The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-04-21 09:45:56

เกษตรกรรม2

เกษตรกรรม2

เกษตรกรรม

เกษตรผสมผสาน (Integrated Farming) หมายถงึ ระบบการเกษตรท่มี ีการปลกู พืชและ/หรอื มกี ารเลยี้ งสตั ว์
หลายชนิด อย่ใู นบรเิ วณเดยี วกนั โดยกิจกรรมการผลิตแต่ละชนิดสามารถเกือ้ กลู ประโยชนต์ ่อกนั ไดโ้ ดยอาจจะ
เป็นทางตรงหรอื ทางออ้ มมีการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรในไรน่ า เช่น ดนิ นาํ้ แสงแดดอย่างเกดิ ประโยชน์
สงู สดุ มีการหมนุ เวยี นแรธ่ าตใุ นไรน่ า น่นั คือเป็นการใชส้ ภาพแวดลอ้ มอย่างตอ่ เน่ืองและเกดิ ผลในการเพมิ่ พนู
ความอดุ มสมบรู ณ์ ของทรั พยากรธรรมชาติน่นั นเอง ซ่งึ การทาํ เกษตรผสมผสานสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 กลมุ่
คือ

• การปลกู พืชแบบผสมผสาน พิจารณาขนาดตน้ พชื ระยะการเจรญิ เตบิ โต สมั พนั ธก์ ับความชืน้ อากาศ
ในแตล่ ะชว่ งฤดกู าล ตวั อยา่ งการปฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ เกือ้ กลู ระหวา่ งพืชกบั พชื เชน่ พชื ตระกลู ถ่วั ตรงึ
ไนโตรเจนใหก้ บั พืชชนิดอ่นื พชื ยนื ตน้ ใหร้ ม่ เงากบั พืชท่ีตอ้ งการแสงนอ้ ยพชื เป็นอาหารและท่ีอย่อู าศยั
ใหก้ บั แมลงศตั รูธรรมชาติเพ่ือชว่ ยกาํ จดั ศตั รูพืชไมใ่ หเ้ กิดกับพืชชนิดอ่นื ๆ เช่นการปลกู ถ่วั ลิสงระหว่าง
แถวในแปลงขา้ วโพด จะชว่ ยทาํ ใหแ้ มลงศตั รูธรรมชาตไิ ดม้ าอาศยั อยใู่ นถ่วั ลสิ งมากและช่วยกาํ จดั
แมลงศตั รูของขา้ วโพด ฯลฯ

• การเลีย้ งสตั วแ์ บบผสมผสาน สตั วห์ ลายชนิดพนั ธุจ์ ะตอ้ งเกือ้ กลู กนั ไดเ้ อง เช่น เลยี้ งหมกู บั เลยี้ งปลาใน
บอ่ เลีย้ งเป็ดหรือไก่กบั เลีย้ งปลาในสระ

• การปลกู พืชผสมผสานกบั การเลีย้ งสตั ว์ มคี วามสมั พนั ธก์ นั ในลกั ษณะถา่ ยเทพลงั งานอาหารใหก้ นั ได้
ตวั อยา่ งการปฏสิ มั พนั ธเ์ ชิงเกือ้ กลู ระหวา่ งพชื กบั สตั ว์ เช่น เศษเหลอื ของพืชใชเ้ ป็นอาหารของสตั ว์ ปลา
ชว่ ยกินแมลงศตั รูพืช วชั พชื ใหก้ บั พืชท่ีปลกู ในสภาพนา้ํ ท่วมขงั เช่น ขา้ ว ปลาใหอ้ ินทรียวตั ถกุ บั พชื
จากการถา่ ยมลู ตกตะกอนในบอ่ เลีย้ งปลาซง่ึ สามารถจะลอกขนึ้ มาเป็นป๋ ยุ กบั พชื และการเลยี้ งปลาใน
นาขา้ ว เป็ด หา่ นแพะ ววั ควาย ช่วยกาํ จดั วชั พืชในสวนผลไม้ และแปลงปลกู หม่อน มลู สตั วท์ กุ ชนิด
สามารถใชป้ ระโยชนเ์ ป็นป๋ ยุ กบั ตน้ พืช

