The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการสร้างเครือข่าย DSI ปี2564
Color edit 58

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DSI Network, 2022-03-31 05:36:53

คู่มือการสร้างเครือข่าย DSI ปี2564

คู่มือการสร้างเครือข่าย DSI ปี2564
Color edit 58

DSIคูมอื เครือขา ย
ÀÒ¤»ÃЪҪ¹

DSI NETWORK DSI NETWORK

กรมสอบสวนคดพี เ� ศษ (กสพ.)

เปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม กอต้ังขึ้นเม่ือวันท่ี 3 ตุลาคม 2545
ตามพระราชบญั ญตั ปิ รบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 เปน องคก รหนงึ่ ซง่ึ เกดิ ขนึ้
เพ่ือทําหนาท่ีอํานวยความยุติธรรมและสรางความเช่ือม่ันแกประชาชนในการปองกัน
ปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมพเิ ศษ ในระยะแรกๆ ทีก่ อ ตั้งกรมสอบสวนคดีพิเศษ
ประชาชนท่ัวไป คิดวาเปนหนวยเอฟบีไอ (FBI) เหมือนในตางประเทศ ซึ่งยังแตกตางกัน
ในหลายดาน ท้ังบทบาทหนาท่ี หรือขอบเขตอํานาจการสืบสวนสอบสวน ที่คลายกัน
จะเปนการทําคดีที่สําคัญๆ โดยหนาท่ีหลักของดีเอสไอ คือ การปองกันปราบปรามและ
สืบสวนสอบสวนคดีพิเศษท่ีมีผลกระทบรายแรงตอเศรษฐกิจ สังคม ความม่ันคง และ
ความสมั พันธระหวา งประเทศ

บทบาทหนาที่ของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ

1. ปองกัน ปราบปราม และควบคุมอาชญากรรมท่ีมีผลกระทบรายแรงตอเศรษฐกิจ สังคม

ความมนั่ คง และความสัมพนั ธระหวางประเทศ

2. พัฒนากฎหมาย กฎระเบียบ รูปแบบ วิธีการ และมาตรการในการปองกัน ปราบปรามและ

ควบคุมอาชญากรรม ที่มีผลกระทบอยางรายแรงตอเศรษฐกิจ สังคม ความม่ันคง และ
ความสัมพันธระหวา งประเทศ

3. พฒั นาโครงการและการบรหิ ารจดั การองคก ร
4. พัฒนาบุคลากรโดยเสริมสรา งศกั ยภาพในดา นความรู ความสามารถ คณุ ธรรม จริยธรรม

และขวัญกาํ ลังใจ

5. ประสานสง เสรมิ เครอื ขา ยความรว มมอื ในการปอ งกัน ปราบปราม และควบคุมอาชญากรรม

กับทุกภาคสวนทง้ั ภายในประเทศและตา งประเทศ

คดีพเ� ศษคอื อะไร

คดีพิเศษ หมายถึง คดีความผิดทางอาญาตามที่กําหนดไวในมาตรา 21

แหงพระราชบัญญัติการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ.2547 แกไขเพ่ิมเติมตามพระราชบัญญัติ
การสอบสวนคดีพิเศษ (ฉบับท่ี2) พ.ศ. 2551 ซ่ึงแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ มาตรา 21
วรรคหน่งึ (1) และมาตรา 21 วรรคสอง (2)

ประเภทท่ี 1มาตรา21วรรคหนงึ่ (1)คอื คดคี วามผดิ ทางอาญาตามกฎหมายกาํ หนด

ไวในบญั ชที า ยพระราชบญั ญตั กิ ารสอบสวนคดพี เิ ศษ พ.ศ.2547 และแกไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท2่ี ) พ.ศ.
2551 ปจ จบุ นั มี 37 ฉบบั หรอื คดอี าญาที่ไดก าํ หนดเปน กฎกระทรวงโดยการเสนอแนะของคณะ
กรรมการคดพี เิ ศษ (กคพ.) ทงั้ นี้ การกระทาํ ความผดิ ตามบญั ชที า ยพระราชบญั ญตั ิ 37 ฉบบั หรอื
คดีพิเศษที่กําหนดเพ่ิมเติมตามกฎกระทรวงฯ จะเปนคดีพิเศษไดจะตองเขาลักษณะอยางหน่ึง
อยา งใดทบ่ี ญั ญตั ไิ วในมาตรา 21 วรรคหนงึ่ (1) (ก) (ข) (ค) หรอื (ง) ไดแ ก

