The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-04-20 13:39:13

เกษตรผสมผสาน

เกษตรผสมผสาน

1. เกษตรผสมผสาน (Integrated Farming) หมายถึง ระบบการเกษตรที่มกี ารปลกู พืชและ/หรือมีการเล้ยี งสัตวห์ ลายชนิด อยใู่ น
บริเวณเดียวกนั โดยกิจกรรมการผลิตแตล่ ะชนิดสามารถเก้ือกูลประโยชนต์ ่อกนั ไดโ้ ดยอาจจะเป็นทางตรงหรือทางออ้ มมีการใชป้ ระโยชน์จาก
ทรพั ยากรในไร่นา เช่น ดิน น้าํ แสงแดดอยา่ งเกิดประโยชนส์ ูงสุด มกี ารหมนุ เวยี นแร่ธาตใุ นไร่นา นนั่ คอื เป็นการใชส้ ภาพแวดลอ้ มอยา่ งต่อเนื่อง
และเกิดผลในการเพมิ่ พนู ความอดุ มสมบูรณ์ ของทรั พยากรธรรมชาตนิ นั่ นเอง ซ่ึงการทาํ เกษตรผสมผสานสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 กลุม่ คอื

• การปลกู พืชแบบผสมผสาน พิจารณาขนาดตน้ พชื ระยะการเจริญเติบโต สัมพนั ธ์กบั ความช้ืนอากาศในแตล่ ะช่วงฤดกู าล ตวั อยา่ งการ
ปฏสิ ัมพนั ธ์เชิงเก้ือกูลระหว่างพืชกบั พชื เช่น พืชตระกลู ถว่ั ตรึงไนโตรเจนใหก้ บั พชื ชนิดอน่ื พชื ยืนตน้ ใหร้ ่มเงากบั พชื ท่ีตอ้ งการแสง
นอ้ ยพืชเป็นอาหารและท่ีอยอู่ าศยั ใหก้ บั แมลงศตั รูธรรมชาติเพือ่ ช่วยกาํ จดั ศตั รูพืชไมใ่ หเ้ กิดกบั พชื ชนิดอน่ื ๆ เช่นการปลกู ถว่ั ลสิ ง
ระหวา่ งแถวในแปลงขา้ วโพด จะช่วยทาํ ให้แมลงศตั รูธรรมชาตไิ ดม้ าอาศยั อยใู่ นถว่ั ลิสงมากและช่วยกาํ จดั แมลงศตั รูของขา้ วโพด
ฯลฯ

• การเลยี้ งสัตว์แบบผสมผสาน สตั วห์ ลายชนิดพนั ธุจ์ ะตอ้ งเก้ือกูลกนั ไดเ้ อง เช่น เล้ียงหมกู บั เล้ยี งปลาในบ่อ เล้ียงเป็ดหรือไกก่ บั เล้ียง
ปลาในสระ

• การปลกู พืชผสมผสานกบั การเลยี้ งสัตว์ มคี วามสัมพนั ธก์ นั ในลกั ษณะถ่ายเทพลงั งานอาหารให้กนั ได้ ตวั อยา่ งการปฏิสมั พนั ธ์เชิง
เก้ือกูลระหวา่ งพืชกบั สตั ว์ เช่น เศษเหลอื ของพืชใชเ้ ป็นอาหารของสัตว์ ปลาช่วยกินแมลงศตั รูพชื วชั พชื ใหก้ บั พชื ที่ปลูกในสภาพน้าํ
ท่วมขงั เช่น ขา้ ว ปลาให้อินทรียวตั ถุกบั พืช จากการถ่ายมูลตกตะกอนในบ่อเล้ียงปลาซ่ึงสามารถจะลอกข้ึนมาเป็นป๋ ุยกบั พชื และการ
เล้ียงปลาในนาขา้ ว เป็ด ห่านแพะ ววั ควาย ช่วยกาํ จดั วชั พืชในสวนผลไม้ และแปลงปลกู หมอ่ น มลู สัตวท์ กุ ชนิดสามารถใชป้ ระโยชน์
เป็นป๋ ยุ กบั ตน้ พืช ฯลฯ

