทศ ซึ่งในการกำหนดนโยนายทางการเมือง
จะต้องคำนึงถึงปริมาณและแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศ รวมถึงในโลกทั้งใน
ปงิ้ จุปันและอนาคด
5
4) เศรษฐกจิ
ในปัจจุบันระบนเศรษฐกิจมีอิทธิพลสูงสุดในการสร้างคู่นิยมและวัฒนธรรมในลักษณะที่ฟุ่ม
เฟื่อย รวมถึงมีชีทชีพลครอบงำการดำเนินการทางศาสนา การศึกษา การเมือง และบุคคลทั่วไปใน
สังคม ซึ่งจะเห็นได้ว่าระบบการผลิตและการจัดการทรัพยากรรมชาติและแรงานเป็นสิ่งสำคัญในการ
กำหนดการดำรงชีวิตของคนในสังคม เพราะทำให้ชีวิตของแต่ละบุคคลมีวิถีทางที่แตกต่างกันออกไป
เช่น ระบบเศรษฐกิจเกษตรกรรม และระบบเศรษฐกิจแบบอุดสาพกรรม เปน็ ต้น
5) บุคคลสำคัญและผนู้ ำ
บุคคลสำคัญในสังคมในทุกสาขาวิชาชีพจะเป็นผู้มีอิทธิพลในฐานะเป็นต้นแบบให้ผู้อื่นประพฤติปฏิบัติ
ตาม เช่น นกั การเมือง นกั ร้อง นกั แสดง ครู อาจารย์ และผู้นำชมุ ชน เปน็ ตน้
ทั้งนี้ในฐานะที่ทุกคนเป็นสมาชิกของสังคมและเป็นผู้ก่อให้เกิดปัญหาการร่อยหรอของ
ทรัพยากรธรรมชาติและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ดังนั้นจึงควรให้
ความสำคญั ต่อการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม
หลักการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
การอนุรักษ์ หมายถึง การนำทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด และ
สามารถมีใช้ไดย้ าวนานทีส่ ุด หลักการอนรุ ักษ์ยังประกอบด้วยการใชอ้ ยา่ งฉลาดและให้เกดิ ความยั่งยืน
การฟื้นฟูสภาพที่เสื่อมโทรมและการสงวนสิ่งที่หายากวิธีการอนุรักษ์ หรือการปฏิบัติการเพื่อการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (เ กษม จันทร์แก้ว, 2540) ในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีวิธีการที่หลากหลาย ซึ่งในการเลือกใช้แต่ละวิธีการเพื่อให้การ
1การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ 1
6
ดำเนินการอนุรักษ์ประสบความสำเร็จนั้นต้องให้เหมาะสมกับสถานภาพ เวลา สถานที่ และการ
ควบคุมกับการนำเทคโนโลยีมาร่วมด้วย โดยในการดำเนินการเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพต้องสร้างความ
เข้าใจอย่างสีกซึ้งกับหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องกันทุกฝ่าย มิฉะนั้นจะเกิดการผิดพลาดต่อ
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม โดยวธิ ีการ อนุรักษท์ ส่ี ำคญั มี 8 วิธีการ ดงั ตอ่ ไปนี
1) การใช้แบนย่ังยืน (sustainable utitization)
การใช้แบบยั่งยืนเป็นการใช้ด้วยการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ผลิตผลมากแต่มี
ของเสียหรือมลภาวะเกิดขึ้นน้อย การใช้อย่างยั่งยืนนี้จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด ทำให้ทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมสามารถฟ้ืนตัวหรือเกิดขึ้นมาใหม่ใด้ทันกับความ
ต้องการใช้ งานของมนุษย์ ในการใช้แบบยั่งยืนนอกจากจะต้องพิจารณาหาและเสือกเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมแล้ว ยังต้องเป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพที่สุด โดยเมื่อนำเทคโนโลยีมาใช้ในการด้ผู้คืน
สภาพทรัพยากรธรจมชาติและสิ่งแวดลอ้ มแล้ว ต้องคำนึงถึงการจัดหาและเลือกเทคโนโลยีการนำของ
เสียมาใช้ประโยชน์ด้วย เพื่อทำให้ของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อมลดน้อยลง หรือแปรสภาพเป็น
ทรพั ยากรธรรมชาติใหม้ กี ำลังผลิตท่ีสงู ข้ึนและมีประสิทธภิ าพมากทส่ี ุด
2) การกกั เกบ็ รักษา (storage)
การเก็บรักษา หมายถึง การรวบรวมและเก็บกักทรัพยากรที่มีแนวโน้มที่จะขาดแคลนในบางเวลาหรอื
คาดว่าจะเกิดวิกฤตการณ์เกิดขึ้น บางครั้งอาจเก็บกักเอาไว้เพื่อการนำไปใช้ประโยชนในปริมาณที่
สามารถควบคุมได้ ซึ่งการรักษาในบริบทของการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดหมายถึง การ
เก็บทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเอาไว้ใชใ้ นอนาคต หรอื เพือ่ เอาไว้ใชใ้ นการสรา้ งกิจกรรมอน่ื ๆ
ให้เกิดประสิทธิภาพ ความจริงแล้วมนุษย์มีความรู้ ประสบการณ์ และทักษะในการกักเก็บมาเป็น
เวลานานแล้ว โดยเห็นได้จากกระบวนการกักก็บอาหารด้วยการถนอมอาหาร การตากแห้ง และการ
อบแห้ง เป็นต้น มนุษย์เริ่มกักเก็บเพราะต้องการหนีภัยพิบัติที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เช่น ความหิวโหย
อุทกภัยวาตภัย และอาชญากรรม เป็นต้น มนุษย์ได้ใช้ประสบการณ์ชีวิตทั้งที่ประสบความสำเร็จและ
ล้มเหลวมาเป็นแนวทางในการสร้างสิ่งเก็บกักเพื่อให้ได้มาซึ่งทรัพยากรไว้ใช้ในอนาคต ดังนั้นการกัก
เก็บทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มนุษย์มีทรัพยากรต่าง ๆ ไว้ใช้ใน
อนาคตเนื่องจากทรัพยากรบางชนิดหรอื บางประเภทจะมีมากเกินไปในบางเวลา แต่ขาดแคลนหรือไม่
มีในอีกช่วงเวลาหนึ่ง หรือทรัพยากรบางชนิดมีการเน่าเปื่อยหรือเสื่อมสลายได้เร็ว มนุษย์จึงพยายาม
หาวิธีการกักเก็บทรัพยากรเหล่านั้นไว้ใช้ในช่วงเวลาที่ขาดแคลนด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การถนอม
อาหาร การทำยงั ฉางการเก็บกกั น้ำ เป็นต้น ในกรณีการเกบ็ กกั ทรพั ยากรนำ้ ต้องเลือกวธิ กี ารกักเก็บให้
เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และกิจกรรมในการใช้ เช่น การใช้โง่งน้ำกักเก็บน้ำไว้ใช้ประโยชน์ใน
ครัวเรือน การก่อสร้างอ่างเก็บน้ำเพื่อกักเก็บน้ำเพื่อใช้ประโยชน์ในการเป็นแหล่งสำรองน้ำเพื่อใช้ใน
การประปา การอุตสาหกรรมและการเกษตร การสร้างเขื่อนเพื่อประโยชน์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า
เป็นต้น
7
3)การรกั ษาหรอื ซ่อมแซม (repair)
การรักษาหรือช่อมแชมเป็นการดำเนินการใด ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ขาด
ไปหรือไม่ทำงานตามพฤติกรรมเนื่องจากมีการเสื่อมโทรมหรือมีปัญหา โดยอาจใช้เทคโนโลยีที่มนุษย์
สร้างขึ้นเข้ามาช่วยให้ดีเหมือนเดิมจนสามารถมีศักยภาพที่จะนำมาใช้ได้เช่นเดิ ม ในส่วนของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีมีการถูกทำลายโดยมนุษย์หรือโดยธรรมชาติ มีความจำเป็นต้อง
รกั ษาหรือซอ่ มแชมให้เป็นปกติ เพราะเมอื่ เกดิ ความผิดปกตใิ นโครงสร้างของระบบน้ันข้ึนจะมีผลทำให้
การเลื่อนไหลของกลไกสิ่งแวดล้อมไม่คล่องตัว หรือถูกตัดตอนของระบบการทำงานของระบบนั้น ๆ
ก่อให้เกิดความไม่คล่องตัว หรือความผิดพลาดของการทำงานของระบบได้ และสุดท้ายอาจมีผลต่อ
การสร้างภาวะมลพิษหรือปญั หาสิ่งแวดล้อมตามมา ซึ่งการรักษาหรอื ชอ่ มแซมจะช่วยให้การเสื่อนไหล
ของกลไกเป็นไปได้ตามปกติ อาจดำเนินการด้วยการใช้เทคโนโลยีในการบำบัดหรือการแก้ใขในการ
จัดการ เช่น กรณีน้ำเสียอาจจะใช้เทคโนโลยีเข้าช่วยบำบัดโดยใช้เครื่องเติมอากาศในแหล่งน้ำเสีย
หรือในบ่อบำบัดน้ำเสีย กรณีป่าไม้ถูกบุกรุกทำลายต้องคำเนินการด้วยการปลูกบำบัดทดแทนใน
บริเวณที่ต้นไม้ตายไปหรือถูกทำลาย เป็นต้น อย่างไรก็ตามวิธีการรักษาและซ่อ มแซมจะต้องใช้
เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมและบุคลากรที่มีความรแู้ ละความชำนาญด้วย
4)การฟื้นฟู (rehabilitation)
การดำเนินการให้ทรัพยากรที่ลดลงหรอื เสื่อมโทรมสามารถฟื้นคืนกลับสู่สภาพเต็มได้โดยการ
ปิดกั้นไม่ให้มีการรบกวนระบบสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ระบบโล่งแวดล้อมมีเวลาในการฟื้นตัวกลับสู่สภาพ
เดิมสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกสามารถเชื้อประโยชน์ในการนำไปใช้ประไยชน์ต่อไป ซึ่งการฟื้นฟู
ต้องใช้เวลาและเทคโนโลยีเข้าช่วยด้วย ผมอ การฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมไทรมให้ฟื้นคืนสภาพปกติ
จำเป็นต้องให้ความรู้และความเข้าใจแก่ประชาชนเกีย่ วกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มที่เส่อื ม
โทรมนั้น อาจใช้เพียงวิธีการให้ธรรมชาติช่วยในการฟื้นฟู แต่ในบางกรณีก็ไม่สามารถใหธ้ รรมชาติช่วย
ได้ จึงจำเป็นต้องมีการฟื้นฟูด้วยเทคโนโลยีรูปแบบของการดำเนินการฟื้นฟู ได้แก่ การฟื้นฟูไร่เลื่อน
ลอย ด้วยการป้องกันไฟป่าอย่างมีประสิทธิภาพก็สามารถทำให้ป่าคงสภาพได้ซึ่งต้องอาศัยระยะเวลา
ในการฟ้นื ตวั ของ สว่ นในการฟืน้ ฟนู ำ้ เนา่ เสยี ดำเนินการฟื้นฟดู ้วยการปล่อยน้ำให้ไหลสมั ผสั กับอากาศ
เพื่อทำให้นำ้ เสียได้รบั ออกซิเจนมากขึ้น ส่งผลทำใหม้ คี ุณภาพนำ้ ดขี ึน้ เปน็ ตัน รปู แบบการฟื้นฟเู หล่าน้ี
ต้องใช้เวลาทั้งสิ้น ทั้งขึ้นอยู่กับชนิดของทรัพยากรธรรมชาติ ความเข้มขันของความเสื่อมโทรมหรือ
มลพิษที่เกิดขึ้น รวมถึงชนิดหรือประเภทของเทคโนโลยีด้วย การฟื้นฟูนั้นเป็นสิ่งจำเป็นในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืนได้ เพราะการฟื้นฟูสามารถนำมาให้ทรัพยากรที่มีสมรร
ถะในการฟืน้ ฟใู นการให้ผลติ ท่ีมปี ระโยชน์ตอ่ ไปได้เป็นอย่างดี
8
5) การพฒั นา (development)
ป ร ี ช า ส ุ ว ร ร ณ พิ น ิ จ ( 7537) ไ ด ้ ใ ห ้ ค ว า ม ห ม า ย ค ำ ว ่ า ก า ร พ ั ฒ น า ท ี ่ ย ั ่ ง ยื น
(sustainahledevelopment) คือการพัฒนาทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่บั่นทอนศักยภาพในการพัฒนาสังคมในอนาคต ทั้งเป็นการพัฒนาท่ีจะส่งผล
ต่อมนุษย์ได้อย่างถาวรและมั่นคง โดยมุ่งใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาด ถูกต้องตามทลักวิชา
การ โดยมีการบำรุงรักษาและใช้ในอัตราที่จะเกิดการทดแทนได้ทันอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะได้มี
ทรัพยากรใช้ในอนาคต รวมทั้งเสริมสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากร และ
การพัฒนานั้นต้องคำนึงถึงความเสียหายของสิ่งแวดล้อม และการป้องกันปัญหาความเสื่อมโทรมที่จะ
เกิดกับสิ่งแวดล้อมด้วย จะเห็นได้ว่าการพัฒนาเป็นการทำสิ่งที่เป็นอยู่ให้ดีขึ้น โดยการทำให้ผ ลิตผล
จากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมนนั้ ให้ดีกวา่ ปกติ โดยการใชเ้ ทคโนโลยที ่มี ปี ระสิทธภิ าพช่วยให้
กลไกสิ่งแวดล้อมทำงานได้ดีขึ้น ปกติแล้วทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแต่ละประเภท จะมี
ศักยภาพการผลิตตามกำลังของตนเอง ถ้ามีการเสริมสร้างการใช้เทคโนโลยีไปกระตุ้นหรือเร่งเป็น
กลไกช่วยในการทำหน้าที่แทนปกติแล้วอาจให้ผลผลิตสูงขึ้น อย่างไรก็ตามการพัฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใด ๆ ก็ตามจะต้องมีการนำเทคโนโลยีมาใช้ควบคู่กับ