(ก) คดคี วามผดิ ทางอาญาทม่ี คี วามซบั ซอ น จาํ เปน ตอ งใชว ธิ กี ารสบื สวนสอบสวนและ
รวบรวมพยานหลกั ฐานเปน พเิ ศษ

(ข) คดคี วามผดิ ทางอาญาทม่ี ี หรอื อาจมผี ลกระทบอยา งรนุ แรง ตอ ความสงบเรยี บรอ ย
และศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน ความมน่ั คงของประเทศ ความสมั พนั ธร ะหวา งประเทศ หรอื ระบบ
เศรษฐกจิ หรอื การคลงั ของประเทศ

(ค) คดคี วามผดิ ทางอาญาทม่ี ลี กั ษณะเปน คดคี วามผดิ ขา มชาตทิ สี่ าํ คญั หรอื เปน การ
กระทาํ ขององคก รอาชญากรรม หรอื

(ง) คดคี วามผดิ ทางอาญาทม่ี ผี ทู รงอทิ ธพิ ลทส่ี าํ คญั เปน ตวั การ ผใู ช หรอื ผสู นบั สนนุ
(จ) นอกจากน้ี คดีดังกลาวตองเขาลักษณะของการกระทําความผิดตามประกาศ
คณะกรรมการคดพี เิ ศษ(กคพ.)เรอ่ื งการกาํ หนดรายละเอยี ดของลกั ษณะของการกระทาํ ความผดิ
ตามมาตรา 21 วรรคหน่งึ (1) แหงพระราชบญั ญัตกิ ารสอบสวนคดีพเิ ศษ พ.ศ.2547 และแกไข
เพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท2่ี ) พ.ศ.2551

ประเภทท่ี 2 ตามมาตรา 21 วรรคสอง (2) คดคี วามผดิ ทางอาญาอน่ื นอกจาก มาตรา

21 วรรคหนงึ่ (1) ซง่ึ กคพ. มมี ตดิ ว ยคะแนนเสยี งไมน อ ยกวา สองในสามของกรรมการทงั้ หมดเทา ที่
มอี ยู ทงั้ นค้ี ดดี งั กลา วจะตอ งมลี กั ษณะอยา งหนง่ึ อยา งใดตามทบ่ี ญั ญตั ไิ วในมาตรา 21 วรรคหนง่ึ
(1) (ก) (ข) (ค) หรอื (ง) (จ)

ความสาํ คญั
ของการสราง
เครอ� ขาย

กรมสอบสวนคดพี เิ ศษไดใหค วามสาํ คญั ของการสรา งเครอื ขา ยโดยสว นเครอื ขา ยการ
ปองกันการเกิดอาชญากรรมคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ กองนโยบายและยุทธศาสตร
ไดศ กึ ษากระบวนการทาํ งานเครอื ขา ย โดยศกึ ษาเรอ่ื งของ

1.เครอื ขา ย (Network) หมายถงึ การเชอ่ื มโยงของกลมุ ของคน หรอื กลมุ องคก ร

ท่ีสมัครใจท่ีจะแลกเปลี่ยนขาวสารรวมกัน โดยมีการจัดระเบียบโครงสรางของคนในเครือขาย
ดว ยความอสิ ระเทา เทยี มกนั ภายใตพ นื้ ฐานความเคารพสทิ ธิเชอ่ื ถอื เออ้ื อาทรซง่ึ กนั และกนั นน่ั คอื
ความสัมพันธของสมาชิกในเครือขายตองเปนไปโดยสมัครใจ กิจกรรมท่ีทําในเครือขายตองมี
ลกั ษณะเทา เทยี มหรอื แลกเปลยี่ นซงึ่ กนั และกนั การเปน สมาชกิ เครอื ขา ยตอ งไมม ผี ลกระทบตอ ความ
เปน อสิ ระหรอื ความเปน ตวั ของตวั เองของคนหรอื องคก รนน้ั ๆ