2วนเกษตร (Agro forestry) คือ การเกษตรที่มีการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดินโดยการปลกู ไมย้ นื ตน้ เป็นหลกั ร่วมกบั พืชกสิกรรม(พชื ลม้ ลกุ เช่น ผกั
พืชไร่ ฯลฯ) สลบั กนั หรือปลูกในเวลาเดียวกนั และอาจเล้ยี งสตั วห์ รือไม่กไ็ ด้ ส่วนการปลกู อาจปลูกเป็นแถบ(Zone)เป็นแนว(strips) อาจปลูก
เป็นแนวข้นั บนั ไดเพ่อื ป้องกนั ดินพงั (allycropping) ซ่ึงการทาํ วนเกษตรแบ่งออกเป็น 3 ระบบใหญ่ ๆ คอื

• ระบบป่ าไม้-กสิกรรม
• ระบบป่ าไม้/ทุ่งหญ้าเลีย้ งสัตว์-ปศุสัตว์
• ระบบป่ าไม้/ทุ่งหญ้าเลีย้ งสัตว์-ปศุสัตว์-กสิกรรม

ลกั ษณะเด่นของวนเกษตรคือ เป็นระบบการปลกู พชื ทม่ี ีความต่างระดบั ของเรือนยอดตน้ ไมแ้ ละระบบราก
มีองคป์ ระกอบที่หลากหลายทางพนั ธุกรรมและชีวภาพของพชื สตั ว์ และส่ิงมีชีวติ ขนาดเลก็ (จุลินทรีย)์
เนน้ การอยรู่ ่วมกนั เป็นระบบนิเวศท่ีมีความสมดุลทางธรรมชาติ มีการหมนุ เวียนธาตุอาหารตามธรรมชาติ
(อนั เป็นผลมาจากความหลากหลายชนิดของพชื สัตว์ และจุลินทรีย)์

3เกษตรกรรมธรรมชาติ (Natural Farming) เป็นเกษตรกรรมท่ีคาํ นึงถึงระบบนิเวศ (Ecologically Sound Agriculture) โดย
พยายามลดการแทรกแซงของมนุษย์ กระทาํ เพยี งสิ่งที่จาํ เป็นตอ่ การเกษตรกรรม ปรบั รูปแบบการเกษตรใหส้ อดคลอ้ งกบั ระบบนิเวศและธรรมชาติ และไม่
พ่งึ พาปัจจยั การผลิตจากภายนอกการทาํ เกษตรกรรมรูปแบบน้ีไดร้ ับการพฒั นาและเผยแพร่ โดย นายมาซาโนบุ ฟกุ ุโอกะ นกั เกษตรกรรมธรรมชาติชาวญ่ีป่ นุ
ผเู้ ขียน การปฏิวตั ิยคุ สมยั ดว้ ยฟางเสน้ เดียว หรือ The One Straw Revolution(2518) ซ่ึงเป็นหนงั สือท่ีเขาไดน้ าํ เสนอมรรควิธีแห่งการ
ดาํ เนินชีวิตและมรรควิธีแห่งเกษตรกรรมเอาไว้ โดยเกษตรกรรมธรรมชาตมิ ีหลกั การที่สาํ คญั 4 ประการคือ

• ไม่ไถพรวนดนิ
• ไม่ใส่ป๋ ยุ บางชนดิ
• ไม่กาจัดวชั พืช
• ไม่จากัดโรคและแมลงศัตรูพืช