กระบวนการพัฒนาเกือบทุกขั้นตอน ซึ่งเทคโนโลยีนั้นน่าจะต้องเป็นเทคโนโลยีที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เครื่องมือสมัยใหม่ ในทำนองเดียวกันอาจเป็นเพียงการควบคุมกระบวนการผลิตทุกข้ันตอน ซึ่งอาจ
เป็นการลดของเสียและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้ วิธีการพัฒนาทางสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การใช้
เครื่องมือเกษตรมาปรับปรุงการทำการเกษตรแบบเดิม การใช้เครื่องเติมอากาศช่วยบำบัดน้ำเสีย การ
ใชส้ ารเร่งการเจรญิ เตบิ โตของพีชผลทางการเกษตร เป็นตน้
6) การป้องกัน (protection)
การป้องกันเป็นการคุ้มครองทรัพยากรโละสิ่งแวดล้อมที่เคยหรือกำลังถูกทำลาย หรือมี
แนวโน้มว่าจะถูกทำลาย เพื่อให้มีอัตราในการนำทรัพยากรมาใช้อยู่ในระดับที่สามารถเกิดขึ้นมา
ทดแทนได้ทัน ซึ่งจะช่วยให้มีทรัพยากรนั้นไว้ใช้อย่างยั่งยืน อีกทั้งยังรวมถึงการป้องกันทรัพยากรที่มี
แนวโน้มจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ไม่เกิดการลุกลามจนทำให้สภาวะ
สิ่งแวดล้อมเสียสมดุลไปซึ่งการป้องกันนี้อาจทำได้โดยการใช้มาตรการต่าง ๆ ตั้งแต่การใช้กฎหมาย
การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และความเข้าใจแก่ประชาชนในการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม เพ่ือ
ไมใ่ หถ้ กู บุกรกุ ตอ่ ไปหรอื ถูกทำลายและสามารถเอื้อประโยชน์ตอ่ มนุษย์ตลอดไป สำหรับวิธกี ารปอ้ งกัน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ใช้ดำเนินการในปัจจุบัน เช่น การออกกฎหมาย กฎระเบียบ
ขอ้ บังคับ สรา้ งบทเรียน การประชาสัมพันธ์สร้างขอบเขต และติดปา้ ยประกาศ เปน็ ตน้
9
7) การสงวน (preservation)
การสงวนเป็นการเก็บสงวนทรัพยากรไว้ไม่ให้มีการนำมาใช้ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมนั้นกำลังจะหมดหรือสูญพันธุ์ใป ทรัพยากรบางชนิดเมื่อมีการส่งวนไปในระยะเวลา
หนึ่งแล้วอาจทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นจนสามารถนำมาใช้ใหม่ใด้ ซึ่งเมื่อถึงเวลาดังกล่าวอาจมีการยกเลิก
การสงวนและอนุญาตให้นำทรัพยากรนั้นมาใช้ได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์หรือมาตรการในการ
ควบคุม ได้แก่ การสงวนพันธุ์สัตว์ป่าที่กำลังจะสูญพันธุ์ไปให้มีการแพร่หลายก่อนแล้วจึงมีการจัดการ
ดูแลการรักษาต่อไป เช่นพระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2509 ได้ให้สถานะของเน้ือ
ทรายเป็นสัตว์ป่าสงวน แต่เนื่องจากปัจจุบันสามารถพราะขยายพันธุ์ได้ จึงถอดชื่อเนื้อทรายออกเป็น
สัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 1ตาม พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 เป็นต้น การ
สงวนอาจจะดำเนินการกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นพื้นที่ เช่น บำบัดสงวน อุทยาน
แห่งชาติ และเขตสงวนเพ่ือการอนรุ กั ษข์ องโบราณสถาน เปน็ ตน้
8) การแบ่งเขต (zoning)
การแบ่งเขตเป็นการจัดการพื้นที่ให้มีสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเปลี่ยนแปลงของ
ทรัพยากร บอกจากนี้การแบ่งเขตยังช่วยให้สามารถกำหนดมาตรการดำเนินการต่าง ๆ ได้เหมาะสม
กับแต่ละพื้นที่ด้วย การแบ่งเขตถือว่าเป็นการอนุรักษ์ขั้นสุดท้ายในการคำเนินการ เนื่องจากใน
กระบวนการแบ่งเขตหรือการกำหนดเขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์อาจจะต้องมีการใช้กฎระเบียบ
ข้อบังคับ หรือกฎหมายคุ้มครองเขตพื้นที่ เช่น เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขตควบคุม
มลพิษ เขตป่าสงวนเขดวนอุทยาน และเขตห้ามลำสตั ว์ป่า เป็นต้น โดยเขตพื้นที่เหล่านี้มักจะมีการจดั
พื้นที่ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการขยายพันธุ์และเจริญเติบโต ซึ่งวิธีการแบ่งเขตอาจใช้พื้นที่
ลักษณะทางภูมิประเทศ หรือลักษณะสัณฐานทางธรณีเป็นเกณฑ์ในการกำหนดขอบเขตพื้นที่เพื่อให้
เกิดความสะดวกและเหมจะสมในการรักษาดูแล เช่น การแบ่งเขตพื้นที่ลุ่มน้ำของประเทไทย ซ่ึง
สามารถบง่ ใตเ้ ปน็ 25 เขตพ้นื ท่ลี ุ่มนำ้ โดยอาศยั เขตพื้นท่ตี น้ น้ำ เขตป่าไม้ แนวสันเขา ความลาดชนั ของ
พื้นที่ หรือตามลักษณะการใช้ประโยชน์ดิน เป็นตัน การแบ่งเขตพื้นที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ในด้าน
การดูแลรักษาหรอื เป็นการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมไดเ้ ป็นอย่างดวี ธิ กี ารหน่งึ
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบางกรณีอาจใช้วิธีก ารอนุรักษ์หลายวิธี
ผสมผสานกัน เช่น การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ กรณีใช้เป็นเชื้อเพลิงไม้ฟืนก็สามารถใช้วิธีการเก็บกัก
ไม้เพื่อทำฟินไว้ใชใ้ นยามท่ีจำเป็นหรือในฤดกู าลท่ีขาดแคลน หรือใชไ้ ม้ในส่วนที่ตายหรือยืนตน้ ตาย ใน
กรณีที่ทรัพยากรป่าไม้ถูกทำลายหรือมีการทำไร่เลื่อนลอย มักใช้วิธีการอนุรักษ์ในการบำรุงรักษาหรือ
ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ให้เกิดความสมดุลก่อน หรือใช้วิซีการป้องกันการทำลายป่าไม้ หากใน