วนเกษตร (Agro forestry) คือ การเกษตรท่มี กี ารใชป้ ระโยชนท์ ่ดี ินโดยการปลกู ไมย้ ืนตน้ เป็นหลกั รว่ มกบั
พชื กสิกรรม(พชื ลม้ ลกุ เช่น ผกั พืชไร่ ฯลฯ) สลบั กนั หรือปลกู ในเวลาเดยี วกนั และอาจเลีย้ งสตั วห์ รือไมก่ ็ได้
สว่ นการปลกู อาจปลกู เป็นแถบ(Zone)เป็นแนว(strips) อาจปลกู เป็นแนวขนั้ บนั ไดเพ่อื ปอ้ งกนั ดนิ พงั
(allycropping) ซ่งึ การทาํ วนเกษตรแบง่ ออกเป็น 3 ระบบใหญ่ ๆ คือ
• ระบบป่าไม-้ กสิกรรม
• ระบบป่าไม/้ ทงุ่ หญา้ เลีย้ งสตั ว-์ ปศสุ ตั ว์
• ระบบป่าไม/้ ทงุ่ หญา้ เลีย้ งสตั ว-์ ปศสุ ตั ว-์ กสกิ รรม
ลกั ษณะเด่นของวนเกษตรคือ เป็นระบบการปลกู พชื ท่มี ีความต่างระดบั ของเรือนยอดตน้ ไมแ้ ละระบบราก มี
องคป์ ระกอบท่หี ลากหลายทางพนั ธุกรรมและชีวภาพของพชื สตั ว์ และสง่ิ มชี ีวิตขนาดเล็ก(จลุ นิ ทรยี )์ เนน้ การ
อยรู่ ว่ มกนั เป็นระบบนเิ วศท่มี ีความสมดลุ ทางธรรมชาติ มีการหมนุ เวียนธาตอุ าหารตามธรรมชาติ (อนั เป็นผล
มาจากความหลากหลายชนิดของพืช สตั ว์ และจลุ ินทรยี )์

เกษตรกรรมธรรมชาติ (Natural Farming) เป็นเกษตรกรรมท่ีคาํ นงึ ถึงระบบนเิ วศ (Ecologically Sound
Agriculture) โดยพยายามลดการแทรกแซงของมนษุ ย์ กระทาํ เพียงส่ิงท่จี าํ เป็นต่อการเกษตรกรรม ปรบั รูปแบบ
การเกษตรใหส้ อดคลอ้ งกบั ระบบนเิ วศและธรรมชาติ และไม่พง่ึ พาปัจจยั การผลติ จากภายนอกการทาํ
เกษตรกรรมรูปแบบนไี้ ดร้ บั การพฒั นาและเผยแพร่ โดย นายมาซาโนบุ ฟกุ โุ อกะ นกั เกษตรกรรมธรรมชาตชิ าว
ญ่ีป่นุ ผเู้ ขียน การปฏิวตั ิยคุ สมยั ดว้ ยฟางเสน้ เดียว หรือ The One Straw Revolution(2518) ซง่ึ เป็นหนงั สือท่ี
เขาไดน้ าํ เสนอมรรควธิ ีแห่งการดาํ เนินชวี ิตและมรรควิธีแห่งเกษตรกรรมเอาไว้ โดยเกษตรกรรมธรรมชาติมี
หลกั การท่สี าํ คญั 4 ประการคือ

• ไมไ่ ถพรวนดิน
• ไมใ่ สป่ ๋ ยุ บางชนิด
• ไมก่ าํ จดั วชั พืช
• ไมจ่ าํ กดั โรคและแมลงศตั รูพืช