ฟกู โู อกะอธิบายว่า “ชาวนาเชื่อกันว่าทางเดียวทีจ่ ะให้อากาศเข้าไปปรับสภาพเนื้อดินได้ดี คือ ต้องใช้จอบ พล่วั ใช้ไถ หรือใช้
แทรคเตอร์พรวนดิน แต่ย่ิงพรวนมากเท่าไรมนั กจ็ ะแตกเป็ นชิน้ เลก็ ชิน้ น้อยมากเท่าน้ัน นนั่ เป็ นการทาให้โมเลกลุ ของมันแตก
กระจายออกจากกนั ซ่ึงจะยง่ิ ทาให้ดนิ แขง็ ขนึ้ ถ้าปล่อยให้วชั พืชทางานนแี้ ทน รากของมันจะชอนลงไปลึกถงึ 30-40 ซม. ซึ่ง
จะช่วยทาให้ท้งั อากาศและนา้ ซอกซอนเข้าไปในเนื้อดินได้ จุลนิ ทรีย์จะแพร่ขยายตัว เมื่อรากเหล่านเี้ หีย่ วและเม่ือมนั แก่ ไส้เดือน
ก็จะเพม่ิ จานวนขนึ้ ซ่ึงทไ่ี หนมีไส้เดือนกจ็ ะขดุ ดนิ ให้เอง ดินจะอ่อนนุ่ม และสมบูรณ์ขึน้ ด้วยตวั ของมนั เอง มนั พรวนตวั เอง โดย
ไม่ต้องให้มนุษย์มาช่วย เพยี งแต่เราปล่อยให้มันทา”ในแนวคิดของฟกู โู อกะ จะม่งุ เน้นในด้านของการใช้ฟางคลมุ ดนิ แทนการทา
ป๋ ยุ หมกั เพราะการใช้ฟางคลุมดนิ จะช่วยปรับสภาพดนิ ได้เป็ นธรรมชาตกิ ว่า เป็ นการเดนิ ตามหลักเกณฑ์ของธรรมชาติ และจะ
เป็ นวธิ ีบารุงธรรมชาติให้สมบูรณ์ขนึ้ ใหม่อกี คร้ังหน่งึ ซึ่งแนวคิดเกษตรกรรมธรรมชาตขิ องฟกู ูโอกะนีม้ าจากฐานความคิดทเี่ ช่ือ
ว่า เกษตรกรรมธรรมชาติสืบสายมาจากสภาวะแห่งความไพบูรณ์ทางจิตวิญญาณของปัจเจกบคุ คล เขาเช่ือว่าการบา รุงรักษาผืน
แผ่นดนิ และการชาระจิตใจของมนุษย์ให้บริสุทธ์เิ ป็ นกระบวนการเดียวกัน ดงั ท่ีเขากล่าวว่า “เป้าหมายสูงสุดของเกษตรกรรม
ไม่ใช่การเพาะปลกู พืชผล แต่คือการบ่มเพาะความสมบูรณ์แห่งความเป็ นมนุษย์”

เกษตรอินทรีย์ (Organic Agricuture) เป็นระบบการผลติ ที่หลีกเลี่ยงการใชป้ ๋ ยุ เคมสี งั เคราะห์ สารเคมีกาํ จดั ศตั รูพืชและฮอร์โมนกระตนุ้ การ
เจริญเติบโตของพืชและสัตว์ แต่อาศยั การปลกู พืชหมุนเวียน เศษซากพชื มูลสัตว์ พชื ตระกลู ถวั่ ป๋ ยุ พชื สดเศษซากพชื เหลอื ทิง้ ตา่ ง ๆ การใชธ้ าตอุ าหารจาก
การผุพงั ของหนิ แร่รวมท้งั ใชห้ ลกั การควบคมุ ศตั รูพืชโดยชีววธิ ี ท้งั น้ีเพ่ือรกั ษาความอุดมสมบรู ณข์ องดินเป็นหลกั สาํ คญั เนื่องจากดินเป็นท่ีอาศยั ของ
ส่ิงมีชีวิตที่เป็นประโยชน์ในดินและยงั เป็นแหล่งอาหารของพืช ช่วยควบคุมศตั รูพชื ต่าง ๆ เช่น แมลง และวชั พชื หลกั การสาํ คญั ของเกษตรอินทรียค์ อื