กรณีทีเ่ ปน็ ชว่ งหน้าแลง้ ที่มโี อกาสเกดิ ไฟป่าสูงก็สามารถดำเนินการโดยการจัดทำแนวกันไฟ สำหรับใน
การสงวนนั้นสามารถดำเนินการให้เป็นพื้นที่เพื่อสงวนป่าไว้ เช่น ปาสงวนเพื่อเป็นพื้นที่ต้นน้ำ หรือ
อาจจะใช้ในวิธีการกำหนดเขตเป็นพื้นที่เพื่อรักษาเป็นเขดอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขต
10
พื้นที่ชุ่มน้ำ หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า เป็นต้น ทั้งนี้ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
อาจจะมีการวางแผนโดยมีการนำเทคโนโลยีเข้าช่วย แต่การอนุรักษ์บางวิธีการอาจจะต้องใช้
ระยะเวลาในการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมเพือ่ ใหเ้ กิดผลยั่งยนื ต่อไปในอนาคต
หลักการอนรุ กั ษต์ ามประเภททรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
หลักในการอนุรักษ์ตามประเภททรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมต้องกำหนดแนวทางการ
จัดการให้สอดคล้องกับชนิด ประเภท และเอกลักษณ์เฉพาะอย่างของทรัพยากรนั้น ๆ จึงทำให้การ
จัดการนัน้ สมั ฤทธผิ์ ล โดยแนวคดิ หลักในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตมิ ดี งั น้ี
1) แนวคดิ ในการจดั การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติท่ีใชแ้ ลว้ ไมร่ ู้จกั หมด
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่รู้จักหมด ( non-exhausting natural resources) เป็น
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่มากมายจนใช้ไม่หมด เช่น น้ำ อากาศ ดิน และแสงอาทิตย์ เป็นดัน หากใช้
ทรัพยากรธรรมชาตินี้ผิดวิธีหรือไม่บำรุงรักษาก็อาจเสื่อมสภาพและเกิดปัญหากับผู้ใช้ใด้ โดยหลักการ
ในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ี คือ "สะอาดเสมอ" ซ่ึงมหี ลกั ในการดำเนินการดังต่อไปน้ี
1.1) ต้องควบคุมและป้องกันไมใ่ หท้ รพั ยากรประเภทน้มี ีสิ่งปนเปือ้ น
1.2) ต้องควบคมุ และป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ ปญั หามลพิษจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนษุ ย์
1.3) ถ้าที่ดมีมลสารท่ีเป็นพิษปนเปื้อนในอากาศหรือสกัดกั้นแสงอาฟิตย์ ต้องกำจัด
ใหห้ มดสน้ิ
1.4) ให้การศึกษาแก่ประชาชนถึงวิธีการควบคุมและป้องกัน ตลอดจนผลดีและ
ผลเสีย
1.5) ควรมีกฎหมายควบคุม
2) แนวคิดในการจัดการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีมีการทดแทนเมือ่ ใชไ้ ปแลว้
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีการทดแทนเมื่อใช้ไปแล้ว (renewable resources)ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้
แล้วจะมีการทดแทนอยดู่ ลอดเวลา เช่น นำ้ ดิน ปา่ ไม้ และสัตว์ป่า เปน็ ตน้ การใช้เปน็ ทรัพยากรนี้ต้อง
มีการสงวนรักษา หากใช้แต่อย่างเดียวอาจจะหมดหรืออยู่ในสภาพที่ไม่สมบูรณ์ได้หลักการในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ ## "ใช้เฉพาะส่วนที่เพิ่มพูน (increment) ซึ่งมีหลักในการ
ดำเนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้
2.1) ต้องจัดให้ระบบองค์ประกอบภายในที่มีชนิด ปริมาณ สัดส่วน และการกระจาย
อยู่ในเกณฑม์ าตรฐานธรรมชาติ
11
2.2) ต้องใชเ้ ฉพาะสว่ นทเ่ี อกเงยหรอื เพิม่ พูนขึน้ มาเทา่ นน้ั
2.3) ตอ้ งทำให้ระบบส่ิงแวดล้อมแข็งแรงมศี กั ยภาพการผลิตดี
2.4) ใช้เทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมและมรี ะเบยี บกฎเกณฑแ์ ละข้อบังคบั ทีด่ ี
2.5) ยึดหลักการทางอนุรักษ์วิทยาเป็นสำคัญ กล่าวคือต้องใช้ตามความเหมาะสม
ประหยดั
ปรบั ปรงุ ช่อมแชม และฟน้ื คนื สภาพส่วนท่ีเสื่อมโทรมก่อนแลว้ จึงนำมาใช้
3) แนวคดิ ในการจดั การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติทที่ ี่ใชแ้ ล้วหมดไป
ท ร ั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ต ิ ท ี ่ ใ ช ้ แ ล ้ ว ห ม ด ไ ป ( exhausting natural resources) เ ป็ น
ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แลว้ มีการสิ้นเปลืองหรือหมดไปได้ ได้แก่ แร่ธาตุ และน้ำมนั เป็นต้น หลักการ
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ คือ "ประหยัดเท่านั้น" ซึ่งมีหลักในการดำเนินการ
ดังตอ่ ไปน้ี
3.1) ปอ้ งกันใหเ้ กิดการสญู เสยี ให้นอ้ ยที่สดุ
3.2) ใช้เท่าท่ีจำเป็น
3.3) นำสว่ นท่เี สยี หรือเหลือใชม้ าใช้ประโยชนใ์ ห้คมุ คา่
บทบาทของผดู้ ำเนินการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม
บทบาทของผู้ดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมมีความสำคัญอย่างมากในการจัดการทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เน่ืองจากศักยภาพในการดำเนินงานของผู้ดำเนินการจัดการจะเป็นตัวกำหนดถึง
ความสำเร็จของการดำเนินการจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ซึ่งผู้ดำเนินการจัดการ
สิ่งแวดล้อมที่ดีควรมีบทบาทและแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้การดำเนินงานจัดการสิ่งแวดล้อมมี
ประสิทธภิ าพและประสมความสำเร็จดังต่อไปน้ี
