The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

230745_การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narumol Ang-ngern, 2022-05-04 00:47:25

230745_การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ2563

230745_การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ2563

การแลกเปลยี่ นเรียนรดู ว ยกระบวนการชุมชนการเรียนรูท างวชิ าชพี (Professional Learning Community)
ชอื่ กลุมกิจกรรม แนวทางการจดั การเรียนการสอนรายวิชาศลิ ปะในยุค CoVid 19
กจิ กรรมคร้ังท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2562
วันท่ี 9 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชัว่ โมง ณ หองพักครู กลุม สาระการเรยี นรศู ิลปะ

วันที่ 10 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ชว่ั โมง ณ หองพกั ครู กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ
วันท่ี 16 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ชว่ั โมง ณ หองพกั ครู กลมุ สาระการเรยี นรูศลิ ปะ

รวมท้งั ส้นิ 6 ช่ัวโมง

วันท่ี 9 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชวั่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น. ณ หอ งพักครู กลมุ สาระการเรียนรูศิลปะ

ที่ ช่ือ-สกุล ตําแหนง ลายมอื ชื่อ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชูอรณุ ประธาน
2 นายยุทธศกั ดิ์ ตุมฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศุภรตั นธ ัญญา กรรมการ
4 นายกติ ติพงศ วไิ ล กรรมการ
5 นางสาวพชิ ญชุดา นาควชั ระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขนุ ทด เลขานุการ

วนั ที่ 10 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ชัว่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น. ณ หอ งพกั ครู กลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะ

ท่ี ชอ่ื -สกุล ตําแหนง ลายมอื ชอื่ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชอู รุณ ประธาน
2 นายยทุ ธศักด์ิ ตมุ ฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รัตนธ ัญญา กรรมการ
4 นายกติ ตพิ งศ วิไล กรรมการ
5 นางสาวพิชญช ดุ า นาควชั ระ กรรมการ
6 นายสรรเสรญิ พรขนุ ทด เลขานุการ

วันท่ี 16 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ชั่วโมง เวลา 15.35 – 17.35 น. ณ หอ งพักครู กลุมสาระการเรียนรศู ิลปะ

ท่ี ชือ่ -สกุล ตาํ แหนง ลายมือชื่อ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชอู รุณ ประธาน
2 นายยทุ ธศกั ดิ์ ตุมฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รตั นธ ัญญา กรรมการ
4 นายกติ ติพงศ วไิ ล กรรมการ
5 นางสาวพิชญช ุดา นาควชั ระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขุนทด เลขานกุ าร

1. ชื่อกิจกรรม
แนวทางการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ าศลิ ปะในยุค CoVid 19

2. ประเด็นปญ หา
ในยุคท่ีมีการระบาดของโรครายอยาง โควิด-19 มนุษยมีความพยายามปองปองตนเองไมใหเกิดการแพร

ระบาดของโรคไปสูพ้ืนที่อื่นในวงกวางที่นําไปสูการทําลายลางจาํ นวนประชากรท่ีมากขึน้ จําเปนอยางย่ิงที่ตองปองกัน
โรคดวยการหยุดกิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง โดยเฉพาะอยางย่ิง คือการหยุดกิจกรรมทางการศึกษาของ
โลกทุกระดับการเรียนรูท่ีดําเนินการในสถาบันการศึกษา อาจกลาวไดวา เกิดการชะงักงันทางการศึกษาจากการ
ระบาดของโรคโควิด 19 (CoVid 19 Educational Disruption) จําเปนอยางยิ่งตองปรับวิธีการเรียนรูเขาสูสภาวะ
ปกติแบบใหม (New Normal of Education) ในสวนของรายวิชาตางๆในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะก็เชนเดียวกัน
จําเปนตองปรับปรุงแนวทางการจัดการสอนเพื่อใหนักเรียนสามรถเรียนรูไดตามมาตรฐานและครบทุกตัวชี้วัดตามท่ี
หลักสตู รแกนกลางกําหนดไว ปญหาที่สาํ คัญก็คือรายวิชาตางๆในกลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะนี้กค็ ือเปนวิชาทต่ี องมีการ
ปฏิบัติ ไมวาจะเปนทัศนศิลป ดนตรี หรือนาฏศิลป ก็ตาม จากเหตุการณดังกลาว ครูจําเปนตองคิดคนและพัฒนา
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมใหสามารถใชไดกับสถานการณท่ีเกิดข้ึน รวมถึงการจัดเตรียมการเรียน
การสอนในลักษณะปกติสําหรับปก ารศึกษาถดั ไป

3. สาเหตขุ องปญหา
รูปแบบการเรียนการสอนในประเทศไทยที่ดําเนินการอยูนั้นมีความหลากหลายตามแตเนื้อหาสาระของวิชา

หรือลักษณะเฉพาะของผูเรียน โดยหลักแลวในรูปแบบการเรียนรูแตละแบบจะยึดฐานหลักในการจัดการเรียนรู และ
ในชวงท่ีมีการระบาดของโรครายอยาง โควิด-19 ทําใหการจัดการเรียนการสอนเปลี่ยนไป ไมวาจะเปนการสลับวัน
เรียน จัดท่ีนั่งใหหางกัน รวมถึงการปรับเปล่ียนวธิ ีการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหน ักเรียนไดรับความรูทค่ี รบถวน สิ่ง
ตางๆเหลานี้ลวนเปนปญหาท่ีครูจะตองระดมความคิดเพื่อที่จะหาแนวทางจัดการใหนักเรียนไดรับประโยชนสูงสุด ส่ิง
ตางๆเหลาน้ีลวนเปนปญหาที่ทําใหครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะตองรวมกันคิดและหารูปแบบวิธีการจัดการเรียน
การสอนใหเหมาะสมในรายวิชาตางๆ ของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ(ทัศนศิลป ดนตรี และนาฏศิลป) ซ่ึงเปนวิชาที่
ตองใชทักษะและการฝก ปฏิบตั ิ ตอไป

4. ความร/ู หลักการทีน่ ํามาใช

รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนของโรงเรียน
1 การจดั การเรียนการสอนแบบปกติ
การเรยี นในชัน้ เรยี น(On-Site)
เหมาะสําหรับโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาขนาดเล็ก ขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ

ที่มีขนาดพื้นท่ีของโรงเรียนบริเวณกวางสามารถจัดการเรียนการสอนใหมีการเวนระยะหางทางสังคม (Social
Distancing) ไดอยางสะดวกภายใต “ ชวี ติ วถิ ีใหม ” (New Normal)

ภายใตเ ง่อื นไข
1. โรงเรียนท่ตี ั้งอยูในจังหวัดทีไ่ มมีการแพรระบาดของเช้อื โรคไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) ตามประกาศของศูนยบริหารสถานการณโ ควิด-19 (ศบค.)
2. โรงเรียนบนพ้ืนท่ีเกาะ โรงเรียนบนพ้ืนท่ีสูงในถิ่นทุรกันดารโดยโรงเรียนสามารถจัดการ
เรยี นการสอนครบทกุ กลมุ สาระการเรียนรู และกิจกรรมพัฒนาผูเ รยี น ไดตามปกติ

2 การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
2.1 การสลับชัน้ มาเรยี นของนักเรยี น แบบสลับวันเรียน
2.2 การสลบั ช้ันมาเรยี นของนักเรยี น แบบสลบั วนั คู วนั ค่ี
2.3 การเหลอื่ มเวลามาเรียนของนักเรยี น แบบเรียนทกุ วัน
2.4 การสลบั กลมุ นักเรียน แบบแบงนกั เรียนในหอ งเรียนเปน 2 กลุม

นโยบายจากกระทรวงศึกษาธิการ มีดังน้ี ไมวาสถานการณแวดลอมจะเลวรายและรุนแรงแคไหน
การเรียนรูท่ีเขาถึงและมีคุณภาพสําหรับเด็กไทยทุกคนเปนเปาหมายสูงสุดของเรา ตามแนวคิด “การเรียนรูนํา
การศึกษา โรงเรียนอาจหยุดไดแตการเรยี นรูหยุดไมได” ครูจึงมีความจําเปนท่ีจะตองทําทุกวิถีทาง เพื่อใหการจัดการ
เรียนการสอนสามารถเกดิ ขน้ึ ไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สุด เทา ทส่ี ภาพแวดลอ มจะอาํ นวย บนพื้นฐาน 6 ขอ คือ

- จัดการเรียนการสอน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยสูงสุดของทุกคนท่ีเกี่ยวของ “การเปดเทอม” หมายถึง
การเรียนท่ีโรงเรียนหรือการเรียนที่บาน ท้ังนี้การตัดสินใจจะข้ึนอยูกับผลการประเมินสถานการณอยาง
ใกลชดิ

- อาํ นวยการใหนักเรียนทุกคน สามารถเขาถึงการเรียนการสอนได แมจะไมสามารถไปโรงเรยี นได ใชสิ่ง
ที่มีอยูแลวใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน การเสนอขอชองดิจิทัล TV จาก กสทช. ทั้งหมด 17 ชอง เพื่อให
นักเรียนทุกระดับชั้น สามารถเรียนผาน DLTV ได ทั้งนี้ ไมมีการลงทุนเพื่อจัดซ้ืออุปกรณใด ๆ เพิ่มเติม
โดยไมจําเปน ซึ่ง กสทช.อนมุ ัติแลว ใหเรมิ่ ออกอากาศ 16 พ.ค.น้ี เปนเวลาไมเ กิน 6 เดือน หรือถาสามารถ
กลับมาดําเนินการสอนไดตามปกติก็ใหหยุดทดลองออกอากาศ แบงเปนของสํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาพื้นฐาน (สพฐ.) จํานวน 15 ชอง เปนของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)
จํานวน 1 ชอง และเปนของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)
จาํ นวน 1 ชอง โดยใหอ อกอากาศแบบความคมชดั ปกติ (SD)

- ตดั สนิ ใจนโยบายตาง ๆ บนพน้ื ฐานของการสาํ รวจความตองการ ท้ังจากนักเรยี น ครู และโรงเรียน ไมคิด
เองเออเอง โดยใหการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเปนที่ต้ัง และกระทรวงจะสนับสนุน
เครื่องมือและอุปกรณต ามความเหมาะสมของแตล ะพ้ืนท่ี

- ปรับปฏิทินการศึกษาของไทย ใหเ อ้อื ตอการ “เรียนเพื่อรู” ของเด็กมากขึ้น รวมทั้งมีการปรับตารางเรียน
ตามความเหมาะสม โดยเวลาที่ชดเชยจะคํานึงถึงภาระของทุกคนและการไดรับความรูครบตามชวงวัย
ของเด็ก

- บุคลากรทางการศึกษาทุกทาน จะไดรับการดูแลอยางตอเน่ือง และทําใหทานไดรับผลกระทบเชิงลบจาก
การเปลี่ยนแปลงนอยท่สี ุด

เพื่อยกระดับการศึกษาไทย จึงไดออกแบบการเรียนการสอนในชวง COVID-19 โดยมีรายละเอียดใน
ภาพรวม ดงั น้ี

รูปแบบการเรียนการสอนออกแบบใหสอดคลองกับความปลอดภัยของพื้นท่ี โดยมีการเรียนรูแบบ
onsite ในพื้นที่ท่ีมีความปลอดภัยสามารถไปโรงเรียนได ขณะที่พนื้ ท่ีไมปลอดภัยจะมีการเรยี นรูหลักผานทางการ on-
air ของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ และมกี ารเรียนรเู สรมิ ผานระบบ online

นโยบายหลักที่นํามาใช คือ เพิ่มเวลาพัก ลดการประเมินและงดกิจกรรมตาง ๆ ท่ีไมจําเปน โดยเนน
เรียนเฉพาะวิชากลุมสาระหลัก เพ่ือใหนักเรียนผอนคลายลง ซึ่งนักเรียนมีเวลาพักในภาคเรียนท่ี 1/2563 จํานวน 17
วัน และในภาคเรียนที่ 2/2563 จํานวน 37 วัน รวมทั้งส้ิน 54 วัน ฉะน้ันภาคเรียนที่ 1/2563 เรียนตั้งแต 1 ก.ค.-13
พ.ย.63 เปนเวลา 93 วัน แลวปดภาคเรียน 17 วัน สวนภาคเรียนท่ี 2/2563 เรียนตั้งแต 1 ธ.ค.63-9 เม.ย.64 เปน
เวลา 88 วัน แลวปดภาคเรียน 37 วัน ตั้งแตวันท่ี 10 เม.ย.64 ซ่ึงจะมีเวลาเรียนรวมท้ังส้ิน 181 วัน สวนเวลาท่ีขาด
หายไป 19 วนั จาก 200 วัน ใหแตล ะโรงเรียนสอนชดเชย ดังน้ัน การเปดเทอมปการศกึ ษาหนา จะกลับมาปกติในวัน
จันทรท่ี 17 พ.ค.64

การเตรียมพรอมในดานระบบการเรียนรูทางไกลและระบบออนไลน จะเริ่มทดสอบตั้งแตวันที่ 18
พฤษภาคมนี้เปนตนไป เพื่อเตรียมความพรอมใหมากท่ีสุด ในกรณีท่ีวันที่ 1 กรกฎาคมน้ี เราไมสามารถเปดเทอมท่ี
โรงเรยี นได

ศธ.จะเปนผูสนับสนุนการเรียนการสอนทางไกล ในสัดสวน 80% เพ่ือใหทุกคนสามารถเขาถึงการ
เรียนข้ันพื้นฐานได อีก 20% หรือมากกวา ใหทางโรงเรียนและคุณครูในแตละพื้นท่ีพิจารณาออกแบบตามความ
เหมาะสม

การเรียนผานการสอนทางไกล จะใชทีวิดจิ ิตอล และ DLTV เปน หลัก ซ่ึงไดรับการอนุเคราะหสือ่ จาก
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ โดยมีดิจิทัลแพลตฟอรมของกระทรวงศึกษาธิการ หรือ
DEEP และการเรียนการสอนแบบโตตอบออนไลนเปน สื่อเสรมิ

5. กจิ กรรมท่ที ําเพอ่ื แกไ ขปญหา

วันท่ี 9 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ชว่ั โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.

คณะครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ รวมกันแสดงความคิดเห็น วิพากษ เกี่ยวกับนโยบายและแนวทางการ
จัดการเรียนการสอนในสถานการณที่ไมปกติ โดยเริ่มจากนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ศึกษารปู แบบและวิธีการ
จัดกรเรียนการสอนและปรับใหเขากับแตละรายวิชาในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนว
ทางการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนอัมพวนั วิทยาลัย โดยโรงเรียนไดกําหนดแนวทางไวคือแบงนักเรียนออกเปน
สองกลุม ตามเลขที่ ใหสลับกันมาเรียนสัปดาหเวนสัปดาห ทําใหครูจําเปนตองเปลีย่ นแนวทางและวิธีการจัดการเรียน
การสอนแบบใหม จนกวา สถานการณจะกลบั มาเปนปกติ ครตู องจดั ทาํ สื่อการเรยี นรูและปรบั แผนการจัดการเรียนรใู ห
เหมาะสมครอบคลมุ เนื้อหา คณะครูมีความเหน็ ไปในทิศทางเดียวกันคอื เนื่องจากรายวิชาในกลุมสาระการเรยี นรศู ิลปะ
สว นใหญเปนวชิ าปฏิบตั ิ ดังน้ันครูผสู อนควรมีสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย เขา ใจงาย นักเรียนสามารถเขาถึงสื่อการ
เรียนรูไดงายสื่อท่ีใชควรเปนส่ือออนไลน เปนคลิปวีดีโอ การตูน ภาพเคลื่อนไหว งานกราฟก หรือ สื่อการเรียนการ
สอนทีเ่ ปน บทเรียนออนไลน ทน่ี กั เรยี นสามารถศึกษาเองจากทไี หนก็ได

วันที่ 10 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ช่วั โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.

ประชุมหารือหาแนวทางในออกแบบส่ือการเรียนการสอนรายวิชาในสาระตางๆ ของกลุมสาระการเรียนรู
ศิลปะ (ทศั นศลิ ป ดนตรี นาฏศลิ ป)

1. กําหนดปญหาท่ีจะแก คือใหครใู นกลมุ สาระการเรียนรูศิลปะจัดหาสอ่ื การจัดการเรยี นรทู ่ีเก่ียวของกับสาระ
ของตนเองท่ีมีการถายทอดท่ีดี เขาใจงาย สามารถเรียนรูไดดวยตนเอง นํามาใชในการจัดการเรียนการสอน และ
สามารถนํามาเปน ส่อื การเรยี นรใู นรปู แบบออนไลนได

2. คณะครูระดมความคิดเห็นคิดหาวิธีแกปญหา โดยใชแนวทางการจัดการการจัดการเรียนตามรูปแบบที่
สงั เคราะหข ึน้ ใหมน อ้ี าจจําแนกผูเรยี นออกเปน 3 กลุม ไดแก

2.1 กลุมนักเรยี นทม่ี ีความพรอ มสามารถเรยี นดว ยตนเองได
2.2 กลุมนักเรียนท่ีมีความพรอมบางสวนสามารถเรียนไดโดยการเรียนรวมกับผูอื่นหรือมีผูปกครอง

คอยดแู ล
2.3 กลุมนักเรียนท่ีไมมีความพรอมไมสามารถเรียนดว ยตนเองไดครูตองจัดการเรียนการสอนใหและ

คอยกํากับดูแล
จากน้ันจัดการเรียนการสอนตามความพรอม บริบทของผูเรียนและครอบครัว โดยผูสอนมีหนาที่ในการ
ดาํ เนนิ การจดั การเรียนการสอน ดังน้ี

1. จัดเตรียมแผนการสอนและอุปกรณการสอน จากที่มีอยูเดิม จัดชุดเปนชุดการเรียนรูสําหรับ
นกั เรยี นแตละคน ในแตล ะวชิ า

2. จัดหาและสืบคนส่ือออนไลน ไมวาจะเปนส่ือของสํานักพิมพตางๆ ท่ีจัดทําเผยแพร หรือส่ือของ
ระบบการจัดการเรียนการสอนทางไกล EDLTV ซ่ึงเปนส่ือการสอนทางไกลที่มีการจัดหมวดหมู
ตามเนื้อหาวิชาและมีกําหนดการสอบพรอมแบบประเมินประกอบอยูแลวสะดวกแกผูสอนที่จะ
นํามาประยกุ ตใช ไมต อ งสรางใหม

3. ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนการสอนใหสอดคลองกับรูปแบบที่จะนํามาใช กําหนดบทบาทของ
บคุ คลท่ีจะตองมีสวนรวมอยางชัดเจนและครอบคลุม ตามระดับความพรอมของผูเรียน

4. จัดเตรียมระบบส่ือสารออนไลนร ะหวา ง ผเู รียน ผูปกครอง และผสู อนใหพรอ ม โดยใชร ะบบที่มีอยู
เดิมและไมจําเปนตองจัดหาเพิ่มเติม เชน Facebook ,Line ,Google หรือเบอรโทรศัพท หากไม
สามารถสื่อสารในแบบออนไลนได ผูสอนจําเปนตองรูจักบานพักของผูเรียน เพ่ือเดินทางไป
แนะนาํ และจัดการเรยี น การสอนใหเ ปน พิเศษ

3. ศึกษารวบรวมความรู แนวคิด การแกปญหาโรงเรียนในรูปแบบตางๆ ผูสอนสามารถจัดการเรียนการสอน
ในรูปแบบผสมผสานโดยใชทรัพยากรท่ีมีอยู และระบบวัดผลประเมินผลเดิม เปลี่ยนไปตรงท่ีผูสอนตองเปนผูรับภาระ
ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ิมข้ึน ซึ่งก็สอดคลองกับเวลาที่เพิ่มมากขึ้นจากการที่นักเรียนไมตองมาโรงเรียน
ปรบั เปลี่ยนบทบาทจากผเู รียนตองมาโรงเรียน เปนผสู อนเปนตอ งนําความรูเขาหาผเู รียนแทน อาจจะเปน รูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนแบบออนไลนสาธารณะหรอื การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ “ครกู ระเปา” ก็เปนได เพ่ือกา ว
ผานวิกฤติโควิดครัง้ นีไ้ ปดว ยกัน

วันท่ี 16 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ชัว่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
คณะครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะชวยกันคิดสรางหรือพัฒนาสื่อกาเรียนการสอนในรายวิชาศิลปะ โดยมี

กระบวนการ ดังนี้

1. การจัดเตรียม วัสดุ อุปกรณ เคร่อื งมอื ที่จําเปน และเตรียมขอมูล รายละเอียดประจาํ รายวชิ าเพื่อพัฒนาส่ือ
การเรียนรูใหเหมาะสม เปน ขั้นตอนการเตรียมความพรอมสาํ หรับการสรางสอื่ ในรูปแบบตา งๆ

2.วางแผนการจัดทําสื่อการเรียนรู โดยกําหนดเน้ือหาตามแผนการจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพคลอบคลุม
เนื้อหาตามมาตรฐานการศึกษาและตรงตามตัวชี้วดั

3.นิเทศติดตาม กํากับ คอยดูแลแกไขปญหาระหวางดําเนินการจัดทําส่ือการเรียนรู พรอมท้ังนํามาเสนอในที่
ประชุมกอนทีจ่ ะนาํ ไปใชใ นการเรียนการสอนจริงๆ แกน ักเรยี น

4. ตรวจสอบ เพื่อหาขอบกพรองและปรับปรุง แกไขอุปสรรค ตัวแปรท่ีอาจมีผลกระทบตอการจัดทําส่ือการ
จัดการเรียนรู โดยคอยดูแลใหไปตามแผนการจัดการเรียนรู

5. ประเมินผล

6. ผลท่ไี ดจ ากกจิ กรรม
- คณะครใู นกลมุ สาระการเรียนรูศิลปะเขาใจปญหาการจัดการเรยี นการสอนในรายวิชาศิลปะในชว งวิกฤตการ
CoVid 19
- คณะครใู นกลุมสาระการเรียนรูศิลปะไดแนวทางในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาศลิ ปะในยคุ CoVid 19
ท่ีสง ผลกระทบตอการศกึ ษาของนักเรียนในยคุ ปจ จบุ ัน

7. การนําผลท่ีไดไ ปใช
- คณะครูในกลุม สาระการเรียนรูศิลปะไดรบั กระบวนการเรียนรใู นในเร่ืองของแนวทางในการจดั การเรียนการ

สอนในชวงวิกฤตการ CoVid 19 ในรูปแบบตางๆ โดยตองดําเนินการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและ
ดาํ เนินกรตามแนวทางของโรงเรียน

- คณะครูในกลุม สาระการเรียนรูศิลปะไดทําการจัดทําส่อื การเรยี นรูที่หลากหลายรูปแบบเพอื่ ใหเหมาะสมกับ
รายวิชาตา งๆ ในกลุมสาระฯ โดยสามารถนํามาใชส อนในช้นั เรียนและสามารถเรยี นออนไลนไ ด

- นักเรียนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนจากเดิมเรียนในช้ันเรียนเพียงอยางเดียวเปนนักเรียนสามารถ
เรียนจากท่ีไหนก็ไดในระบบออนไลนและนักเรียนตองมีการปรับตัวเนื่องจากแนวทางการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียนกําหนดใหในชว งวกิ ฤตการ CoVid 19 นกั เรยี นเรยี นสลบั กันตามเลขที่สปั ดาหเ วนสัปดาห

ลงชอ่ื ......................................................
(นายสรรเสริญ พรขุนทด)
ผูรายงาน

วนั ท่ี 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ความเห็นของหวั หนางานสาํ นกั งานวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………….……………..
(นางสาวจตพุ ร ปล้มื ประสทิ ธิ์)
หวั หนางานสํานักงานวิชาการ
วันท่ี 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ความเห็นของผูอาํ นวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ……………………………..……………………
(นายอภิเชษฐ วนั ทา)

ผูอ ํานวยการโรงเรียนอมั พวนั วทิ ยาลยั
วันท่ี 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

การแลกเปล่ยี นเรยี นรูด วยกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community)
ชือ่ กลุมกจิ กรรม แนวทางการจดั การเรยี นการสอนศลิ ปะดว ย Google Classroom
กจิ กรรมครง้ั ที่ 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2563

วนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชว่ั โมง ณ หองพกั ครู กลมุ สาระการเรยี นรศู ิลปะ
วันที่ 24 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชวั่ โมง ณ หอ งพักครู กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ
วันท่ี 30 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ชว่ั โมง ณ หอ งพักครู กลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ

รวมทงั้ สิน้ 6 ชวั่ โมง

วนั ที่ 23 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชั่วโมง เวลา 15.35 – 17.35 น. ณ หองพักครู กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ

ท่ี ชอ่ื -สกลุ ตาํ แหนง ลายมือชื่อ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชูอรุณ ประธาน
2 นายยทุ ธศักด์ิ ตุม ฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศุภรัตนธญั ญา กรรมการ
4 นายกติ ติพงศ วิไล กรรมการ
5 นางสาวพชิ ญช ุดา นาควชั ระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขนุ ทด เลขานุการ

วนั ที่ 24 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชว่ั โมง เวลา 15.35 – 17.35 น. ณ หอ งพักครู กลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะ

ท่ี ช่อื -สกุล ตาํ แหนง ลายมอื ชือ่ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชอู รณุ ประธาน
2 นายยทุ ธศกั ด์ิ ตุมฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รัตนธ ัญญา กรรมการ
4 นายกติ ตพิ งศ วิไล กรรมการ
5 นางสาวพิชญชุดา นาควชั ระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขนุ ทด เลขานุการ

วนั ท่ี 30 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชวั่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น. ณ หองพักครู กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ

ท่ี ชือ่ -สกุล ตาํ แหนง ลายมือช่ือ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชูอรุณ ประธาน
2 นายยทุ ธศกั ด์ิ ตมุ ฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รัตนธญั ญา กรรมการ
4 นายกิตติพงศ วิไล กรรมการ
5 นางสาวพิชญชุดา นาควชั ระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขนุ ทด เลขานกุ าร

1. ชื่อกจิ กรรม
แนวทางการจดั การเรยี นการสอนศิลปะดวย Google Classroom

2. ประเด็นปญ หา
วิชาศิลปะพื้นฐาน เปนวิชาที่วาดวยเรื่องของความคิดสรางสรรค จินตนาการ และการแสดงออก ท้ังงาน

ทัศนศิลป ดนตรี และนาฏศิลป เนนกระบวนการเรียนการสอนแบบปฏิบัติ ควบคูกับทฤษฎี เพ่ือการพัฒนากิจกรรม
การเรียนรู ปญหาท่ีพบคือนักเรียนเขาถึงส่ือการเรียนรใู นรายวิชาศิลปะไดยากและหากไมมีการอธิบายใหชัดเจนก็จะ
ทําใหนักเรียนไมเขาใจเนื้อหาและนําไปฝกปฏิบัติไมได แตในปจจุบันไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่เก่ียวของกับ
การศึกษาข้ึนมามากมาย ทําใหนักเรียนเขาถึงส่ือการเรียนรูไดงาย และ Platform ที่นิยมนํามาแกปญหาการจัดการ
เรียนการสอนและสามารถนํามาใชกับรายวิชาตางๆ ในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะไดเปนอยางดีก็คือ Google
Classroom

3. สาเหตขุ องปญหา
เน่ืองจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะยังไมดีเทาท่ีควรเนื่องจากปจจัยหลายๆอยาง

ดังน้ันคณะครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะตองการยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปะ(ทัศนศิลป
ดนตรี และนาฏศิลป) ใหสูงข้ึนและเพื่อพัฒนาผูเรียนใหเห็นความสําคัญของงานศิลปะ(ทัศนศิลป ดนตรี และ
นาฏศิลป) โดยการนําเอาเทคโนโลยที างการศึกษามาชวยสรางสื่อการเรียนการสอนและบทเรยี นออนไลน มาใชในการ
สอนศิลปะ เพื่อใหนักเรียนสามารถเขาถึงบทเรียนไดงาย สามารถจัดเก็บคะแนนโดยการทําแบบทดสอบและสามารถ
เขาถงึ บทเรยี นไดต ลอดเวลาไมว าจะอยทู ไี่ หนกต็ าม

4. ความรู/ หลกั การท่นี ํามาใช

Google Classroom ในชดุ ของ Google Apps for education ซึง่ เปนชุดเครื่องมือจดั การเรียนการสอนที่
Google อนญุ าตใหโ รงเรียน มหาวทิ ยาลัย หนวยงานดา นการศกึ ษา ใชง านไดโ ดยไมเ สียคาใชจ าย และสามารถจดั การ
การเรียนรูแ บบทาํ งานรวมกันไดท กุ ทท่ี ุกเวลา

Google Classroom คอื ?
Classroom คอื บรกิ ารบนเว็บฟรสี ําหรบั โรงเรยี น องคกรการกุศล และทุกคนที่มีบัญชี Google สวนบคุ คล
และ Classroom ยังชว ยใหผ ูเรียนและผูสอนเชื่อมตอถึงกนั ไดง าย ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน

Google Classroom ใชท ําอะไรไดบาง?
ผูส อนสามารถใช Google Classroom เพือ่ จดั การชนั้ เรียนได ดังตัวอยา งตอไปนี้
- เพิ่มผเู รียน หรือแจงรหัสเพ่อื ใหผ ูเรยี นเขา ช้ันเรียนได
- สรา ง ตรวจ และใหคะแนนงาน
- ตรวจสอบกําหนดการสงงาน สถานการณส งงานและคะแนน
- เนอ้ื หาท่ีอยูในชน้ั เรยี นจะถูกจัดเกบ็ อยูใน Google Drive
- สงประกาศ แชรแ หลง ขอมลู พูดคยุ หรือตอบคาํ ถามตามหัวขอ ท่ีผสู อนกําหนดให
- เพิม่ ผสู อนไดม ากกวา หนง่ึ คนในรายวชิ าเดียวกนั
- ใชผ านอุปกรณไดหลายชนดิ เชน คอมพวิ เตอร แท็บเลต็ สมารท โฟน

ขอดีของ Google Classroom
- ตง้ั คา งาย ครสู ามารถสรา งชน้ั เรียน เชิญนกั เรียน และผสู อนรว ม จากน้ันครูจะสามารถแชรขอ มูล
ตา งๆ ไดแก งาน ประกาศ และคําถามในสตรีมของช้นั เรียนได
- ประหยดั เวลาและกระดาษ ครสู ามารถสรางชั้นเรียน แจกจายงาน สื่อสาร และจัดรายการตา งๆ ให
เปนระเบยี บอยูเสมอไดใ นทีเ่ ดียว
- จดั ระเบียบไดดขี ้นึ นกั เรยี นสามารถดูงานไดในหนา สิ่งท่ีตองทํา ในสตรมี ของช้นั เรยี น หรือในปฏทิ ิน
ของชนั้ เรียน โดยเนื้อหาประกอบท้งั หมดของช้ันเรยี นจะเก็บไวในโฟลเดอร Google ไดรฟโดย
อัตโนมตั ิ
- การส่ือสารและการแสดงความคิดเห็นที่ปรับปรุงขนึ้ ครสู ามารถสรา งงาน สงประกาศ และเริ่มการ
อภิปรายในช้นั เรยี นไดทนั ที นักเรียนกส็ ามารถแบงปนแหลง ขอมูลรวมกบั เพื่อนๆ และโตต อบกนั ได
ในสตรีมของช้นั เรียนหรือผานทางอีเมล ครสู ามารถดไู ดอยา งรวดเรว็ วา ใครทาํ งานเสร็จหรอื ไมเสรจ็
บาง ตลอดจนสามารถแสดงความคดิ เหน็ และใหคะแนนโดยตรงไดแบบเรียลไทม
- ใชไ ดก ับแอปพลิเคชน่ั ทคี่ ุณใชอยู Classroom ใชไดกับ Google เอกสาร, ปฏทิ ิน, Gmail, ไดรฟ
และฟอรม
- ประหยดั และปลอดภัย Classroom ใหค ณุ ใชง านฟรี ไมม โี ฆษณา และไมใ ชเน้ือหาของคุณหรอื ขอมลู
ของนักเรยี นเพ่ือการโฆษณา

รูปที่ 1 ตวั อยา งกระบวนการทํางานของ Google Classroom
แนวทางการจัดการเรยี นการสอนดว ย Google Classroom

การนาํ Google Classroom มาใชในการจัดการเรยี นการสอน สถานศึกษาจัดเตรยี ม Google Account
ใหก บั ผเู รียนและผสู อน ซึ่งสามารถนํามาใชจัดการเรียนรูไดทุกกลมุ สาระการเรยี นรู รวมทง้ั กจิ กรรมพัฒนา
ผเู รียน ตวั อยางการจัดการวิชาตา งๆ ในช้ันเรียนดว ย Google Classroom ดงั รูปท่ี 2 และ 3

รูปท่ี 2 ตวั อยา งชั้นเรยี นใน Google Classroom ผานเว็บบราวเซอร

รปู ที่ 3 ตวั อยา งช้ันเรยี นใน Google Classroom ผานสมารทโฟน App

การเตรียมความพรอมของผสู อนโดยผูสอนจะเปนคนสรา งชน้ั เรียน ในทน่ี ผ้ี ูสอนสามารถสรา งหอ งเรยี นแตล ะ
หอ ง เชน ม.6/1, ม.6/2 เพ่อื สะดวกในการจัดการเรียน และแจง รหัสชัน้ เรียนใหผ เู รียนทราบ โดยอาจจะแจงใน
หองเรียน แจงผา นอีเมล หรือแจง ผา นเครือขายสงั คมออนไลนต า งๆ เชน Line Google+ Facebook ดงั รปู ท่ี 4

รปู ท่ี 4 ภาพตวั อยา งการเขารว มชัน้ เรียนดว ยรหสั ชน้ั เรียน

ผูสอนสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรูโดยใชบ ริการของ Google Classroom ใหสอดคลองกับกจิ กรรมการ
เรยี นการสอนในหองเรียน โดยเริ่มตนจากการทํากจิ กรรมงายๆ ท่ีไมซบั ซอ นจนเกนิ ไป เพอ่ื กระตนุ ใหผ ูเ รยี นเกิดความ
สนใจอยากรู เชน ตอบคําถามหรือแบบฝกหัด แลว จึงพฒั นาเปนลาํ ดบั ตอๆ ไป โดยประยุกตใชรวมกบั การเรยี นการ
สอนในหอ งเรียน

ผูส อนสามารถตดิ ตามและวเิ คราะหพ ฤตกิ รรมของผูเรยี นจากการสงั เกต การเขารวมเรยี นและการสงงานของ
ผเู รยี นผาน Google Classroom ได จากประสบการณในการจัดการเรียนรูของผเู ขียนพบวา ทาํ ใหผ เู รยี นมีวนิ ัย
ในการสงงาน มีความสนใจเรียนมากขน้ึ ปริมาณการสงงานเพ่ิมข้ึน ผูเรียนพอใจท่ีจะเรียนรูผานอุปกรณของตนเอง
นอกเวลาเรยี น เพราะเรยี นไดท ุกที่ทุกเวลาและกลา ทีจ่ ะแสดงความคิดเหน็ มากขน้ึ

บทสรปุ
Google Classroom เปน บรกิ ารท่ีผสู อนสามารถนํามาใชจ ดั การเรียนรู โดยผูสอนควรออกแบบการเรยี นการ

สอนใหสอดคลองกับสภาพหองเรยี นปกติ บรกิ ารของ Google Classroom ทําใหเ รียนรทู ุกทที่ ุกเวลาตามตองการ
ผเู รียนจึงพอใจที่จะเรยี นรู สามารถสรา งช้ินงาน ทาํ การบา นหรือตดิ ตามงาน ถงึ แมบริการจะอํานวยสะดวกและมขี อดี
หลายประการ การเรยี นในช้ันเรียนยงั เปนสง่ิ จาํ เปน ที่จะตองมีครคู วบคูกันไป เพราะเทคโนโลยไี มสามารถทดแทน
ครูผสู อนไดท้งั หมดโดยเฉพาะเร่ืองของคุณธรรมและจรยิ ธรรม

5. กจิ กรรมทที่ าํ เพื่อแกไขปญ หา
วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชั่วโมง เวลา 15.35 – 17.35 น.