ดงั นน้ั เครอื ขา ยควรมกี ารจดั ระบบใหก ลมุ บคุ คลทเี่ ปน สมาชกิ ดาํ เนนิ กจิ กรรมบางอยา ง
รว มกนั เพอื่ นาํ ไปสจู ดุ หมายทเ่ี หน็ พอ งตอ งกนั ตามความจาํ เปน เมอ่ื ภารกจิ ของเครอื ขา ยบรรลุ
เปา หมายเครอื ขา ยกอ็ าจยบุ สลายหรอื กลบั มารวมตวั กนั ใหมหรอื จะเปน เครอื ขา ยทด่ี าํ เนนิ กจิ กรรม
อยา งตอ เนอื่ งระยะยาวก็ไดต ามความเหมาะสม

นับจากป 2550 – 2564 มีจํานวนสมาชิกท้ังสิ้นกวา 8,000 คน เพื่อชวยเฝาระวัง
อาชญากรรมคดพี เิ ศษในชมุ ชนของตนเองใหเ ขม แขง็ เพอื่ ปอ งกนั อาชญากรรมคดพี เิ ศษ ไดอ ยา ง
ยง่ั ยนื

กรมสอบสวนคดีพิเศษไดกําหนดวัตถุประสงคของการมีสวนรวมของเครือขายภาค
ประชาชนไดตอไปน้ี 1) เพ่ือพัฒนาความรวมมือในการขับเคลื่อนงานเครือขายและพันธมิตร
เฝา ระวงั ปญ หาการกระทาํ ผดิ คดพี เิ ศษอยา งเปน รปู ธรรม2)เพอื่ เสรมิ สรา งศกั ยภาพและระบบการ
ดาํ เนนิ การปอ งกนั เฝา ระวงั ปญ หาการกระทาํ คดพี เิ ศษในพน้ื ทเี่ ปา หมาย3)เพอ่ื สง เสรมิ การมสี ว น
รว มของประชาชนในการรว มกนั เฝา ระวงั ปอ งกนั ปญ หาการกระทาํ คดพี เิ ศษ ภายใตว ตั ถปุ ระสงค
สาํ คญั ทง้ั 3 ประการน้ี แลว ยงั เนน ยา้ํ หลกั คดิ สาํ คญั ของการดาํ เนนิ งาน ไดแ ก การดาํ เนนิ งานรว ม
กนั แบบพนั ธมติ รทางยทุ ธศาสตร (Strategic Partner) มงุ เนน การมสี ว นรว มของภาคประชาชน
(Peoples’ Participation) และคาํ นงึ ถงึ การจดั การแบบสรา งพลงั รว ม (Synergy) ภายใตห ลกั คดิ
และวัตถปุ ระสงคข องกระบวนการมีสวนรว มไดนํามากําหนดเปนแนวทางการทํางานทัง้ ในระดับ
ประเทศ ภมู ภิ าค และระดบั ปฏบิ ตั กิ ารในพน้ื ท่ี แนวทางการทาํ งานดงั กลา วมดี งั นี้ 1) ใชช มุ ชนเปน
ฐาน (Community Based) 2) มุงเนนการสรางการมีสวนรวมของประชาชน (Peoples’
Participation)3)เหน็ ความสาํ คญั เชอื่ มน่ั ยอมรบั ภาคประชาชน4)ไวว างใจเคารพและชว ยเหลอื
ซง่ึ กนั และกนั 5)ยอมรบั ความหลากหลายของวถิ ชี วี ติ วถิ วี ฒั นธรรมและสถานการณท แ่ี ตกตา งและ
6) ใชฐ านการทาํ งานแบบเครอื ขา ย (Network)