ความรแู้ ละความเข้าใจของผู้ดำเนนิ การจดั การสง่ิ แวดล้อม
เพื่อให้การดำเนินการจัดการสิ่งแวดล้อมเกิดประสิทธิภาพและการดำเนินการจัดการเป็นไป
ตามขั้นตอนและประสบความสำเร็จในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความ
จำเป็นอยา่ งยิง่ ท่ีผู้บรหิ าร นกั วชิ าการ เข้าหน้าท่ผี ู้ปฏิบัตกิ าร และประชาชน จะตอ้ งมคี วามรู้และความ
เขา้ ใจในประเดน็ สำคัญดังตอ่ ไปนบ้ี ทบาทของแตล่ ะองค์ประกอบ รวมถึงบทบาทของระบบสิ่งแวดล้อม
ในแต่ละระบบ ซึ่งเมื่อเมื่อดำเนินการจัดการแล้ว โดรงสร้างหรีอองค์ประกอบนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไป
จากระบบนน้ั อย่างไร
12
1) ต้องเข้าใจระบบสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน โดยต้องทราบถึงองค์ประกอบภายในโครงสร้าง
บทบาทของแต่ละองค์ประกอบ รวมถึงบทบาทของระบบสิ่งแวดล้อมในแต่ละระบบ ซึ่งเมื่อเมื่อ
ดำเนินการ จัดการแล้ว โครงสรา้ งหรอื องคป์ ระกอบนัน้ มกี ารเปล่ียนแปลงไปจากระบบนั้นอยา่ งไร
2) ต้องเข้าใจบทบาทและหนา้ ที่ในระบบนเิ วศเป็นอย่างตี โดยระบบนิเวศประกอบด้วยผู้ผลิต
ผู้บริโภค ผู้สนับสนุน และผู้ย่อยสลาย ดังนั้นการทำความเข้าใจในหน้าที่ขององค์ประกอบในแต่ละ
ระบบจัดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ผู้จัดการหรือผู้ดำเป็นการจะต้องเรียนรู้เกี่ยวกับหน้าท่ี
ของระบบนั้น ๆ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการทำหน้าที่จะเกิดผลกระทบในระบบตามมาอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ใด้
3) ต้องเข้าใจเรื่องสมรรถะการยอมมีได้ การฟื้นสภาพทางสิ่งแวดล้อม และความยืดหยุ่นใน
การรับสารพิษ เพื่อหาแนวทางในกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติแสะสิ่งแวดล้อม หากระบบ
สิ่งแวดล้อมสามารถมีสมรรถนะการยอมมีได้ กล่าวคือถ้าสิ่งแวดล้อมมีการฟื้นคืนสภาพได้ การ
วางแผนในการจัดการระบบลักษณะนี้บางครั้งจึงไม่จำเป็นต้องลงทุนแก้ใขหรือเข้าไปจัดการแก้ใข
ปัญหาในทันทีเพียงแต่มีการเฝ้าระวังให้มีการฟื้นสภาพเอง แต่อาจจะต้องใช้เวลาในการพ้ืนคืนสภาพ
และการเฝา้ ระวงั การถกู รบกวนของระบบ เป็นตน้
4) ต้องเข้าใจถึงผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่สิบเนื่องจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม โดยต้องเข้าใจว่าการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อระบบสิ่งแวดล้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นหากเข้าใจในผลกระทบที่เกิดขึ้นและมีการ
ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นก่อนจะช่วยทำให้การแก้ปัญหาทางสิ่งแวดล้อมมี
ประสทิ ธภิ าพ
5) ต้องวางแผนที่สามารถปฏิบัติได้หรือสามารถปฏิบัติการได้จริงและไม่ให้กระทบกระเทือน
ต่อระบบสิ่งแวดล้อม กระทำได้โดยมีการกำหนดเป็นโครงการเพื่อกำหนดหน้าที่ของแต่ละบุคคล
สถานท่ขี อบเขต ระยะเวลา และวิธดี ำเนนิ การ โดยกจิ กรรมในการดำเนนิ การนน้ั ต้องสามารถปฏบิ ัติได้
โดยอาศัยความร่วมมือกันทุกฝ่าย ซึ่งบทบาทของผู้ดำเนินการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมต้องเข้าใจระบบต่าง ๆ เป็นลำดับขั้นตอน ตั้งแต่ระดับผู้นำหรือผู้บริหารจนถึงระดับ
ผู้ปฏบิ ตั งิ านเปน็ ลำดับช้ัน เพ่อื ใหก้ ารดำเนนิ การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมดำเนินการ
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและประสบผลสำเร็จ
13
แนวทางในการปฏบิ ตั ใิ นการจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม
ในการปฏบิ ตั กิ ารจัดการส่ิงแวดล้อม ผูด้ ำเนนิ การจดั การสิ่งแวดลอ้ มควรมแี นวทางในการ
ปฏิบัติเป็นขั้นตอนดงั ต่อไปน้ี
1) วิเคราะห์ปญี หาส่งิ แวดล้อมในพ้ืนที่
การวิเคราะห์ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นการศึกษาระบบสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่จะจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยจะต้องศึกษาระบบสิ่งแวดล้อมชั้นพื้นฐานด้วยการสำรวจ
เบ้ืองต้นเพ่ือวางแผนการการศึกษา การเกบ็ ขอ้ มลู รวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ ้อมลู
2) การประเมนิ สถานภาพ
หลังจากดำเนินการศึกษาระบบสิ่งแวดล้อมและการวิเคราะห์ข้อมูล จะต้องมีการประเมิน
สถานภาพของระบบทรัพยากรเพื่อให้ทราบถึงสถานภาพของระบบ เช่น สถานภาพสมดุล การเตือน
ภัย เสี่ยงภัย หรือภาวะวิกฤต เป็นต้น โดยนำดัชนีชี้วัดสถานภาพของระบบต่าง ๆ เปรียบเทียบกับ
เกณฑ์มาตรฐาน รายงานการศึกษาในอดีต หรือเปรียบเทียบกับพื้นที่ใกล้เคียง เพื่อเป็นการเชื่อมโยง
ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มท่ีเกดิ ข้ึน
3) การจดั เรียงลำดับปญั หา
เมื่อประเมินสถานภาพส่ิงแวดลอ้ มเสร็จแล้ว ต้องมีการจัดเรียงลำดับความสำคัญของปัญหาที่
ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความจำเป็นในการแก้ปัญหาทางสิ่งแวดล้อมก่อนนำมาสู่
กระบวนการแก้ไขปัญหาหรอื กระบวนการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะช่วยทำให้
การวางแผนจดั การมีประสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้ึน