จดั ประชุมกลุมสาระการเรียนรูและรวมกันหารือเพ่ือแนวทางในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูและรูปแบบ
วธิ ีการเรียนการสอนศิลปะทั้ง 3 สาระ ในรายวิชาศิลปะ ทุกระดับชั้นโดยใหสอดคลอง สัมพันธกับคุณภาพของผเู รียน
และโดยมีการพูดถึงการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน เพื่อเปนทางเลือกใหกับครูและนักเรียนท่ีตองจัดการ
เรียนการสอนในชวงวิกฤตการโควิด-19 เนื่องจากนักเรียนตองเรียนสลับกันสัปดาหเวนสัปดาหตามนโยบายของ

กระทรวงศึกษาธิการและตามแนวทางของโรงเรียน ทําอยางไรการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาศิลปะจะไดรับ
ผลกระทบนอยที่สุดเพราะเนื้อหารายวิชาแตละวิชาคอนขางเยอะและตองเรียนท้ังในสวนของทฤษฎีควบคูไปกับการ
ปฏบิ ตั ิงานดว ย

จากการระดมความคิดเห็นของคณะครูในครั้งน้ี ครูทุกทานมีความเห็นรวมกันวาควรนําเรื่องของการเรียน
ออนไลนมาใชในการจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าตางๆของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะไมวาจะเปนทัศนศิลป ดนตรี
หรือนาฏศิลปเพื่อใหนักเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเองและสามารถทําแบบทดสอบเพ่ือเก็บคะแนนไดโดยไม
จําเปนตองเรียนในหองเรียน และ Platform ท่ีครูพอจะทําไดและสามารถใชงานไดดีก็คือ Google Classroom โดย
ในครั้งนีค้ รูทุกคนไดรูจกั วา Google Classroom คืออะไร มีประโยชนอะไรบาง และรูจะนํา Google Classroom มา
ชว ยจัดการเรียนการสอนไดอ ยางไร

วันที่ 24 กรกฎาคม 2563 จํานวน 2 ชั่วโมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
ครปู ระชมุ หารือเก่ียวกบั รูปแบบ วิธีการจัดการเรียนรู เพอ่ื ใหเ ปนไปในทิศทางเดียวกนั และใหค รูแตละทา น

นําเสนอวธิ กี ารสอนในรายวิชาทตี่ นเองรบั ผิดชอบ และสรุปแนวทางในการจัดการสอนของกลุม สาระการเรยี นรูศลิ ปะ
ใหเ ปน ไปในรูปแบบเดียวกนั โดย คณะครูรวมกนั เรยี นรูการใชง าน Google Classroom การสรา งหองเรียน และการ
บริหารจัดการหอ งเรยี นของระบบ Google Classroom และทดลองการใชงานโดยสลบั กนั เปน ครผู สู อนและนกั เรียน
ท่เี ขาเรียนในรายวิชาตา งๆ

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563 จาํ นวน 2 ช่ัวโมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
ครูประชุมหารอื เก่ียวกับการเรียนสอนรายวิชาในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ผานสื่อออนไลนโดยใช Google

Classroom ซึง่ สามารถสรุปได ดังนี้
1. ตั้งคาไดง ายดาย
ผูสอนสามารถเพิ่มผูเรียนไดโดยตรง หรือแชรรหัสเพื่อใหผูเรียนเขาชั้นเรียนได การต้ังคาใช
เวลาเพยี งครเู ดียว
2. ประหยัดเวลา
กระบวนการของงานเรยี บงาย ไมสิ้นเปลอื งกระดาษ ทาใหผสู อนสรา ง ตรวจ และใหค ะแนน
งานไดอยา งรวดเร็วในท่เี ดี่ยวกัน
3. ชว ยจดั ระเบยี บ
ผเู รียนสามารถดูงานทง้ั หมดของตนเองไดในหนางาน และเน้ือหาสาหรับช้นั เรียนทั้งหมดจะ
ถกู จดั เก็บในโฟลเดอรภ ายใน Google ไดรฟโ ดยอัตโนมตั ิ
4. สอ่ื สารกนั ไดดีย่งิ ขึน้
Classroom ทําใหผูสอนสามารถสงประกาศและเริ่มการพูดคุยในชั้นเรียนไดทันที ผูเรียน
สามารถแชรแหลง ขอมลู กนั หรอื ตอบคําถามในสตรมี ได
5. ประหยัดและปลอดภัย
เชนเดียวกับบริการอ่ืนๆ ของ Google Apps for Education คือ Classroom จะไมแสดง
โฆษณาไมใชเนื้อหาหรือขอมูลของผูเรียนในการโฆษณา และใหบริการฟรีสําหรับ
สถานศึกษา
6. ยังมีขอจาํ กัดในการจัดการเรียนการสอนในหนว ยการเรยี นรูท่เี ปน การปฏบิ ตั ิงาน การฝกทักษะ

เชน การปฏิบัติงานทางดานทัศนศิลป การวาดเสน เทคนิคการระบายสี ทักษะการเลน
เคร่ืองดนตรีประเภทตางๆ รวมถึง ทักษะการฝกปฏิบัติทารํา การแสดงตางๆ ในงาน
นาฏศลิ ป เปนตน

6. ผลทีไ่ ดจ ากกจิ กรรม
ครไู ดม ีวธิ ีจัดการเรียนการสอนทเ่ี ปนปจจุบันและสอดคลอ ง สมั พันธก ับคุณภาพของผูเรียน มีการใชเทคโนโลยี

ในการจัดการเรียนการสอนศลิ ปะ จัดทําบทเรยี นออนไลนโ ดยใช Platform ของ Google Classroom
นักเรยี นไดเรียนรูและมีความเขาใจเกี่ยวกับศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป และมที ักษะทางดา นศิลปะ ดนตรีและ

นาฏศิลป ทดี่ ขี ้นึ โดยมีชอ งทางในการเรียนรูเ พิม่ ขึ้น และสามรถเขาเรียนไดต ลอดเวลา

7. การนาํ ผลที่ไดไ ปใช
ครูไดมีวิธีจัดการเรียนการสอนใหเขากับเหตุการณปจจุบันนาสนใจ และสอดคลอง สัมพันธกับคุณภาพของ

ผูเรยี นและมกี ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเปนไปอยางมรี ะบบและมปี ระสิทธภิ าพ
ครูไดเ รียนรูเทคโนโลยใี หมๆ สามารถนําเทคโนโลยีมาใชบ ริหารจัดการการเรยี นการสอนศลิ ปะไดอ ยางดีและมี

ประสิทธิภาพสงผลใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหารายวิชาไดดีขึ้นเพราะสามารถทบทวน ทําแบบทดสอบ ได
ตลอดเวลา ทาํ ใหม ีงานตดิ คา งในรายวชิ าศิลปะลดนอยลงซึ่งจะสง ผลตอผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทด่ี ขี ้นึ ไดในอนาคต

ลงชือ่ ......................................................
(นายสรรเสริญ พรขุนทด)
ผูรายงาน

วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ความเห็นของหัวหนา งานสาํ นักงานวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………….……………..
(นางสาวจตุพร ปลื้มประสิทธิ์)
หวั หนา งานสํานักงานวิชาการ
วนั ท่ี 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ความเหน็ ของผอู ํานวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ……………………………..……………………
(นายอภเิ ชษฐ วันทา)

ผอู ํานวยการโรงเรยี นอัมพวันวิทยาลัย
วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

การแลกเปลยี่ นเรยี นรูดว ยกระบวนการชุมชนการเรียนรทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community)
ชอื่ กลมุ กิจกรรม เทคนคิ การสอนวชิ าศลิ ปะท่สี งผลตอผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นในวชิ าศิลปะของนักเรยี น
กจิ กรรมครงั้ ที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2563
วนั ท่ี 6 สิงหาคม 2563 จาํ นวน 2 ชวั่ โมง ณ หอ งพักครู กลมุ สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ
วนั ที่ 7 สงิ หาคม 2563 จํานวน 2 ชวั่ โมง ณ หอ งพักครู กลุมสาระการเรยี นรศู ิลปะ
วันท่ี 13 สงิ หาคม 2563 จํานวน 2 ชั่วโมง ณ หอ งพกั ครู กลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะ
รวมท้งั ส้ิน 6 ชั่วโมง

วันที่ 6 สงิ หาคม 2563 จาํ นวน 2 ช่วั โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
ณ หอ ง 626 โรงเรียนอัมพวนั วิทยาลยั
ที่ ชอ่ื -สกลุ ตําแหนง ลายมือชอ่ื หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชูอรณุ ประธาน
2 นายยุทธศกั ด์ิ ตุมฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รตั นธัญญา กรรมการ
4 นายกติ ตพิ งศ วไิ ล กรรมการ
5 นางสาวพิชญช ดุ า นาควชั ระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขนุ ทด เลขานุการ

วนั ที่ 7 สงิ หาคม 2563 จํานวน 2 ช่วั โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
ณ หอ ง 626 โรงเรยี นอัมพวนั วทิ ยาลัย
ที่ ช่ือ-สกุล ตาํ แหนง ลายมือชอ่ื หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชอู รุณ ประธาน
2 นายยทุ ธศกั ดิ์ ตมุ ฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รัตนธ ญั ญา กรรมการ
4 นายกติ ติพงศ วิไล กรรมการ
5 นางสาวพิชญชุดา นาควัชระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขุนทด เลขานุการ

วันที่ 13 สงิ หาคม 2563 จํานวน 2 ช่ัวโมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
ณ หอง 626 โรงเรียนอมั พวันวิทยาลยั
ที่ ชอ่ื -สกลุ ตาํ แหนง ลายมอื ช่อื หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชอู รณุ ประธาน
2 นายยทุ ธศักดิ์ ตุมฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รัตนธัญญา กรรมการ
4 นายกติ ติพงศ วิไล กรรมการ
5 นางสาวพิชญช ดุ า นาควัชระ กรรมการ
6 นายสรรเสรญิ พรขนุ ทด เลขานุการ

1. ชอ่ื กิจกรรม
เทคนิคการสอนวชิ าศลิ ปะท่ีสง ผลตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาศิลปะของนักเรียน

2. ประเด็นปญหา
นักเรียนที่เรียนในรายวิชาทัศนศิลป ดนตรี และนาฏศิลป มีความแตกตางในการเรียนรูวิชาศิลปะยังขาดครูที่

เรียนทางดานนี้มาโดยตรงทําใหโรงเรียนตางๆ ตองแกปญหาโดยมอบหมายงานการสอนใหครูท่ีจบวิชาเอกไมตรงใน
สาระอนื่ ๆ ในกลุม สาระการเรยี นรูศิลปะ อื่นๆ สอนแทน เชน ใหค รูดนตรไี ทย สอนทัศนศลิ ป เปน ตน

ดังน้ัน ครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะควรมีเทคนิคการสอนในรายวิชาศิลปะ เพ่ือใหการเรียนการสอนวิชา
ศิลปะใหเ กิดประโยชนสูงสดุ และพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนใหม ีผลการเรยี นท่ีดีขน้ึ

3. สาเหตขุ องปญหา
นักเรียนสวนใหญในชั้นเรียนมีความสามารถในการรับรูที่แตกตางกัน ทั้งในเชิงทฤษฎีและการฝกปฏิบัติ

โดยเฉพาะในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน ทัศนศิลป ดนตรีไทย ดนตรีสากล และ นาฏศิลป
ซ่ึงทําใหค รูผสู อนตองมีวธิ ีการถายทอดความรทู ีห่ ลากหลายเพือ่ ท่ีจะใหนักเรียนที่มีความแตกตา งในการเรยี นรูไดเรยี นรู
และปฏบิ ัติงานไดโ ดยไมม ีความแตกตา งกนั มากนกั ตามศักยภาพของนักเรียน

ปญหาการเรียนการสอนวิชาศิลปะจึงมีหลายประการ ไดแก 1) ครูผูสอนไมตรงวิชาเอก และไมมี
ประสบการณดานศิลปะเฉพาะดาน 2) ครูสอนโดยเนนทฤษฎีและการบรรยาย ขาดการฝกปฏิบัติจริง 3) ไมมีส่ือหรือ
เคร่ืองมือชวยสอน 4) ไมมแี หลงเรียนรูดา นศิลปะ5)นักเรยี นเรยี นอยูเ ฉพาะในโรงเรยี น ไมม ีโอกาสเปรียบเทียบงานของ
ตนกบั นักเรียนในโรงเรยี น

4. ความรู/ หลกั การทีน่ าํ มาใช
เทคนิคการสอนวชิ าศิลปะทีส่ งผลใหน ักเรยี นในมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูง ไดแก
1. การสอนโดยใหน กั เรยี นไดป ฏิบตั จิ รงิ นอกเหนอื จากการเรียนทฤษฎี
ใหนักเรียนทํากิจกรรมตางๆ ท้ังงานทําคนเดียว ทํางานคูกับเพ่ือนและทํางานกลุม เชน