• การอนุรักษ์ระบบนิเวศการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ดว้ ยการปฏเิ สธการใชส้ ารเคมีสงั เคราะหท์ กุ ชนิดในการเพาะปลกู ท้งั น้ีเพราะปัจจยั การผลติ ที่
เป็นสารเคมีสงั เคราะห์มีผลต่อส่ิงมชี ีวติ ต่าง ๆ ที่อยใู่ นฟาร์ม ท้งั สตั ว์ แมลง และจลุ ินทรีย์ ท้งั ที่อยบู่ นผวิ ดินและใตด้ ิน ในกลไกธรรมชาติ
สิ่งมีชีวติ ตา่ ง ๆ เหล่าน้ีมบี ทบาทสํา คญั ในการสร้างสมดลุ ของนเิิ วศการเกษตรไม่ว่าจะเป็นการช่วยในการควบคุมประชากรของสิ่งมชี ีวิตอ่ืน
โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ศตั รูพชื หรือการพ่งึ พาอาศยั กนั ในการดาํ รงชีวิต เช่น การผสมเกสร การช่วยยอ่ ยสลายอนิ ทรียวตั ถุ ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อพืชที่
เพาะปลูกแต่การใชส้ ารเคมีกาํ จดั ศตั รูพชื น้นั มีผลทาํ ลายสิ่งมีชีวิตท้งั หมด โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นประโยชน์ ในขณะท่ีโรคและแมลง
ศตั รูพชื มกั จะมีความสามารถพิเศษในการพฒั นาภมู ิตา้ นทานต่อสารเคมี แมแ้ ต่ป๋ ุยเคมีเองกม็ ีผลเสียต่อจลุ ินทรียแ์ ละสิ่งมีชีวิตในดิน ทาํ ใหส้ มดลุ
ของนิเวศดินเสีย

• การฟื้ นฟูนิเวศการเกษตร นอกเหนือจากการอนุรักษแ์ ลว้ หลกั การของเกษตรอนิ ทรียย์ งั เนน้ ใหเ้ กษตรกรตอ้ งฟ้ื นฟูสมดุลความอดุ มสมบูรณ์ของ
ระบบนิเวศดว้ ย ซ่ึงแนวทางหลกั ในการฟ้ื นฟูนิเวศการเกษตรก็คือ การปรบั ปรุงบาํ รุงดินอนิ ทรียวตั ถแุ ละเพ่มิ ความหลากหลายทางชีวภาพ ใน
ระบบเกษตรอนิ ทรีย์ ดินถือว่าเป็นกุญแจสาํ คญั เพราะการปรับปรุงบาํ รุงดินทาํ ให้ตน้ ไมไ้ ดร้ บั ธาตอุ าหารอยา่ งครบถว้ นและสมดลุ ซ่ึงจะช่วยให้
ตน้ ไมแ้ ขง็ แรง มคี วามตา้ นทานต่อการระบาดของโรคและแมลง ซ่ึงช่วยใหเ้ กษตรกรไม่จาํ เป็นตอ้ งพ่ึงพาการใชส้ ารเคมกี าํ จดั ศตั รูพชื นอกจากน้ี
ผลผลติ ของเกษตรอินทรียย์ งั มรี สชาติที่ดี มคี ุณค่าทางโภชนาการที่ครบถว้ นและยงั สามารถเพ่ิมผลผลิตไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืนกว่าการเพาะปลูกดว้ ยระบบ
เกษตรเคมอี ีกดว้ ย นอกเหนือจากการปรบั ปรุงบาํ รุงดินแลว้ การเพ่มิ ความหลากหลายทางชีวภาพในไร่นาก็เป็นสิ่งจาํ เป็น ท้งั น้ีเพราะความ
หลากหลายทางชีวภาพเป็นกญุ แจสาํ คญั ของความยง่ั ยนื ของระบบนิเวศการเกษตร ท้งั น้ีก็เพราะว่าการมีสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดอยรู่ ่วมกนั ยอ่ ม
ก่อให้เกิดความเกือ้ กลู และสมดลุ ของระบบนิเวศ ซ่ึงจะช่วยเสริมสร้างกระบวนการและพลวตั รทางธรรมชาติที่เก้ือหนุนต่อการทาํ เกษตร
อนิ ทรียอ์ กี ตอ่ หน่ึง วธิ ีการเพมิ่ ความหลากหลายทางชีวภาพอาจทาํ ไดใ้ นหลายรูปแบบ เช่นการปลูกพืชร่วม พชื แซม พชื หมนุ เวยี น ไมย้ ืนตน้ หรือ