4) การสร้างแผนการจัดการหลังจากผ่านขั้นตอนการจัดเรียงลำดับปัญหาแล้ว ให้นำประเด็น
การแก้ไขปัญหามาดำเนินการสร้างแผนงานเพื่อเป็นกลไกควบคุมการดำเนินงาน โดยวางนโยบายที่
เหมาะสมต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมเพื่อกำหนดรูปแบบการดำเนินการได้อย่างถูกต้องและมี
ประสิทธภิ าพตามวัตถปุ ระสงค์ โดยโครงสร้างของแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
ประกอบดว้ ยส่วนต่าง ๆ ดงั น้ี
4.1) นโยบาย (policy) หมายถึงหลักการ หรือแผน หรือแนวทางการดำเนินการทาง
สิ่งแวดล้อมเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ซึ่งนโยบายเปรียบเสมือนกรอบของงานในการดำเนินการ
ทำงานวา่ มีจุดหมายอยา่ งไร
4.2) มาตรการ (measures) เป็นแนวทางควบคุมการดำเนินการตามนโยบายที่ได้กำหนด
ไว้ เพอ่ื ให้งานทไี่ ใด้ดำเนินการไปตามนโยบายทก่ี ำหนดไว้บรรถผลและประสบความสำเรจ็
14
4.3) แผนงาน (work plans) เป็นการกำหนดงานหรือสิ่งที่ต้องกระทำในแต่ละมาตรการ
ซงึ่ ในหน่ึงมาตรการอาจจะมีหน่ึงหรอื หลายแผนงานก็ได้ขึน้ อย่กู บั ความเหมาะสม
4.4) โครงการ (project) เป็นลักษณะงานที่กำหนดไว้ในแต่ละแผนงาน ซึ่งอาจมีโครง
หลายโครงการในแต่ละแผนงาน โดยในโครงการหนึ่ง ๆ นั้นมีวัตถุประสงค์เฉพาะที่เอื้อให้การ
ดำเนนิ การตามแผนสัมฤทธผิ์ ล
4.5) กิจกรรม (activities) เป็นงานที่ต้องทำในแต่ละโครงการ โดยจะต้องระบุวิธีการ
และผลการดำเนนิ งานใหช้ ดั เจนในแต่ละกิจกรรม I
4.6) แผนปฏบิ ัติการ (action plan) เปน็ การกำหนดกิจกรรมของงานแต่ละช้ันตอนโดย
ระบุกิจกรรม ผู้รับผิดขอบเขตประมาณ ระยะเวลาดำเนินการ และสถานที่ โดยทั่วไปแล้วแผนการ
ปฏิบัตกิ ารจะเป็นหัวใจของแผนการจัดการท้งั หมด
ยุทธศาสตร์แผนการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม
แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559 ได้มีการพิจารณายุทธศาสตร์และแนว
ทางการพัฒนาในมีติด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ที่ให้ความสำคัญกับการสร้างเศรษฐกิจสร้างสรรค์และ
เศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (ceative and green economy) มาเป็นแนวทางในการกำหนด
กรอบแนวคิดและทิศทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ นอกจากนี้ยัง
มุ่งเน้นแนวทางการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นธรรม โดยเปิด
โอกาสใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถึงทรพั ยากรธรรมชาตไิ ดอ้ ย่างเท่าเทียมกนั และกำหนดมาตรการสรา้ ง
ภูมิคุ้มกันต่อความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ เพื่อเตรียมความ
พร้อมในการเผชิญกับปัญหาความผันผวนจากผลของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัย
ธรรมชาติที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นโดยยุทธศาสตร์แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.
2555-2559 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม, 2554) ดงั ตอ่ ไปนี้
1) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การปรบั ฐานการผลิตและการบรโิ ภคให้เปน็ มิตรตอสง่ิ แวดสอม
ยุทธศาสตร์นี้จะมุ่งเน้นการกำหนดและสงเสริมนโยบายที่เอื้อตอการปรับเปลี่ยนกิจกรรมการ
ผลิตและการบริโภคให้เปนมิตรต่อสิ่งแวดสอม การตอยอดและสร่างมูลคาเพิ่มแกฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสร้างสรรคและยั่งยืน รวมถึงการเตรียมพรอมตอมาตรการการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมที่เช่ือมโยงกับการคาและการลงทนุ โดยเน้นประเด็นสำคญั ได้แกj
15
1.1) การสงเสริมการบริโภคทย่ี ง่ั ยนื
1.2) การปรบั ฐานการผลิตภาคเกษตรให้เปน็ มิตรตอสิ่งแวดลอม
1.3) การปรบั ฐานการผลติ ภาคอุดสาหกรรมใหเปนมติ รตอสิง่ แวดลอม
1.4) การจัดการการทองเทยี่ วอยางยั่งยืน
1.5) การพฒั นามาตรฐานสาธารณปู โภคพนื้ ฐานทเี่ ปนมติ รตอส่งิ แวดลอม
1.6) การจดั การพลงั านทดแทนอยางย่ังยืน
2) ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การอนรุ กั ษและฟ้นื ฟแู หลงทรพั ยากรธรรมชาติอยางยง่ั ยนื การอนุ
รกั ษและฟื้นฟูแหลงทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยางย่งั ยนื จะมงุ เนน้ ประเด็นทีส่ ำคัญ ได้แก่
2.1) การอนุรักษทรัพยากรอยางยั่งยืน คือ ระบบนิเวศป่าไม้ ระบบนิเวศทางทะเล ระบบ
นเิ วศทางนำ้ และระบบนเิ วศเกษตร
2.2) การฟื้นนฟูทรัพยากรอยางยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการสนับสนุนให้ภาคเครือข่าย
เขามามีส่วนรวมในการดูแส รักษา ติดตามและตรวจสอบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมธรรมชาติอยางยั่งยืน และการพัฒนาฐานข้อมลู และความเชื่อมโยงของฐานขอมูล เพื่อการ
บริหารจัดการธรรมชาติอยางยั่งยืน และการพัฒนาฐานข้อมูลและความเชื่อมโยงของฐานขอมูล เพ่ือ
การบรหิ ารจัดการสารสนเทศทเี่ ปน็ เอกภาพโปร่งใส และเปนธรรม
3) ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 การเสริมสร้างธรรมมาภิบาลสิ่งแวดล้อมประเด็นยุทธศาสตร์นี้