โครงงานท่ีนักเรยี นรวมกลมุ กลุมละ 3 – 5 คน ตัวอยา งกจิ กรรมงานศิลปะทงั้ 3 ดา น เชน

- ดานทัศนศิลป นักเรียนไดฝกวาดภาพระบายสีตนไม ดอกไมจากตัวอยางใน
โรงเรียน ฝกวาดภาพตามเสียงเพลง จากการฟงนิทาน จากอุปกรณประดับบาน
เชน แจกนั ดอกไม และภาพทวิ ทัศน ทรี่ ายลอมโรงเรียน

- ดานดนตรี ไดแกฝกเลนระนาดเอก ฆองวงและเครื่องดนตรี ไทยหลังอาหารเท่ียง
และหลงั เลิกเรียนทโี่ รงฝก งาน

- ดานนาฏศิลป ไดแก การตีกลองยาวประกอบการรายรํา และการรํามโนราหโดยมี
ครฝู กทเ่ี ปนศลิ ปนพ้ืนบา นผูชํานาญนาฏศิลปช นิดนี้

เทคนิคการเรียนการสอนโดยการลงมือปฏิบัติเหลาน้ีทําใหนักเรียนสนุกสนาน นักเรียนไดฝกสมาธิไปในตัว
และงานศิลปะสงเสริมความคิดสรางสรรค นักเรียนบางคนสามารถ วาดภาพตามจินตนาการที่ เปนเอกลักษณของ
ตนเอง สามารถประยุกตวิธีการเลนดนตรีใหมๆ เชน ใชขลุยเปาแทนปในการเลนหนังตะลุง “ป ” เปนเคร่ืองดนตรี
หลักช้ินหนึ่งในการเลนหนังตะลุง) เด็กบางคนสามารถออกแบบทารํากลองยาวขึ้นใหมเพื่อใหการแสดงกลองยาว
ประกอบทารํานาชมมากยิ่งข้ึน นักเรียนใหสัมภาษณวาการ ไดลงปฏิบัติดวยตนเองเชนน้ี ทําใหนักเรียนจําวิธีการและ
ความสนกุ สนานไดอ ยางดแี ละสามารถแสดงใหครดู แู ละเปน ผูฝ ก เพ่ือนในหองเรียนไดอ ีกดวย

2. การใชส ื่อและเทคโนโลยชี วยสอน
ครูแตละโรงเรียนนําสื่อมาใชประกอบการสอนหลายชนิด เชน นําภาพมาใหนักเรียนดูเปน

ตวั อยางกอนลงมือวาด เมอ่ื สอนดนตรีครูนาํ แผนภูมิตวั โนตเพลงมาฝกนักเรียนแลวเปดเทปเพลงใหนักเรยี นฟงกอนฝก
ใหรองเพลง ครเู ปดวีดิทัศนการเลน ดนตรีไทย ท้ังเลนเปนวงและการเลนเดีย่ วใหนกั เรียนดูหลายๆครั้ง แลวใหนักเรียน
ฝกทําตามหรือใหน ักเรียนทมี่ ีความสามารถพิเศษดานนี้ ชวยฝกเพ่ือนๆ ครูหลายโรงเรียนแนะนําการใชอินเทอรเน็ตใน
การคนควางานศิลปะ เชน ดูชิ้นงานศิลปะและการแสดงนาฏศิลป ผานทางเว็บไซตท่ีรวบรวมคลิปวีดิทัศนไวมากมาย
นกั เรียนจะไดรบั ชมผลงานทางดานทัศนศลิ ปดนตรีและนาฏศิลป ที่นาสนใจผานทางเวบ็ ไซตตางๆ น้ี สงผลใหนักเรียน
เกิดแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานของตัวเอง เปนเทคนิคการเรียนการสอนท่ีเปนแรงบันดาลใจใหนักเรียน
กระตอื รอื รน ทจี่ ะสรา งชิน้ งานศลิ ปะของตนเอง

3. การสาธิตโดยครู วิทยากรหรอื ผเู ชี่ยวชาญ
ดานภูมิปญญาทองถิ่น เชน ครูสาธิตการวาดภาพ แสดงข้ันตอนการวาด การใชสีและ

อุปกรณต กแตงภาพใหนกั เรียนดแู ลวปฏิบัติตาม โรงเรียนเชญิ ศิษยเกา ท่ีมีความสามารถดานศิลปะ เชิญผเู ช่ียวชาญภูมิ
ปญญาในทองถ่ินมาสาธิตการเดี่ยวฆองวงและระนาดเอกใหนักเรียนฝกตาม เชิญอาจารยจากวิทยาลัยนาฏศิลป มา
สาธิตและใหคําแนะนําการรําไทย จากการวิจัยพบวาเทคนิคการเรียนการสอนแบบนี้ทําใหเห็นตนแบบงานศิลปะจาก
มืออาชีพ สรางความประทับใจ ทาทาความสามารถใหผเู รยี นมงุ มันทจี่ ะทํางานใหมคี ุณภาพและประสบผลสาํ เรจ็

4. ศกึ ษาจากสถานประกอบการและแหลงเรยี นรู
เชน โรงเรียนจัดกิจกรรมพานักเรียนไปศึกษาดูงานท่ีโรงงานผลิตเซรามิก นักเรียนไดฟง

วิทยากรบรรยายสาธิตข้ันตอนการเตรียมดินเหนียวและสวนผสม การปนใหไดอุปกรณเครื่องใชตามรูปทรงท่ีตองการ
การเห็นตัวอยางชิ้นงานและผลิตภัณฑ การคดิ คา แรงงานกําไรและรายไดของการประกอบการเปนประสบการณใหมท่ี
นักเรียนสนใจมาก หรือการนํานักเรียนไปศึกษาดูงานการจัดกิจกรรมดานศิลปะของโรงเรียนที่มีผลงานและประสบ
ความสาํ เร็จในการวาดภาพ ไปดูการฝกกลองยาว มโนราหแ ละหนงั ตะลงุ ทบ่ี า นศลิ ปน เปนตน

เทคนิคการเรียนการสอนศิลปะลักษณะนี้นักเรียนไดเรียนรูจากสถานการณจริงครบ
กระบวนการนักเรียนไดรับประสบการณตรงจากสถานที่ผลิตและจากมืออาชีพ ซ่ึงสามารถสรางพลังใจสูการสรางงาน
สรา งรายไดแ ละการประกอบอาชพี ของนักเรยี นเองในอนาคตได

5. การใหนกั เรยี นเขา รวมงานแขงขันทักษะดา นศลิ ปะ
ไดแก โรงเรียนสงนักเรียนเขาแขงขันทักษะศิลปะในงานมหกรรมศิลปหัตถกรรมตั้งแต

ระดับศูนยเครือขายโรงเรียน เขตพื้นท่ีการศึกษา ระดับภาคและบางโรงเรียนเปนตัวแทนแขงขันระดับชาติ มีการ
แขงขันวาดภาพประกวดภายในโรงเรียนและที่องคกรภายนอกตางๆ จัดขึ้น เชน งานประกวดวาดภาพเยาวชนชิงถวย
พระราชทาน สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี “ฮอรส อะวอรด ” และงานประกวดศลิ ปกรรม
"นาํ ส่ิงท่ีดสี ูชีวติ " รายการแขง ขันดังกลาวนักเรียนไดเ ห็นชิ้นงานทางศิลปะจาํ นวนมาก ครูเลาวา มีนักเรียนจํานวนมากท่ี
ตองการเรียนและรวมกิจกรรมเพื่อชื่อเสียงและรางวัล เปนเทคนิคสําคัญวิธีหนึ่งท่ีจูงใจใหนักเรียนสนใจงานศิลปะและ
เม่ือมีการสอบเขาก็สามารถทําคะแนนไดดีเพราะไดปฏิบัติ ไดเห็นสถานการณจริงและเห็นผลดีของการทํางานอยาง
จริงจัง การปฏิบัติเชนน้ีเปนการเรียนรูแบบผูเรียนเปนศูนยกลาง นักเรียนมีสวนรวมและมีแรงบันดาลในการสราง
ผลงาน

ความพรอ มดานบรหิ าร ดานการสอน ดา นการนเิ ทศ ดานบรรยากาศและสิง่ แวดลอม
จากการวิจัยพบวาปจจัยความพรอมอื่นที่สงผลใหการเรียนการสอนวิชาศิลปะมีสัมฤทธิ์ผลสูง สามารถจําแนกได 4
ประเด็นหลกั ๆคือ

1. ผบู รหิ ารใหความสาํ คัญในการจัดการเรยี นการสอนและมแี ผนการปฏิบตั ิงานทีช่ ัดเจน เชน ใหการสนับสนุน
ครูผูสอนในการพัฒนาตนเอง เพ่ิมพูนทักษะและความรูความสามารถในการสอน ใหโอกาสครูไปรวมการสัมมนา
ทางดานศิลปะและจัดสรรงบประมาณในการศึกษานอกสถานที่ เชิญวิทยากรมาอบรมและแลกเปล่ียนความคิดเห็น
และการบรู ณาการความรดู านศิลปะ การจดั สรรและซ้ือหาอปุ กรณในการเรยี นการสอนเชนหนังสือ โปรแกรมการสอน
ศิลปะ เพลงและวีดิทศั นม าอํานวยความสะดวกในการสอนแกครู

2. ครูผูสอนมีความรับผิดชอบสูง ทุมเทและเสียสละ เอาใจใสการสอนและการทํางานของนักเรียน เชน เพ่ิม
เวลาสอนหลังอาหารเที่ยง หลังเลิกเรียนและสอนพิเศษในวันหยุดราชการ ครูมีความรับผิดชอบในรายวิชาที่สอน
สนับสนนุ การจดั หาส่ือและเทคโนโลยีเพือ่ ชวยในการเรียนการสอนวชิ าศิลปะใหน าสนใจ

3. นักเรียนใหความรวมมือในการจัดหองศิลปะ ทุมเทการฝกซอมกิจกรรมท่ีโรงเรียนจัด เคารพเชื่อฟงและ
ปฏิบัติตามครู หรือวิทยากรที่มาฝกสอนอยางเต็มท่ี ครูใจดีสอนซ้ําแลวซํ้าอีกทําใหการวาดภาพและเลนดนตรีไทย
กลายเปนเรือ่ งไมย ากดังทเ่ี คยกลวั เขามีความสขุ ทไี่ ดเรยี นและพฒั นาทักษะดา นดนตรี นาฏศลิ ป การวาดภาพและการ
ปน สิ่งเหลาน้ีลวนทําใหนักเรียนมีเปาหมายท่ีจะสรางสรรคงานศิลปะที่เปนเอกลักษณของตนเอง อยากมีอาชีพและ
รายได

4. ชุมชนมีสว นรวมใหก ารสนบั สนนุ อยางเตม็ ท่ี จากการวิจยั พบวาชมุ ชนหรือวิทยากรทอ งถิน่ ซึง่ มีความรกั งาน
ศิลปะและผูกพันกับโรงเรียนไดเขามามีสวนรวมพัฒนาโรงเรียน และใหการสนับสนุนการเรียนการสอนวิชาศิลปะ มี
การฝกใหนักเรียนปฏิบัติจริง สงเสริมใหนักเรียนมองเห็นคุณคาและรวมอนุรักษงานศิลปะทองถ่ินท่ีสืบทอดกันมา
ยาวนาน

5. กิจกรรมทที่ าํ เพ่ือแกไขปญหา
วนั ที่ 6 สิงหาคม 2563 จาํ นวน 2 ชวั่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.