การฟ้ื นฟูแหลง่ นิเวศธรรมชาติในไร่นาหรือบริเวณใกลเ้ คียง• การพ่ึงพากลไกธรรมชาตใิ นการทาํ เกษตร หลกั การเกษตรอินทรียต์ ้งั อยบู่ นปรชั ญา
ท่ีว่า การเกษตรที่ยง่ั ยนื ตอ้ งเป็นการเกษตรที่เป็นไปตามครรลองของธรรมชาติ ไม่ใช่การเกษตรที่ฝืนวถิ ีธรรมชาติ ดงั น้นั การทาํ เกษตรจึงไมใ่ ช่
การพยายามเอาชนะธรรมชาตหิ รือดดั แปลงธรรมชาตเิ พ่ือการเพาะปลกู แตเ่ ป็นการเรียนรู้จากธรรมชาติ และปรับระบบการทาํ เกษตรให้
สอดคลอ้ งกบั วถิ ีแห่งธรรมชาติ กลไกในธรรมชาตทิ ่ีสาํ คญั ตอ่ การทาํ เกษตรอินทรีย์ ไดแ้ ก่ วงจรการหมนุ เวยี นธาตุอาหาร (โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
วงจรไนโตรเจนและคาร์บอน) วงจรการหมนุ เวยี นของน้าํ พลวตั รของภูมอิ ากาศและแสงอาทิตย์ รวมท้งั การพ่ึงพากนั ของส่ิงมีชีวิตอยา่ งสมดลุ ใน
ระบบนิเวศ(ท้งั ในเชิงของการเก้ือกูล การพ่งึ พา และห่วงโซ่อาหาร) ซ่ึงในพ้ืนท่ีตา่ ง ๆยอ่ มมีระบบนิเวศและกลไกตามธรรมชาตทิ ี่แตกต่างกนั
ออกไป การทาํ เกษตรอนิ ทรียจ์ ึงจาํ เป็นที่จะตอ้ งเรียนรู้ถงึ สภาพเงื่อนไขของทอ้ งถิ่นท่ีตนเองทาํ การเกษตรอยกู่ ารหมนั่ สงั เกต เรียนรู้ วิเคราะห์
สังเคราะหแ์ ละทาํ การทดลอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ ท่ีตอ้ งดาํ เนินการไปอยา่ งต่อเน่ือง เพื่อท่ีวา่ ในระบบฟาร์มเกษตรอนิ ทรียจ์ ะไดป้ ระโยชน์
จากกลไกธรรมชาตแิ ละสภาพนิเวศทอ้ งถิน่ อยา่ งเต็มที่
• การควบคมุ และป้องกันมลพษิ แมว้ า่ เกษตรอินทรียจ์ ะปฏเิ สธการใชส้ ารเคมีสงั เคราะห์ในฟาร์ม แตส่ ภาพแวดลอ้ มที่ฟาร์มกษตรอินทรียต์ ้งั อยมู่ ี
มลพิษตา่ ง ๆ อยไู่ ปทว่ั ที่อาจมีผลกระทบต่อการทาํ เกษตรอินทรียไ์ ม่ว่าจะมลพษิ ทางน้าํ อากาศหรือแมแ้ ตใ่ นดินเอง ดงั น้นั การทาํ เกษตรอินทรีย์
จึงตอ้ งพยายามอยา่ งเต็มที่ ในการป้องกนั มลพิษตา่ ง ๆ ภายนอกมิใหป้ นเป้ื อนกบั ผลผลิต การป้องกนั น้ีอาจทาํ ไดโ้ ดยการจดั ทาํ แนวกนั ชนและ
แนวป้องกนั บริเวณริมฟาร์มแตอ่ ยา่ งไรก็ตามการป้องกนั มลพิษดงั กล่าว แมว้ า่ จะกระทาํ ดว้ ยวธิ ีใดกต็ าม กย็ งั ไมส่ ามารถป้องกนั การปนเป้ื อนจาก
มลพิษไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ เนื่องจากสารเคมีมีปะปนทว่ั ไปในสภาพแวดลอ้ ม เช่น ฟาร์มเกษตรอนิ ทรียย์ งั จาํ เป็นตอ้ ง ใชแ้ หล่งน้าํ ร่วมกบั เกษตรกรที่
ทาํ เกษตรเคมีอยู่ ซ่ึงทาํ ให้ผลผลิตเกษตรอนิ ทรียอ์ าจปนเป้ื อนสารเคมีไดเ้ ช่นกนั ดงั น้นั แนวทางการปฏบิ ตั ิของเกษตรอนิ ทรียจ์ ึงเนน้ ความพยายาม
ของเกษตรกรในการป้องกนั มลพิษ โดยไม่กล่าวอา้ งว่าผลผลติ ไมม่ ีสารเคมีปนเป้ื อน นอกจากมลพิษจากภายนอกฟาร์มแลว้ เกษตรอนิ ทรียย์ งั
กาํ หนดให้เกษตรกรตอ้ งลดหรือป้องกนั มลพษิ ท่ีอาจเกิดข้ึนในกระบวนการผลติ ของฟาร์มเองดว้ ย เช่น ให้มีการจดั การขยะ และน้าํ เสียก่อนที่จะ
ปลอ่ ยออกนอกฟาร์มหรือการไม่ใชว้ สั ดุบรรจผุ ลผลติ ที่อาจมสี ารปนเป้ื อนได้