มุ่งเน้นการลดความเหสื่อมลำ้ ของสังคม ลดขอขัดแย้งจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสร้างโอกาส
ให้แก่คนยากจนในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน โดย
เน้นประเดน็ สำคัญ ได้แก่
3.1) การจดั การการใช้ประโยชน์ท่ีดิน
3.2) การจัดสรรทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน ( น้ำความหลากหลายทางชีวภาพ และ
ทรัพยากรธรณี)
3.3) การจดั การพืน้ ทว่ี ิกฤตสิ ิ่งแวดล้อม
4) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับประชาชนในทุกระดับ
ประเด็นยทุ ธศาสตรน์ ี้มุ่งเน้นการปอ้ งกนั และลดมลพษิ ณ แหลงกำเนดิ และการกระจายอำนาจในการ
จัดการคุณภาพสิ่งแวดล่อม เพื่อให้เกิดการจัดการที่มีประสิทธิผล การสร่างคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีให
กับประชาชน การรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมของแหลงธรรมชาติและศิลปกรรม โดยเน้นประเด็นท่ี
สำคัญ ไดแ้ ก่
16
4.1) การจัดการมลพิษ คือ คุณภาพน้ำ คุณภาพอากาศ ขยะ ของเสียอันตรายชุมชนและ
อตุ สาหกรรม
4.2) การจัดการคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมเมอื ง
4.3) การจดั การคุณภาพส่งิ แวดลอ้ มของแห่ลงธรรมชาติ แหล่งธรณวี ิทยา แหล่งศิลปกรรม
และแหล่งมรดกทางธรรมชาติและศิลปวฒั นธรรม
5) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การสร่างภูมิคุมกันต่อความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภมู ิอากาศและภัยธรรมชาติ
ยุทธศาสตรน์ ี้มงุ่ เนน้ ประเด็นทีส่ ำคญั ไดแ้ ก่
5.1) คารสร่างภูมิคุมกนั ต่อความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ
โดยการสรางศักยภาพและความพรอมของทุกภาคสวนในการรองรับและปรับตัวตอผสกระทนจากภยั
ธรรมชาติและความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพสู่มีอากาศ ความรวมมือในการลดการปล่อยแก๊ส
เรือนกระจก เพื่อสว่างภูมิคุ้มกันและรักษาความมั่นคงในการพัฒนาประเทศในทุกมิติ ทั้งเศรษฐกิจ
สงั คมและสิ่งแวดลอม
5.2) การวางรากฐานสู่การพัฒนาแบบปล่อยคาร์บอน
6) ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 6 การพฒั นาคนและสังคมท่มี สี ำนึกรับผิดชอบตอสง่ิ แวดลอ้ ม
ประเด็นยุทธศาสตร์นี้มุ่งเน้นการสร่างรากฐานให้ประชาชนในสังคมไทยมีวิถีชีวิตที่เป็นมิตร
สิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานของความรู้ที่ถูกต้องในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน พร้อมกับสร้างความตระหนักในบทบาทตามภารกิจหน้าที่ และเสริมสร้าง
ศักยภาพของทกุ ภาคสวนในการรวมกันบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของประเทศ
อยา่ งเหมาะสม โดยเนน้ ประเด็นสำคญั ไดแ้ ก่
6.1) การสรา้ งจติ สำนึกรบั ผิดชอบตอ่ สงิ่ แวดล้อม
6.2) การพัฒนาและกระตุ้นบทบาทของภาคเครอื ขา่ ยในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ ม
17
องค์กรดา้ นส่ิงแวดล้อมในเมอื งไทย
องคก์ รเก่ยี วกับสง่ิ แวดลอ้ มท่พี บไดใ้ นประเทศไทยในปจั จุบันมที ง้ั สนิ้ 54 องคก์ ร ดงั ต่อไปนี้
1) กลุ่มตะกอนยม
2) กลุ่มเด็กรกั ป่า
3) กองทนุ เฝ้าระวงั ปา่ เต่าดำ
4) โรงไฟฟา้ ประจวบ
5) โรงเรียนเรอื รกั เจา้ พระยากับตาวเิ ศษ
6) พระราชบัญญัตปิ ่าชุมชน
7) เครือขา่ ยพทิ กั ษแ์ มน่ ้ำยม
8)เครือข่ายส่ิงแวดลอ้ ม และการพฒั นาฯ
9) เครือข่ายปา่ ชุมชน
10) โครงการท่อกา๊ ซไทย-มาเลเซีย
1 1) โครงการนำรอ่ งเพ่ือพฒั นาเกษตรกรรมยงั่ ยืน ของเกษตรกรรายยอ่ ยภมู ินิเวคนส์ ุพรรณภมู ิ
12) ชมรมนักนิยมธรรมชาติ
13) ชมรมอนุรกั ษป์ า่ ตะวนั ตก
14) ชมรมอนุรกั ษธ์ รรมชาติและสตั ว์ป่า สมทุ รปราการ
15) ชมรมเดก็ รกั ษ์ชา้ งและอนรุ ักษ์สิง่ แวดลอ้ มกยุ บรุ ี
16) ชมรมรักโลมา ทะเลสานลำปา่
17) เว็บไซต์ข้อมูลโครงการ กก อิง น่าน
18) เวบ็ ไซต์ข้อมูลธนาคารเพอ่ื การพฒั นาเอเชยี รู้จกั ADB
19) เว็บไซตข์ ้อมูลธนาคารโลก World Bank
20) เวบ็ ไซตใ์ หช้ าวบา้ น รวมความรสู้ มนุ ไพรและภูมปิ ญั ญาชาวบ้านของอสี าน
21) เดก็ รักปา่
22)มลู นธิ คิ ุม้ ครองสัตวป์ า่ และพรรณพชื ฯ
18
23)มูลนิธิสบื นาคะเสถยี ร
24) มลู นิธิเพือ่ นข้าง
25) มูลนิธโิ อโซนเพือ่ ชวี ิต
26) มูลนิธชิ ัยพัฒนา
27) มลู นิธิพัฒนาอีสาน
28) มูลนีชิรว่ มดว้ ยช่วยกนั
29) มลู นธิ ินกเงอื ก
30) มลู นธิ ิโลกสเี ขียว
31) มูลนธิ ชิ ว่ ยชวี ิตสัตว์ป่าฯ
32) มลู นิธิพิทักษ์อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
33) มูลนิธิฟ้ืนฟชู ีวิตและธรรมชาติ
34) มูลนิอกี ฎหมายสิ่งแวดลอ้ มไทย
35) เหมืองถ่านหนิ เวียงแหง
36) สมาคมอนรุ กั ษ์นกฯ
37) สถาบนั สง่ิ แวดลอ้ มไทย
38) สมาคมสรา้ งสรรค์ไทย (ตาวิเศษ)
39) สมาคมเทคโนโลยีท่เี หมาะสม
40)สมุนไพร
41)สมัชชาคนจน
42)แมกไม้สายธาร กลุ่มสอ่ื ความหมายธรรมชาติ
43)นักดำนำ้ อาสาสมัครเพื่อตรวจสอบ ความเปล่ยี นแปลงของแนวประการงั
44)ธรรมยาตราเพ่ือทะเลสาบสงขลา
45)ศนู ยข์ อ้ มลู นเิ วศวิทยาการเมือง
46) ศูนยเ์ ศรษศาสตรน์ ิเวศ
19
47) ศูนยศ์ ึกษากระเหรี่ยงและการพัฒนา
48)ศูนย์ศึกษาธรรมชาตปิ างแฟน บา้ นแม่เลา อำเกอแม่แตง จังหวัดเชยี งใหม่