คณะครูอภปิ รายเรื่องผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของรายวิชาตางๆในกลุมสาระการเรยี นรูศิลปะและชวยกันระบุ
ปญหาหาสาเหตุท่ีทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไมดีเทาท่ีควร พบวาเกิดจากหลายปจจัย อาทิเชน นักเรียนมีความรู
พ้ืนฐานทางดานศิลปะ ทัศนศิลป ดนตรีไทย ดนตรีสากล นาฏศิลป ไมดีเทาท่ีควร ครูไมมีสื่อการเรียนการสอนท่ีดี
พอท่ีจะทําใหนักเรียนเขาใจและสามารถปฏิบัติงานตามท่ีไดรับมอบหมายได ครูยังเปนศูนยกลางของการถายทอด

ความรู นกั เรยี นไมปฏิบตั งิ านตามทไี่ ดรับหมายไมสงงานไมสง การบาน นักเรยี นไมมอี ุปกรณการเรยี น นักเรียนเขินอาย
ไมกลาแสดงออก เปนตน

ในการแสดงความคิดเห็นในคร้ังนี้คณะครูมีความคิดเห็นวาเทคนิคท่ีจะนํามาใชแกไขปญหาน้ีคือการนํา
เทคนิคการสอนแบบสาธิตมาใช ซึ่งการสอนแบบสาธิตน้ีเปนวิธีสอนท่ีครูแสดงใหนักเรียนดูและใหความรูแกนักเรียน
โดยใชส่ือการเรียนรูที่เปนรูปธรรม และผูเรียนไดประสบการณตรง การสอนแบบสาธิตแบงออกเปนประเภทตางๆ
ไดแ ก ผสู อนเปนผูส าธติ ผสู อนและผูเรียนรว มกันสาธิต ผูเ รียนสาธติ เปน กลมุ ผูเรียนสาธติ เปนรายบุคคล วทิ ยากร
เปนผูสาธติ และการสาธิตแบบเงยี บโดยใหนักเรียนสังเกตเอง

ข้ันตอนของการสอนแบบสาธิต
1.ขนั้ เตรยี มการสอน
2. ขั้นสาธติ
3. ข้นั สรปุ
4. ขน้ั วัดและประเมนิ ผล

ขอดีของการสอนแบบสาธิต
1. นักเรียนไดประสบการณตรง
2. สรา งความสนใจ และความกระตือรือรน
3. ฝก การสงั เกต การสรุปผล การบันทกึ และการจัดขน้ั ตอน

ขอจาํ กัดของการสอนแบบสาธติ
1. การสาธติ บางครง้ั ไมสามารถใชก บั ผูเรยี นกลุมใหญ
2. ผสู อนตองแนะนาํ ขั้นตอน อปุ กรณ ที่ใชใ นการสาธติ อยา งชัดเจน
3. ผูสอนตอ งทดลองการสาธติ กอนสอนใหแมนยาํ เพ่ือลดขอผิดพลาดทอ่ี าจเกิดขนึ้

เทคนิคการสอนสาระศิลปะ ดวยการสอนแบบแสดงใหดูเปนตัวอยาง เชน ครูผูสอนทําหนาที่สาธิตขั้นตอน
การวาดภาพใหด ู วิทยากรสาธิตการเลนดนตรีไทย ผูสอนซ่ึงมีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานแสดงฝม ือการวาด เลนดนตรี
และการปนดิน ใหน ักเรยี นชมและลองฝก จะทําใหนกั เรยี นเรยี นรูไดอ ยา งถกู ตองและแมนยํา เขาใจงาย เพราะวิธีสอน
แบบสาธติ (demonstration) ครูเปนผูแสดงวิธีการทํากิจกรรม โดยจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ และแสดงวธิ ีทําตามลําดับ
ขั้น และเน่ืองจากการสอนศิลปศึกษาในปจจุบันมุงเนนใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค แสดงออกบนพื้นฐานบุคลิก
สวนตวั ใหผูเ รียนรจู กั คดิ เปน ทําเปนและแกปญหาเปนแตไมส นับสนุนการลอกเลียนแบบ ดังนั้นการสอนแบบสาธิตใน
วิชาศิลปศึกษา จึงควรมีหลายๆวิธี เพ่ือใหผูเรียนมีทางเลือกหลายทาง และอาจบูรณาการวิธีการหลายๆ แบบเขา
ดว ยกนั กไ็ ด

วนั ท่ี 7 สงิ หาคม 2563 จํานวน 2 ชวั่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
คณะครูในกลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะรวมกนั อภปิ รายเรื่องเทคนคิ การสอนทีเ่ นนใหนักเรยี นปฏบิ ตั จิ ริง
ไดแก การฝกวาดภาพระบายสี ฝกเลนดนตรีไทยฝกตีกลองยาว ฝกทารํา เทคนิคการเรียนการสอน

เหลานี้ทําใหนักเรียนสนุก สงเสริมความคิดสรางสรรคทําใหนักเรียนสามารถออกแบบงานศิลปะที่เปนเอกลักษณของ
ตนเองไดน ักเรยี นเรยี นรูการทํางานศิลปะเพราะไดล งมือปฏิบัติจริง สอดคลอ งกับแนวคิดทก่ี ลา วไวว า สง่ิ สําคัญของผูท่ี
เกี่ยวของกับเด็ก ครู และพอ แม คือ “การสอนเด็กใหเปนผูปฏิบัติดวยตนเองเพื่อใหเกิดประสบการณตรง การสอนที่
ถูกตองจะทําใหเด็กเรียนรูไดเร็วโดยการสนองความตองการของเด็กอยางเหมาะสมและไมบังคับ เพ่ือใหเด็กรูสึกเปน
อสิ ระ มีความม่ันใจในตนเองในการกลาคิดกลาทาํ ” ความคิดน้ีตรงกับขอสรปุ ทวี่ าวิธีสอนแบบปฏิบตั ิเปนวิธที ี่ครูศิลปะ
ใหเด็กลงมือปฏิบัติจริงเพ่ือใหไดประสบการณตรงในการวัสดุอุปกรณและความคิดสรางสรรคเม่ือพบปญหาก็หาวิธีแก

ดวยตัวเองหรือรวมกันคิดกับสมาชิกในกลุม “วิธีการสอนแบบนี้ เปนวิธีการที่เกิดผลดีตอการเรียนการสอนและถือวา
เปนหัวใจของการสอนศิลปศึกษา” เทคนิค การสอน โดยใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง โดยมีครูคอยอํานวยความ
สะดวก สงเสริมใหโอกาสและกาลังใจ นักเรียนไดรับความสนุกสนาน ไดลองผิดลองถูกและเรียนรูจากการทํางาน
(Learning by doing) สามารถประยุกตท ฤษฎสี กู ารปฏบิ ัตไิ ด

วนั ท่ี 13 มิถนุ ายน 2561 จํานวน 2 ชว่ั โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
คณะครใู นกลมุ สาระการเรียนรศู ลิ ปะรวมกนั อภิปรายเรื่องการใชส ่อื และเทคโนโลยีชว ยสอน
นักเรียนควรไดเรียนรูศิลปะจากส่ืออยางหลากหลาย ไดแก ภาพ แผนภูมิ เทป วีดีทัศนและ

อนิ เทอรเน็ต เพื่อเพ่ิมความสนใจแกนักเรียน ซ่ึงสอดคลอ งกับเปาหมายของกรมวิชาการที่วา ในการจดั การเรียนรูกลุม
ศิลปะ ผูสอนสามารถใชและพัฒนาส่ือการเรียนรูตางทั้งส่ืออุปกรณ สื่อส่ิงพิมพ ส่ืออิเล็กทรอนิกส สื่อธรรมชาติ
ส่ิงแวดลอม สื่อเทคโนโลยี ฯลฯ ที่มีอยูในทองถ่ินมาใชในการจัดการเรียนรูเพ่ือกระตุนใหผูเรียนรักการเรียนรูและมี
ทักษะกระบวนการในการแสวงหาความรูจนเกิดการเรียนรูศิลปะไดอยางกวางขวางลึกซ้ึงสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู
และสรางองคความรูดวยตนเองไดเต็มตามศักยภาพอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต การจัดการเรียนการสอนศิลปศึกษา
จะตอ งหาวิธกี ารทจี่ ะนําประโยชนใ นทางสรางสรรคของเทคโนโลยเี ขา มาใชในการเรยี นการสอน เนอื่ งจากคอมพิวเตอร
และเทคโนโลยสี ารสนเทศ เขา มามีบทบาทในการศึกษาทุกระดับชน้ั และเทคโนโลยีทันสมัยสงผลใหนักเรียนเกิดความ
สนใจวิชาศิลปะท่ีไดผลเปนรูปธรรมวิธีหน่ึง และส่ิงตางๆ เหลานี้จะสามารถพัฒนาใหนักเรียนเรียนรู ปฏิบัติงาน
ทางดา นศิลปะไดดีสง ผลใหนกั เรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทีด่ ีขึน้

6. ผลทไ่ี ดจากกิจกรรม
ครูไดเรียนรูเทคนิคการสอนศิลปะ 5 ประการและสามารถนํามาใชในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา

ศิลปะ ไดแก 1) การสอนท่ีเนนใหนักเรียนปฏิบัติจริง 2) การใชสื่อและเทคโนโลยีชวยสอน 3) การสาธิตโดยครู
วิทยากรหรือผูเชี่ยวชาญภูมิปญญาทองถิ่น 4) การศึกษาจากสถานประกอบการและแหลงเรียนรู และ 5) การให
นักเรียนเขารวมงานแขงขันทักษะดานศิลปะ ซึ่งวิธีการเหลาน้ีเปนเทคนิคการสอนวิชาศิลปะท่ีสงผลตอผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในวชิ าศลิ ปะของนกั เรยี นใหดีขนึ้ ได

7. การนาํ ผลท่ไี ดไปใช
ครูศิลปะควรเลือกใชเ ทคนคิ วิธีสอนหลายๆวิธที ่ีเหมาะสมและสอดคลองกบั บริบทของตนเพราะยังไมมีเทคนิค

วิธีสอนแบบใดดีท่ีสุดแตขึ้นอยูกับการเลือกใชวิธีสอนที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู ที่ทันสมัย และตรงตาม
ความตองการของนักเรียน สวนความพรอมดานบริหาร ดานการสอน ดานการนิเทศ ดานบรรยากาศและส่ิงแวดลอม
น้ันเปนบทบาทสําคัญของผูบริหาร บคุ ลกรทุกคน คณะกรรมการทุกคณะของโรงเรยี น และการมีสวนรวมทกุ ภาคสวน
ของชุมชน ลวนมีสวนสงเสริมใหการพัฒนาคุณภาพผูเรียนประสบความสําเรจ็ ไดในท่ีสุดและสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในรายวิชาศิลปะใหด ขี ้นึ ได

ลงช่อื ......................................................
(นายสรรเสริญ พรขุนทด)
ผูรายงาน

วันท่ี 13 สงิ หาคม พ.ศ. 2563

ความเหน็ ของหัวหนา งานสาํ นกั งานวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ………………………………….……………..
(นางสาวจตพุ ร ปลม้ื ประสทิ ธิ์)
หัวหนา งานสํานกั งานวชิ าการ
วนั ท่ี 14 สงิ หาคม พ.ศ. 2563

ความเหน็ ของผอู ํานวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ……………………………..……………………
(นายอภิเชษฐ วนั ทา)

ผูอํานวยการโรงเรียนอัมพวนั วทิ ยาลัย
วันท่ี 14 สิงหาคม พ.ศ. 2563

การแลกเปลีย่ นเรียนรดู วยกระบวนการชุมชนการเรียนรูท างวชิ าชีพ (Professional Learning Community)
ชอื่ กลุม กจิ กรรม การพัฒนาศักยภาพการจดั การเรยี นการสอนวชิ าทัศนศลิ ป สาํ หรับครผู ูสอน
ทีไ่ มไดจ บทางดา นศิลปะ ดวยกระบวนการสอนแนะ (Coaching)
กจิ กรรมคร้ังท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2563
วันที่ 3 กันยายน 2563 จาํ นวน 2 ช่ัวโมง ณ หองพกั ครู กลมุ สาระการเรียนรูศลิ ปะ
วันที่ 4 กันยายน 2563 จาํ นวน 2 ช่วั โมง ณ หองพกั ครู กลุม สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ
วนั ท่ี 10 กันยายน 2563 จํานวน 2 ช่วั โมง ณ หอ งพกั ครู กลมุ สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ
รวมท้ังส้นิ 6 ชว่ั โมง

วันท่ี 3 กนั ยายน 2563 จํานวน 2 ชัว่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
ณ หอง 626 โรงเรียนอมั พวนั วทิ ยาลัย
ที่ ช่ือ-สกุล ตําแหนง ลายมือชื่อ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชูอรณุ ประธาน
2 นายยุทธศักด์ิ ตุมฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รัตนธ ัญญา กรรมการ
4 นายกิตตพิ งศ วิไล กรรมการ
5 นางสาวพิชญช ดุ า นาควัชระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขุนทด เลขานกุ าร