• การพ่งึ พาตนเองด้านปัจจยั การผลิต ในการทาํ ฟาร์มเกษตรอินทรีย์ จาํ เป็นตอ้ งใชป้ ัจจยั การผลติ ต่าง ๆ เช่น ป๋ ยุ อนิ ทรีย์ เมลด็ พนั ธุ์ ฯลฯเกษตร
อินทรียม์ ีหลกั การที่ม่งุ ให้เกษตรกรพยายามผลิตปัจจยั การผลติ ต่าง ๆ ดว้ ยตนเองในฟาร์มให้ไดม้ ากท่ีสุด แต่ในกรณีท่ีเกษตรกรไมส่ ามารถผลิต
ไดเ้ อง(เช่น มพี ้นื ท่ีการผลติ ไมพ่ อเพียง หรือตอ้ งมีการลงทุนสูงสาํ หรบั การผลติ ปัจจยั การผลิตที่จาํ เป็นตอ้ งใช)้ เกษตรกรกส็ ามารถซ้ือหาปัจจยั การ
ผลิตจากภายนอกฟาร์มได้ แตป่ ัจจยั การผลิตน้นั ควรเป็นปัจจยั การผลิตที่มอี ยแู่ ลว้ ในทอ้ งถิ่นการตรวจสอบรบั รองมาตรฐานเกษตรอินทรียเ์ ป็น
กระบวนการตรวจสอบยนื ยนั วา่ ผลผลติ ท่ีไดร้ บั การรับรองน้นั ไดผ้ ลิตข้นึ ตามเงื่อนไขท่ีกาํ หนดไวใ้ นมาตรฐานอยา่ งแทจ้ ริง ท้งั น้ีกเ็ พอ่ื สร้าง
หลกั ประกนั และความมน่ั ใจใหก้ บั ผบู้ ริโภคในการเลือกซ้ือผลิตภณั ฑท์ ี่ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง การรบั รองมาตรฐานน้ีโดยทว่ั ไปจะมรี ากฐานมา
จากมาตรฐานเกษตรอนิ ทรียข์ องสมาพนั ธ์เกษตรอนิ ทรียน์ านาชาติ หรือท่ีเรียกกนั ยอ่ ๆ วา่ IFOAM (International Federation
of Organic Agriculture Movements)สาํ หรับในประเทศไทยเอง ไดร้ ิเริ่มการจดั ต้งั หน่วยงานตรวจสอบและรับรอง
มาตรฐานเกษตรอนิ ทรียโ์ ดยหน่วยงานเอกชนมาต้งั แตป่ ี พ.ศ.2538 ภายใตช้ ่ือ “สานักงานมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์” หรือที่เรียกย่อ ๆ ว่า
มกท. ในปัจจบุ นั มกท. ไดใ้ หบ้ ริการตรวจสอบและรบั รองมาตรฐานการปลูกพชื ผลผลติ จากธรรมชาติ และการแปรรูป-การจดั การผลิตภณั ฑ์
เกษตรอินทรียต์ า่ ง ๆหลกั การพ้นื ฐานของเกษตรอินทรียน์ ้นั แตกต่างจาก เกษตรปลอดสารเคมี ตรงที่เกษตรอินทรียเ์ นน้ การอนุรกั ษแ์ ละฟ้ื นฟู
สมดุลและความอุดมสมบรู ณข์ องระบบนิเวศ ส่ิงแวดลอ้ ม ดว้ ยการไม่ใชส้ ารเคมีสงั เคราะหใ์ นการทาํ การผลิต (รวมถึงไมใ่ ชป้ ๋ ุยเคมีสังเคราะห)์
การปรบั ปรุงดินดว้ ยอนิ ทรียวตั ถุ และเน้นการฟ้ื นฟรู ะบบนิเวศการเกษตรในขณะที่เกษตรปลอดสารเคมจี ะสนใจแตก่ ารควบคุมปริมาณการใช้
สารเคมีกาํ จดั ศตั รูพืช โดยไม่ไดใ้ ห้ความสาํ คญั กบั การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มแตอ่ ยา่ งใด