ฟกู โู อกะอธิบายว่า “ชาวนาเช่ือกนั วา่ ทางเดียวท่ีจะใหอ้ ากาศเขา้ ไปปรบั สภาพเนือ้ ดนิ ไดด้ ี คือ ตอ้ งใชจ้ อบ พล่วั
ใชไ้ ถ หรือใชแ้ ทรคเตอรพ์ รวนดนิ แตย่ ่งิ พรวนมากเทา่ ไรมนั ก็จะแตกเป็นชนิ้ เล็กชนิ้ นอ้ ยมากเท่านนั้ น่นั เป็นการ
ทาํ ใหโ้ มเลกลุ ของมนั แตกกระจายออกจากกนั ซง่ึ จะย่งิ ทาํ ใหด้ ินแขง็ ขนึ้ ถา้ ปล่อยใหว้ ชั พืชทาํ งานนีแ้ ทน ราก
ของมนั จะชอนลงไปลกึ ถงึ 30-40 ซม. ซ่งึ จะชว่ ยทาํ ใหท้ งั้ อากาศและนา้ํ ซอกซอนเขา้ ไปในเนือ้ ดนิ ได้ จลุ ินทรยี ์
จะแพรข่ ยายตวั เม่ือรากเหลา่ นีเ้ ห่ียวและเม่ือมนั แก่ ไสเ้ ดอื นก็จะเพ่มิ จาํ นวนขนึ้ ซง่ึ ท่ีไหนมีไสเ้ ดือนก็จะขดุ ดนิ ให้
เอง ดนิ จะออ่ นนมุ่ และสมบรู ณข์ นึ้ ดว้ ยตวั ของมนั เอง มนั พรวนตวั เอง โดยไมต่ อ้ งใหม้ นษุ ยม์ าช่วย เพียงแตเ่ รา
ปลอ่ ยใหม้ นั ทาํ ”ในแนวคิดของฟูกโู อกะ จะมงุ่ เนน้ ในดา้ นของการใชฟ้ างคลมุ ดนิ แทนการทาํ ป๋ ยุ หมกั เพราะการ
ใชฟ้ างคลมุ ดนิ จะชว่ ยปรบั สภาพดนิ ไดเ้ ป็นธรรมชาตกิ ว่า เป็นการเดนิ ตามหลกั เกณฑข์ องธรรมชาติ และจะเป็น
วธิ ีบาํ รุงธรรมชาตใิ หส้ มบรู ณข์ นึ้ ใหมอ่ ีกครงั้ หน่งึ ซ่งึ แนวคิดเกษตรกรรมธรรมชาตขิ องฟกู โู อกะนีม้ าจากฐาน
ความคิดท่ีเช่ือวา่ เกษตรกรรมธรรมชาตสิ ืบสายมาจากสภาวะแหง่ ความไพบรู ณท์ างจิตวญิ ญาณของปัจเจก
บคุ คล เขาเช่ือวา่ การบาํ รุงรกั ษาผืนแผน่ ดนิ และการชาํ ระจิตใจของมนษุ ยใ์ หบ้ รสิ ทุ ธิ์เป็นกระบวนการเดียวกนั
ดงั ท่ีเขากลา่ ววา่ “เปา้ หมายสงู สดุ ของเกษตรกรรมไมใ่ ชก่ ารเพาะปลกู พืชผล แตค่ ือการบม่ เพาะความสมบรู ณ์
แหง่ ความเป็นมนษุ ย”์

เกษตรอินทรีย์ (Organic Agricuture) เป็นระบบการผลิตท่หี ลีกเลยี่ งการใชป้ ๋ ยุ เคมสี งั เคราะห์ สารเคมีกาํ จดั
ศตั รูพืชและฮอรโ์ มนกระตนุ้ การเจรญิ เติบโตของพืชและสตั ว์ แต่อาศยั การปลูกพืชหมนุ เวียน เศษซากพชื มลู
สตั ว์ พชื ตระกลู ถ่วั ป๋ ยุ พืชสดเศษซากพืชเหลอื ทงิ้ ตา่ ง ๆ การใชธ้ าตอุ าหารจากการผพุ งั ของหนิ แร่รวมทงั้ ใช้
หลกั การควบคมุ ศตั รูพชื โดยชวี วธิ ี ทงั้ นีเ้ พ่อื รกั ษาความอดุ มสมบรู ณข์ องดินเป็นหลกั สาํ คญั เน่ืองจากดินเป็นท่ี
อาศยั ของสง่ิ มีชวี ิตท่เี ป็นประโยชนใ์ นดนิ และยงั เป็นแหลง่ อาหารของพืช ช่วยควบคมุ ศตั รูพืชตา่ ง ๆ เช่น แมลง
และวชั พืช หลกั การสาํ คญั ของเกษตรอนิ ทรียค์ ือ