วนั ที่ 4 กนั ยายน 2563 จาํ นวน 2 ชัว่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
ณ หอง 626 โรงเรยี นอมั พวนั วทิ ยาลยั
ที่ ชือ่ -สกลุ ตาํ แหนง ลายมือชื่อ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชูอรุณ ประธาน
2 นายยทุ ธศักดิ์ ตุมฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รตั นธ ัญญา กรรมการ
4 นายกติ ตพิ งศ วิไล กรรมการ
5 นางสาวพชิ ญชุดา นาควชั ระ กรรมการ
6 นายสรรเสรญิ พรขนุ ทด เลขานกุ าร

วันท่ี 10 กนั ยายน 2563 จาํ นวน 2 ช่วั โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
ณ หอ ง 626 โรงเรยี นอมั พวันวิทยาลัย
ท่ี ชอื่ -สกลุ ตําแหนง ลายมือชื่อ หมายเหตุ
1 นายอาคเนย ชอู รณุ ประธาน
2 นายยุทธศกั ด์ิ ตมุ ฉาย รองประธาน
3 นายฐปนนท ศภุ รตั นธัญญา กรรมการ
4 นายกิตตพิ งศ วไิ ล กรรมการ
5 นางสาวพชิ ญช ดุ า นาควัชระ กรรมการ
6 นายสรรเสริญ พรขนุ ทด เลขานุการ

1. ช่ือกจิ กรรม
การพฒั นาศกั ยภาพการจดั การเรยี นการสอนวิชาทศั นศลิ ป สําหรบั ครผู ูสอนทไ่ี มไ ดจบทางดา นศลิ ปะ

ดวยกระบวนการสอนแนะ (Coaching)

2. ประเด็นปญ หา
การเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ จะชวยพัฒนาใหผูเรียน มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค มี

จินตนาการทางดานศิลปะ ช่ืนชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณคา ซ่ึงมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย กิจกรรม
ทางดานศิลปะชวยพัฒนาผูเรียนท้ังดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคม ตลอดจนการนําไปสูการพัฒนา
สิ่งแวดลอม สงเสริมใหผูเรียนมีความเช่ือม่ันในตนเองอันเปนพื้นฐานในการศึกษาตอหรือประกอบอาชีพได ซึ่งจาก
เปาหมายในการจัดการเรียนการสอนของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ จะพบไดวา คุณลักษณะดังกลาวจะชวยทําให
ผเู รยี นมีความเปน มนุษยท่ีสมบูรณย่ิงข้นึ เปน จดุ เนนหลักสตู รท่ผี ูเรียนควร ที่จะไดร ับการพัฒนาสง เสริมเปน อยางยิ่ง

สภาพปจจุบัน ปญหาและความตองการในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาทัศนศิลป ระดับมัธยมศึกษา
พบวา โรงเรียนมัธยมศึกษาสวนใหญมีครูท่ีปฏิบัติหนาท่ีในการสอนรายวิชาทัศนศิลป แตไมไดจบการศึกษาทางดาน
การสอนศิลปะ ซึ่งในโรงเรียนอัมพวันวิทยาลัย มีครูท่ีจบทางดานศิลปศึกษาเพียงคนเดียว ซ่ึงตองใหบุคลากรในกลุม
สาระการเรียนรูศิลปะทานอื่นที่มาสอนในเร่ืองของทัศนศิลปแทน ทั้งน้ี เปนไปตามรายงานการวิจัยการสังเคราะห
สภาวการณและปจจัยท่ีสงผลตอคุณภาพการศึกษาไทย (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2550) ท่ีกลาววาครู
หลายคนไมไดจบวิชาเอกหรือโทตามภารกิจงานสอนของตน ทําใหขาดทักษะที่จําเปนในการพัฒนาหลักสูตรและการ
จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน

3. สาเหตขุ องปญ หา
ในกระบวนการจัดการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูศิลปะน้ัน แบงการเรียนรูไดออกเปน 3 สาระ การ

เรียนรู ไดแก ทัศนศิลป ดนตรี(ดนตรีไทยและดนตรีสากล) และนาฏศิลป ซึ่งเปนวิชาเฉพาะดาน ครูที่ทําการสอนใน
รายวิชาเหลานี้ควรเปนครูท่ีจบการศึกษาเฉพาะในแตละดานโดยตรง โดยเฉพาะวิชาทางดานทัศนศิลป ซึ่งถือวาเปน
วิชาหลักในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ และในการเรียนวิชาศิลปะในแตละระดับช้ันจะตองเรียนครบทั้ง 3 สาระการ
เรียนรูของศิลปะ ดังนั้นครูผูสอนในแตละระดับชั้นจะตองมีความรูครบทั้ง 3 สาระ เพ่ือท่ีนักเรียนจะไดรับความรูและ

สามารถปฏิบัติงานไดอยาถูกตองโดยเฉพาะดานทัศนศิลป ดวยเหน้ีจึงเปนที่มาของการจัดกิจกรรม PLC ในคร้ังนี้
เพราะโรงเรียนมีครูที่จบทางดานศิลปศึกษา(ทัศนศิลป) เพียงคนเดียวจึงตองถายทอดความรูใหกับครูในกลุมสาระ
เพอื่ ทจี่ ะไดทําการจัดการเรียนการสอนทศั นศิลปไดถูกตองตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ทางดา นทัศนศิลป

4. ความร/ู หลักการที่นํามาใช
1. เทคนคิ การสอนแบบการชแี้ นะและการเปน พ่ีเลย้ี ง (Coaching and Mentoring)
การชี้แนะและการเปนพี่เล้ียง คือวิธีการพัฒนาครูใหมีความรู ทักษะ และความสามารถรวมท้ังเจตคติที่ดีตอ

การปฏิบัติงาน โดยการมอบหมายใหครูท่ีมีความรูและประสบการณสูง ทําหนาท่ีสอนงาน ชวยเหลือ ใหคําปรึกษา
แนะนํา เสนอแนวทางการแกไ ขปญหาและการพัฒนางานโดยเฉพาะงานสอนใหแ กครทู ่มี คี วามรูแ ละประสบการณน อย
กวา เพอื่ ใหเกิดการเรียนรแู ละพัฒนาศกั ยภาพของตนเองอยางตอเนื่อง

การช้ีแนะและการเปนพี่เลีย้ งมคี วามหมายท่คี ลายคลงึ กัน โดยในบริบทของการจัดการศึกษาของไทย บทบาท
ของผชู แี้ นะ (Coacher) และพ่ีเลี้ยง (Mentor) ไมไดแ ยกกนั อยา งชดั เจน

การช้ีแนะ เปนการชี้แนะทางการศึกษาที่ดําเนินการโดยครูผูทําหนาที่ช้ีแนะจะใหความชวยเหลือแกครูผูรับ
การชี้แนะใหสามารถจัดระบบความคิด ทบทวนการทํางาน และหาแนวทางการพัฒนางานและแกปญหาการทํางาน
ของตนเองดวยตนเอง มีการช้ีแนะท้ังรายบุคคลหรือกลุมยอย การช้ีแนะจะมุงสู “การบรรลุจุดหมาย” จึงเร่ิมตน ท่ีงาน
ที่ตองการพฒั นา เพอื่ มุงเนน การพฒั นาความรูความสามารถและทักษะเฉพาะดา น ซึง่ ใชร ะยะเวลาสน้ั

สําหรับการเปนพี่เล้ียง คือการดําเนินการโดยครูที่มีประสบการณในบทบาทของผูใหคําแนะนํา และเปนท่ี
ปรึกษาผูมากดวยประสบการณ โดยจะเปนผูชี้แนะและชวยเหลือครูท่ีมีประสบการณนอยกวา โดยใชการสอน ชี้แนะ
และใหคําปรึกษา การเปนพี่เล้ียงเนน “การเติบโตจากภายใน” ของครู จึงมุงพัฒนาความกาวหนาในวิชาชีพผาน
วิธีการที่ไมมีรูปแบบเปนทางการที่สอดคลองกับบริบทการปฏิบัติงานประจํา มุงเนนพัฒนาการเรียนรู วิธีการคิด การ
แกป ญหา และการตดั สินใจ ซึง่ ตองใชร ะยะเวลาทย่ี าวนาน

แนวทางการประยุกตใชการชี้แนะและการเปนพ่ีเลี้ยงเพ่ือพัฒนาการสอนของครู เปนความผสมผสานเพื่อ
เสริมจุดเดนและเติมสวนท่ีบกพรองในการสอนของครู ดังน้ี เริ่มตนจากการรวมกลุมครู โดยจะรวมกลุมสองคนแบบ
หนึ่งตอหนึ่งหรือกลุมเล็ก ระดับชั้นเดียวกันหรือขามระดับ กลุมสาระเดียวกันหรือขามกลุมสาระการเรียนรู ตามแต
ความสมัครใจและความสัมพันธอันดีของกลุมครูน้ัน แลวทําการตั้งเปาหมาย โดยครูจะรวมกันตั้งเปาหมายหลักเพื่อ
พฒั นาการสอนรายบคุ คล ผานการเลาแลกเปล่ยี นและสะทอ นถึงประสบการณแ ละเทคนิควธิ ีการสอนทด่ี แี ละทีป่ ระสบ
ความสาํ เร็จ เพอื่ วางกลยุทธการสอนรายบุคคลตอ ไป และทําการพัฒนาการสอน โดยดําเนินการสอนตามท่ีวางแผนไว
แลว ใหเ พ่ือนครรู ว มกนั วิเคราะหแ ละใหขอมูลยอนกลับเพ่ือชว ยในการปรบั ปรงุ การสอนตอไป

การช้ีแนะและการเปนพี่เลี้ยงมีจุดเดนคือ การดําเนินการช้ีแนะและการเปนพี่เล้ียงผานดวยการใหคําแนะนํา
การสังเกตการสอนและการใหขอมูลยอนกลับอยางเปนกัลยาณมิตรในลักษณะของการสอนไปพรอมกับการทํางาน
เสริมดวยการใหกําลังใจ การจูงใจ การเสริมพลังอํานาจ ซึ่งเปนกระบวนท่ีท่ีชวยกันคนหาพลังในตัวครูเพื่อการพัฒนา
วิชาชีพอยา งมีความสขุ ตอไป

2. วธิ กี ารเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ
วิธีการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรูศิลปะท่ีมีเน้ือหาสวนใหญเปนพุทธิพิสัย และทักษะพิสัย ใชวิธีการ
เรียนการสอนไดแ ก
1) การเรยี นจากการปฏิบัตจิ ริง เปน วิธกี ารสอนทคี่ รูเปดโอกาสใหนักเรียน ลงมือปฏิบัติ เพือ่ ใหนกั เรียนไดล ง
มือฝกปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ดวยตนเอง สงเสริมใหใช ประสบการณตรงในการแกปญหา จนเกิดความชํานาญ และ
สง เสริมการศึกษาคน ควาแทนการจดจากตาํ รา (กาญจนา วัฒายุ 2544: 149)

2) การเรียนท่ีเนนการใหขอมูลปอนกลับ เปนการเรียนการสอนในลักษณะที่เนนการใหขอมูลปอนกลับ
ทนั ทีเนื่องจากการปฏบิ ัติงานศิลปะจะเนนความละเอียด งดงาม ประณีต และเนนการพัฒนาความมีเอกลักษณเฉพาะ
ตน การใหขอมูลทปี่ อนกลับอยา งรวดเร็ว ทําใหนกั เรยี นปฏิบัตงิ านไดถูกตอง และเกิดการพัฒนาผลงานที่ดีข้ึน (จันตรี
คุปตะวาทนิ 2550: 146)

3) การเรียนแบบบูรณาการ มีลักษณะการบูรณาการดานความรู เจตคติ และทักษะทางศิลปะอยางผสาน
กลมกลืนในทุกหนวยการเรียนรู บูรณาการบางเนื้อหาในกลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะใหอยูในหนวยการเรยี นรูเ ดียวกัน
ใหสอดคลองและนําไปใชในชวี ติ ประจาํ วันของคนในยุคปจจุบันได (จันตรี คุปตะวาทิน 2550: 146)

4 ) การเรียนจากสภาพจริง โดยนําส่ิงแวดลอมท่ีมีอยูรอบตัว มาใชในการจัดการเรียนรู ใหนักเรียนไดเรียนรู
และปฏิบัตงิ านในสภาพท่ีแทจ ริง หรือการเรียนรจู ากตวั แบบตัวอยา ง ท่ใี ชวิธีสอนโดยการสาธิต ซง่ึ เปนวธิ กี ารทค่ี รใู ชใน
การชวยใหน ักเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค นักเรยี นไดเหน็ การปฏบิ ัตจิ ริงดวยตาตนเอง ทาํ ใหเ กิดความรูความ
เขา ใจในเร่ืองหรือการปฏิบัติท่ชี ดั เจนขน้ึ (ทิศนา แขมณี 2547: 330)