49) BIOTHA! หรือองคก์ รความหลากหลายทางชีวภาพและภมู ปิ ัญญาไทย หรอื เครอื ข่าย
สิทธิภูมิปัญญาไทย: องค์กร พัฒนาเอกชน องค์กรประชาชน นักวิชาการและข้าราชการที่เห็น
ความสำคญั
เกีย่ วกบั ประเดน็ ความหลากหลายทางชีวภาพ
50) Karen Rivers watch (KRW): องค์กรท่ีปกปอ้ งและอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ มบรเิ วณแมน่ ้ำ
51) RECOFTC (รีคอฟ) หรือ ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกหรือ ศูนย์วน
ศาสตร์ชมุ ชนเพอ่ื คนกบั ปา่
52) WWF Thalland: องคก์ รนานาชาตทิ ด่ี ำเนนิ งานด้านการอนรุ กั ษ์ ปกปอ้ งดูแลรักษาธรรมชาติและ
ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม 3 เขตพื้นที่ชุมชนทางนิเวศวิทยาคือ ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรน้ำจืดและ
ทรพั ยากรทะเล และชายฝั่ง
53) WildAld หรือมูลนิธเิ พอ่ื นปา่ ดำเนินงานสร้างจติ สำนกึ อนุรกั ษ์ปา่ และค้มุ ครองสตั วป์ า่
54) Greenpeace Southeast Asa หรอื กรนี พชื เอเชยี ตะวันออกเสยี งใต้ ดำเนินการป้องกันและยตุ ิ
ภัยคกุ คามทร่ี า้ ยแรงต่อความหลากหลายทางชวี ภาพของโลกและสิ่งแวดลอ้ ม
20
บทสรปุ การอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม
จากการเกิดวิกฤติการณ์ของระบบนเิ วศจนเป็นสาเหตุที่ส่งผลกระทบตอ่ การดำรงชีวิตของมนุษย์ทำให้
ตอ้ งหันมาพจิ ารณาถงึ กิจกรรมตา่ ง ที่มนษุ ยไ์ ด้สรา้ งข้ึนตัง้ แตอ่ ดีตจนถงึ ปีจจุบนั จากการวฒั นธรรมการ
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปและมากขึ้น ดังนั้นในฐานะทีท่ ุกคนเปน็ สว่ นหนึ่งของ
ผู้ก่อให้เกิดปัญหาการร่อยหรอของทรัพยากรธรรมชาติและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมทั้งโดย
ทางตรงและะทางออ้ ม จึงควรให้ความสำคญั ต่อการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
โดยอนุรักษ์ทสี่ ำคญั มี 8 วธิ ีการ ไดแ้ ก่
1.การใช้แบบยง่ั ยนื 2.การกักเก็บรักษา3. การรักษาหรือซอ่ มแชม
4. การฟ้นื ฟ5ู .การพัฒนา 6.การป้องกนั 7.การสงวน 8.การแบ่งเขต
ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกรณีอาจใช้วิธีการอนุรักษ์หลายวิธีการ
ผสมผสานกัน นอกจากนี้การอบุรักษ์ให้เหมาะสมกับประเภททรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะ
ชว่ ยทำใหก้ ารจดั การนัน้ 1 สำฤทธ์ิผลไดม้ ากยิ่งขน้ึ โดยการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติที่ใชแ้ ล้วไม่รู้จัก
หมดสิ้นใช้หลกั "สะอาดเสมอ" ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีมีการทดแทนเมือ่ ใช้ไปแล้วใช้หลกั "ใช้เฉพาะสว่ น
ที่เพิ่มพูน " และทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไปใช้หลัก "ประหยัดเท่านั้น" ซึ่งผู้ดำเนินการจัดการ
ส่ิงแวดล้อมมีความสำคัญอย่างมากในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เนื่องจาก
ศักยภาพในการดำเนินงานของผู้ดำเนินงานของผู้ดำเนินการจัดการจะเป็นตัวกำหนดถึงความสำเร็จ
ของการดำเนินการจัดการกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหาร นักวิชาการเจ้าหน้าที่ ผู้
ปฏิบตั ิการ และประชาชน จะตอ้ งมคี วามรูแ้ ละความเข้าใจระบบ บทบาท หน้าท่ี สมรรถนะการยอมมี
ใด้ และผลกระทบทสี่ ามารถเกิดขน้ึ ในสิ่งแวดล้อมไดอ้ ย่างดี
21
บรรณานกุ รม
จริ ากรณ์ คชเสน.ี (2547). มนุษยก์ บั สง่ิ แวดลอ้ ม. พิมพ์คร้งั ท่ี 3. กรงุ เทพ : สำนักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
ชัชพล ทรงสนุ ทรวงศ์. (2546). มนุษยก์ ับสิง่ แวดลอ้ ม. กรงุ เทพ: สำนกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
ธเรศ ศรีสถติ ย์. (2549). รวมกฎหมายและกฎกระทรวงสำหรับระบบการจัดการสิ่งแวดลอ้ ม. กรงุ เทพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
นวิ ตั ิ เร่ืองพานิช. (2546). การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.
พงษ์วฒุ ิ สิทธพิ ล. (2547). การจดั การส่งิ แวดลอ้ มเบอื้ งตน้ . ปทมุ ธานี: สภายบกุ๊ ส์
ฟารีด เฟนิ ตี้. (2546). พลิกฟ้ืนคนื แผ่นดนิ . กรุงเทพา: ศูนยห์ นงั สือนัฟฟาซ่ี.
มนัส สวุ รรณ. (2549). การจัดการสิ่งแวดล้อม : หลกั การและแนวคิด. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2549). สงิ่ แวดล้อม เทคโนโลยี และชีวติ . พิมพ์ครงั้ ที่ 8. กรงุ เทพา:
สำนักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์
วิสตู ร พ่งึ ชื่น. (2547) ชวี ติ กับสิ่งแวดลอ้ มและเทคโนโลย.ี กรงุ เทพร: พฒั นาวชิ าการ.
สมพล มงคลพทิ ักษ์สขุ และคณะ. (2548). การจดั การสิง่ แวดลอ้ มเบอ้ื งต้น. กรงุ เทพา: สำนักพิมพ์
SCIENCE CENTER
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล อม. (2555).ประกาศกระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม เช่อื ง แมนุ กำารจัดการคุณภาพสงิ่ แวคล้อม พ.ศ. 2555-2559.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอมร
สุกาญจน์ วัตนลิคนุสรณ์ (2546). หลักการจัดการสิ่งแวดล้อม พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สมาคม
สง่ เสรมิ
เทศโนโลยี (ไทย-ญปี่ นุ่ ).