การอนรุ กั ษร์ ะบบนเิ วศการเกษตรและส่งิ แวดลอ้ ม ดว้ ยการปฏิเสธการใชส้ ารเคมีสงั เคราะหท์ กุ ชนิดในการ
เพาะปลกู ทงั้ นีเ้ พราะปัจจยั การผลติ ท่เี ป็นสารเคมสี งั เคราะหม์ ีผลต่อส่ิงมีชวี ิตต่าง ๆ ท่ีอย่ใู นฟารม์ ทงั้ สตั ว์
แมลง และจลุ ินทรยี ์ ทงั้ ท่ีอย่บู นผิวดนิ และใตด้ ิน ในกลไกธรรมชาติ ส่ิงมีชวี ิตต่าง ๆ เหลา่ นมี้ บี ทบาทสาํ คญั ใน
การสรา้ งสมดลุ ของนเิิ วศการเกษตรไมว่ ่าจะเป็นการช่วยในการควบคมุ ประชากรของสิง่ มชี ีวิตอ่นื โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ ศตั รูพืช หรอื การพง่ึ พาอาศยั กนั ในการดาํ รงชวี ิต เชน่ การผสมเกสร การช่วยย่อยสลายอินทรียวตั ถุ ซง่ึ
เป็นประโยชนต์ อ่ พชื ท่ีเพาะปลกู แตก่ ารใชส้ ารเคมกี าํ จดั ศตั รูพืชนนั้ มีผลทาํ ลายสง่ิ มชี วี ิตทงั้ หมด โดยเฉพาะ
อย่างย่งิ ส่งิ มีชีวติ ท่ีเป็นประโยชน์ ในขณะท่ีโรคและแมลงศตั รูพืชมกั จะมีความสามารถพิเศษในการพฒั นาภมู ิ
ตา้ นทานต่อสารเคมี แมแ้ ต่ป๋ ยุ เคมีเองก็มผี ลเสียต่อจลุ ินทรียแ์ ละส่งิ มีชวี ิตในดิน ทาํ ใหส้ มดลุ ของนิเวศดินเสีย

การฟื้นฟนู ิเวศการเกษตร นอกเหนือจากการอนุรกั ษแ์ ลว้ หลกั การของเกษตรอินทรียย์ งั เนน้ ใหเ้ กษตรกรตอ้ ง
ฟื้นฟสู มดลุ ความอดุ มสมบรู ณข์ องระบบนิเวศดว้ ย ซ่งึ แนวทางหลกั ในการฟื้นฟนู ิเวศการเกษตรก็คอื การ
ปรบั ปรุงบาํ รุงดนิ อินทรียวตั ถแุ ละเพิม่ ความหลากหลายทางชีวภาพ ในระบบเกษตรอนิ ทรีย์ ดินถือวา่ เป็น
กญุ แจสาํ คญั เพราะการปรบั ปรุงบาํ รุงดนิ ทาํ ใหต้ น้ ไมไ้ ดร้ บั ธาตอุ าหารอยา่ งครบถว้ นและสมดลุ ซ่งึ จะชว่ ยให้
ตน้ ไมแ้ ข็งแรง มคี วามตา้ นทานต่อการระบาดของโรคและแมลง ซง่ึ ชว่ ยใหเ้ กษตรกรไม่จาํ เป็นตอ้ งพง่ึ พาการใช้
สารเคมีกาํ จดั ศตั รูพืช นอกจากนี้ ผลผลิตของเกษตรอินทรยี ย์ งั มรี สชาติท่ดี ี มคี ณุ คา่ ทางโภชนาการท่คี รบถว้ น


Click to View FlipBook Version