5) การเรียนจากสื่อและแหลงเรียนรูตางๆ เปนการเรียนการสอนท่ีนําส่ือการเรียนตางๆ มาประกอบการ
จดั การเรยี นรู เชน ซีดี วีดิทัศน คอมพิวเตอร (จันตรี คุปตะวาทนิ 2550 : 146)

5. กิจกรรมทีท่ าํ เพือ่ แกไ ขปญหา

วันท่ี 3 กนั ยายน 2563 จํานวน 2 ช่ัวโมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
การพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป สําหรับครูผูสอนท่ีไมไดจบ ทางดาน

ศิลปะ ในคร้ังน้ี กลุมเปาหมายคือ ครูผูสอนในรายวิชาทัศนศิลป กลุมสาระการเรียนรูศิลปะท่ีไมไดจบทางดานศิลปะ
โรงเรียนอัมพวันวิทยาลัย โดยการนําเอาแนวคิดและวธิ ีการนิเทศแบบสอนแนะ (Coaching) มาใชเปนแนวทางในการ
ดําเนินงาน โดยชวงระยะ เวลาที่ไดด ําเนินการ คือ หลังจากการสอบกลางภาค ภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2563 ตาม
กรอบการดําเนนิ งาน โดยแบง การดําเนินกิจกรรม เปน 3 ข้ันตอน ดงั น้ี คือ ขัน้ กอนการสอนแนะ (Pre-Coaching) ข้ัน
การสอนแนะ (Coaching) และขั้นสรุปผลการเสนอแนะ (Post-Coaching) โดยในกิจกรรมครั้งท่ี1 จะเปนข้ันตอน ข้ัน
กอ นการสอนแนะ (Pre-Coaching) โดยผทู ีเ่ ปน Coach คือครูสรรเสรญิ พรขุนทด โดยสรุปวิธีการไดด งั นี้

ข้ันกอนการสอนแนะ (Pre-Coaching)
ในกระบวนการสอนแนะ มีความจาํ เปน อยางยง่ิ ท่ผี ูนเิ ทศและผูรับการนิเทศจะตองมีสมั พันธภาพ

ทดี่ ตี อกัน ในข้ันตอนน้ี เปน ขั้นตอนที่ผูรายงานกับกลุมเปา หมาย ไดทําความคนุ เคยเพ่ือใหเกิดความไววางใจซง่ึ กนั และ
กัน หลังจากนนั้ จึงรว มกันประชมุ กลุม ยอยเพ่ือวางแผนกําหนดเปาหมาย กรอบเน้อื หาและแนวทาง ท่ีจะรว มกันพฒั นา
ซึ่งจากการพูดคุยและวเิ คราะหค วามจําเปน เรง ดวน ไดกําหนดกรอบการดาํ เนนิ งานไว 3 ประเดน็ ดงั น้ี

1.1 การออกแบบการสอน
1.2 การเขยี นแผนการจดั การเรียนรู
1.3 การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน

วนั ท่ี 4 กนั ยายน 2563 จาํ นวน 2 ชัว่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
กิจกรรมคร้ังท่ี 2 จะเปนการดําเนนิ งานตอจากการแสดงความคดิ เห็นในกจิ กรรมครง้ั ท่ีแลว โดยคราวนี้จะเปน

ขัน้ ตอนการสอนแนะโดย Coach ซง่ึ มกี ระบวนการดงั นี้
ขั้นการสอนแนะ (Coaching)

เปนการศกึ ษาสภาพปจจุบันปญ หา วากลุมเปา หมายมีการปฏิบัตงิ านตามกรอบทก่ี ําหนดไวใ นขนั้ ตอนที่ 1
อยใู นระดับใด เพื่อเปน ขอมูลในการพฒั นาตอยอดใหก บั กลุมเปาหมาย โดยในข้ันตอนนี้ผูรายงานไดม ีขอคนพบและ
เสนอแนะแนวทางการพัฒนา ดงั น้ี

กิจกรรม ขอ คนพบ การเสนอแนะ

2.1 การสะทอนปญ หา 1. ครยู ังขาดความม่ันใจในการสอน 1. ครูควรมกี ารเตรียมตวั ใหพ รอมจะได

ของครกู ลุมเปาหมาย 2. ครูยงั ไมม ีความรูความเขา ใจในสาระ มคี วามมัน่ ใจในการสอนมากขนึ้

เน้ือหาของรายวชิ าท่ดี ีพอ 2. ครคู วรมีการศึกษาวิเคราะหส าระ

แกนกลาง ทาํ ความเขา ใจในเนอื้ หา

เพิม่ เติมจากแหลง เรยี นรูตา ง ๆ

ไมว า จะเปน หนังสือ เอกสาร วารสาร

และเวป็ ไซดตาง ๆ ทเี่ ก่ียวของกบั

การเรยี นการสอนศิลปะ

2.2 การศกึ ษาจาก ครไู มไดม ีการวางแผนการสอนทเ่ี ปน ครูควรมีการออกแบบการสอนท่เี ปน

รอ งรอยการทํางาน ระบบ ขาดการจัดเตรียมส่ือประกอบ ระบบ โดยการศกึ ษาเอกสารหลกั สตู ร

ทีม่ ีอยเู ดมิ การเรยี นการสอน มีการวิเคราะหม าตรฐานการเรียนรู

และคาํ อธิบายตัวชี้วัดชัน้ ป

กําหนดเปาหมายการเรยี นรู กําหนด

ภาระงานของนักเรยี นใหชัดเจนและ

เลอื กกจิ กรรมการเรยี นรทู ่เี หมาะสม

2.3 การสังเกตการสอน ครูการเรยี นการสอนเนนการบรรยาย 1. ครคู วรมกี ารเขียนแผนการจัดการ

ในชนั้ เรียน ไมม ีความหลากหลายในรูปแบบของ เรียนรทู ีช่ ดั เจน หารปู แบบวิธสี อนที่

กิจกรรม มกี ารใชสอ่ื การเรยี นการสอน เหมาะสมกับเปาหมายการเรียนรู

นอยมาก มกี ารวางแผนการวดั และประเมินผล

ใหชัดเจนสอดคลอ งกับตัวชีว้ ดั โดยใช

เครือ่ งมือทห่ี ลากหลาย

2. ครูดกู ารสาธติ การสอน

3. ใหคาํ แนะนําในการใชส อ่ื

วันที่ 10 กันยายน 2563 จาํ นวน 2 ชวั่ โมง เวลา 15.35 – 17.35 น.
คณะครูกลุมสาระการเรียนรูศิลปะไดทําการอภิปราย แสดงความคิดเห็นแลและรวมกันแลกเปลี่ยนเรียนรูใน

ขัน้ ตอนท่ี 3 คือ ขน้ั ตอนการสรุปผลและเสนอแนะแนวทางการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาทัศนศิลป
สําหรบั ครูผสู อนท่ีไมไดจ บทางดา นศิลปะ ตอ ไปในอนาคต

ข้ันสรุปผลการเสนอแนะ (Post-Coaching)
เปนการรว มกันสรุปผลการดําเนินงาน ขอคนพบตาง ๆ รวมถึงปญ หาอุปสรรคจากการพัฒนา เปดโอกาส

ใหก ลุมเปาหมายไดว ิเคราะหขอ ดี และจดุ ออนของตนเพื่อนาํ ไปวางแผนพัฒนาตอไป ซ่ึงขอสรุปท่ีไดในครั้งน้ี คอื
3.1 ครูกลุมเปาหมายยังมีจุดที่ควรไดรับการพัฒนา เชน ความรูความเขาใจเก่ียวกับเน้ือหา สาระการ

เรียนรู การเขยี นแผนการเรยี นรู รวมถงึ เทคนคิ การสอนตาง ๆ ทีจ่ ําเปน

3.2 โครงการนจี้ ะยงั ดาํ เนินการตอไปในปการศึกษา 2557 เพ่อื ใหม คี วามตอเน่อื งและยัง่ ยืน
3.3 การดําเนินงานในรอบตอไป จะเปนการนําเอาทฤษฎีการออกแบบการสอน (Instructional Design)
มาใชเปน แนวทางในการกาํ หนดขัน้ ตอนของการดําเนินงาน และเอาวธิ ีระบบ (System Approach) มาเปนตัวควบคุม
คุณภาพ ท้ังนี้ เพราะวิธีระบบจะชวยเปนแนวทางในการพิจารณาและแกไขปญหา เพ่ือใหเกิดขอผิดพลาดนอยท่ีสดุ ใน
การดาํ เนนิ งาน ในขณะเดยี วกนั ก็เปนความพยายามท่ีจะใชทรัพยากรท่มี ีอยใู ห คุมคา มากท่ีสุด

6. ผลทีไ่ ดจากกิจกรรม
1. ดา นความรู ความสามารถในการออกแบบการสอนรายวิชาทศั นศลิ ป
จากการดําเนินงานโดยใชกระบวนการสอนแนะ (Coaching) ตลอด 1 ภาคเรียนท่ีผา นมา พบวา

ครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะท้ัง 5 คน ท่ีไมไดเรียนจบทางดานศิลปศึกษา(ทัศนศิลป) มีความรูความเขาใจ ใน
กระบวนการออกแบบการสอน สามารถวิเคราะหหลกั สูตร และจัดทาํ แผนการจัดการเรียนรไู ด ซ่ึงผูรายงานไดใชแบบ
ตรวจสอบคณุ ภาพแผนการจดั การเรยี นรู มาใชในการเกบ็ รวบรวมขอมลู

2. ดา นความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนรายวิชาทศั นศลิ ป
หลังจากการเขาสังเกตการสอนในขั้นตอนที่ 2 ของการสอนแนะ (Coaching) ผูรายงานไดให

ขอเสนอแนะแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีการสาธิตการสอนโดยผูรายงาน หลังจากนั้นจึงใหครู
กลุมเปาหมายไดนําแผนการจัดการเรียนรูท่ีผานการตรวจสอบคุณภาพแลวมาใชจัดการเรียนการสอน ซึ่งพบวา ครูมี
ความม่นั ใจมากขึ้น สามารถจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดด ีขน้ึ กวาทผ่ี านมา

จากผลการดําเนินงานทั้ง 2 ดานที่ไดกลาวมาขางตนจะเห็นวา การดําเนินงานในครั้งนี้ ถือวามีสวน
สําคัญในการชวยเหลือครูท่ีสอนไมตรงกับวิชาเอกของตนเอง ซ่ึงเปนการพัฒนาศักยภาพครูตามมาตรฐานวิชาชีพครู
เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู ซ่ึงถือวาเปนหนา ท่ีหลกั ของครตู ามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ท่ไี ดกําหนด
ไว อีกท้ังเปนการชวยเหลือโรงเรียนท่ีขาดแคลนครู ในการยกผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ดังนั้น จึงถือวาเปนการ
ดําเนนิ งานท่มี ีคุณคาตอ การพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาในภาพรวมไดอีกดวย

7. การนําผลท่ีไดไ ปใช
1. ครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะทุกคนมีความรู ความสามารถในการออกแบบการสอนรายวิชาทัศนศิลป

และนาํ ไปใชส อนนกั เรียนไดใ นระดับช้นั ท่ีตนเองรับผดิ ชอบไดเปน อยางดี
2. ครูในกลุมสาระการเรียนรูศิลปะทุกคน สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาทัศนศิลปและ

นํามาใชในการเรียนการสอนในระดับชัน้ ท่ีตนเองรบั ผดิ ชอบไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ

ลงชอ่ื ......................................................
(นายสรรเสรญิ พรขุนทด)
ผรู ายงาน
วนั ท่ี 10 กนั ยายน พ.ศ.2563

ความเหน็ ของหัวหนางานสํานกั งานวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ………………………………….……………..
(นางสาวจตุพร ปลื้มประสทิ ธ์ิ)
หัวหนา งานสํานักงานวชิ าการ
วนั ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2563

ความเห็นของผูอ ํานวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………................................................................
.........................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ……………………………..……………………
(นายอภิเชษฐ วันทา)

ผอู าํ นวยการโรงเรยี นอมั พวันวทิ ยาลยั
วันท่ี 11 กนั ยายน พ.ศ. 2563


Click to View FlipBook Version