นอกจากน้ี เพอื่ สร้างความมน่ั ใจให้กบั ผบู้ ริโภคเกษตรอนิ ทรียย์ งั มกี ารกาํ หนดมาตรฐานกระบวนการผลิตท่ีชดั เจนมีการ
ตรวจสอบและรบั รองมาตรฐาน จนถึงข้นั กาํ หนดเป็นระเบียบกฎเกณฑเ์ กี่ยวกบั การผลิตและการติดฉลากโฆษณาผลิตภณั ฑว์ า่
เป็นผลิตภณั ฑเ์ กษตรอินทรียค์ วามสุข ความพอเพียงผลการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้นึ ภายหลงั จากทีเ่ กษตรกรหนั มาทาํ เกษตรกรรม
แบบยง่ั ยนื กค็ ือ แมจ้ ะไมร่ ่าํ รวยเงนิ ทอง แตก่ ็ร่ํารวยความสุขตวั อยา่ งบทเรียนจากพ้ืนท่ีรูปธรรมในการทาํ เกษตรกรรมยง่ั ยนื ของ
ชุมชนแม่ทา ตาํ บลแม่ทา จงั หวดั เชียงใหม่ พบวา่ การทาํ เกษตรกรรมยง่ั ยืนทาํ ใหเ้ กิดการเรียนรู้และเกิดความรู้ และการเรียนรู้/
ความรู้น้ีเองท่ีทาํ ใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงในชุมชน คอื ทาํ ใหเ้ กิด “ความสุข” ซ่ึงความสุขในท่ีน้ีกค็ อื การไดท้ าํ อะไรโดยอสิ ระ
ไดท้ าํ ในสิ่งท่ีตนเองถนดั และสนใจ ไดอ้ ยพู่ ร้อมหนา้ พร้อมตากนั มีความอบอุ่นเขา้ ใจกนั ในครอบครวั มีเวลาพกั ผอ่ นอยา่ ง
พอเพียง มีเวลาให้กบั ชุมชนและสังคม และท่ีสาํ คญั คือมี “ความเป็ นไท” เป็นเจา้ เป็นนายตนเอง อีกท้งั มี “ปัญญา” ที่จะเป็น
ภูมิคมุ้ กนั ตอ่ ปัญหาต่าง ๆ ท่เี ขา้ มากระทบตนเอง โดยเฉพาะปัญหาจากภายนอกท่ีไมส่ ามารถควบคมุ ได้ ส่วนความสุขในระดบั
ชุมชนก็คือ การมีความสงบสุขของชุมชน มีความสามคั คี มีความปลอดภยั มีความสามารถในการร่วมกนั แกไ้ ขปัญหาต่าง ๆ และ
มีความสามารถในการจดั การทรพั ยากรของชุมชน


Click to View FlipBook Version