ในกระบวนการมสี ว นรว มของเครอื ขา ยภาคประชาชนในการปอ งกนั อาชญากรรมคดี
พิเศษน้ัน ดร.กิตติพงษ กิตยารักษ ปลัดกระทรวงยุติธรรม กลาววา การมีสวนรวมของภาค
ประชาชนในกระบวนการยตุ ธิ รรม เปน หวั ใจความสาํ เรจ็ ของกระบวนการยตุ ธิ รรม เพราะความ
จรงิ แลว คนในชมุ ชนสามารถทาํ ใหเ กดิ ความสงบสขุ ไดโ ดยไมจ าํ เปน ตอ งใชก ระบวนการยตุ ธิ รรม
แตถ า มเี รอื่ งทตี่ อ งเขา มาสกู ระบวนการยตุ ธิ รรมสงิ่ ทชี่ มุ ชนจะชว ยไมว า จะเปน การแจง ขอ มลู เบาะแส
การเฝาระวัง เปนการชวยเสริมใหกระบวนการยุติธรรมประสบผลสําเร็จ อีกทั้งการเขามาเปน
เครอื ขา ยดเี อสไอก็ใหผ ลโดยตรงกบั ประชาชนจงึ เปน ภาพทปี่ ระชาชนสนใจมคี วามหวงั และอยากให
ความรว มมอื เพราะดเี อสไอมอี าํ นาจในเชงิ กฎหมาย มเี ครอื่ งมอื ทจี่ ะไปสรา งสงิ่ ดงี ามใหก บั สงั คม
ไทยได ตอนนเี้ ครอื ขา ยดเี อสไอภาคประชาชน คอื กลมุ คนรนุ บกุ เบกิ ทจี่ ะมารว มทาํ ใหน โยบายของ
กระทรวงยตุ ธิ รรมเดนิ หนา ไปไดแ ละทาํ ใหค าํ วา “ยตุ ธิ รรมถว นหนา ประชามสี ว นรว ม” เปน จรงิ ได
(กองสง เสรมิ และพฒั นาเครอื ขา ย,2551)

นิยามศัพท
ทเี่ ก่ียวของ

การมสี ว นรว มในการปอ งกนั ปญ หาอาชญากรรมคดพี เิ ศษ หมายถงึ กระบวนการที่
ใหป ระชาชนผมู สี ว นไดส ว นเสยี เขา มามสี ว นรว มในการปอ งกนั อาชญากรรมในชมุ ชน

การปองกันปญหาอาชญากรรม หมายถึง การกระทําใดๆ ท่ีนําไปสูการลด ละ เลิก
หยุดย้ังการกระทําผิดตางๆ ท้ังท่ีเปนอาชญากรรม และไมเปนอาชญากรรม เชน การรณรงค
เมาไมขับ เปนตน

ความรว มมอื ระดบั ชมุ ชน หมายถงึ การใชค วามรว มมอื ในการใชม าตรการและวธิ ตี า งๆ
เพอื่ ปอ งกนั ทรพั ยส นิ ของบคุ คลอน่ื ๆในชมุ ชน เพอ่ื ใหพ น จากภยั อาชญากรรมคดพี เิ ศษ

เครอื ขา ยภาคประชาชน หมายถงึ ประชาชนหรอื กลมุ คนในชมุ ชนทมี่ ารวมตวั กนั มกี าร
จดั กจิ กรรมรว มกนั ในการปอ งกนั และแกไขปญ หาอาชญากรรม โดยมรี ะบบในการบรหิ ารจดั การ
มีแกนนําเครือขาย และมีการสมัครเปนสมาชิกเครือขาย เพื่อเขามามีบทบาทในการปองกัน
อาชญากรรมในชมุ ชน

เครือขายเฝาระวังอาชญากรรมคดีพิเศษของกรมสอบสวนคดีพิเศษ หมายถึง
ประชาชน กลมุ คน ชมุ ชน องคก รเอกชน ทม่ี คี วามสนใจในการเรยี นรเู รอ่ื งอาชญากรรมคดพี เิ ศษ
มกี ารแลกเปลย่ี นขอ มลู ขา วสารเกย่ี วกบั อาชญากรรมคดพี เิ ศษในแตล ะพน้ื ทช่ี มุ ชนมกี ารลงมอื ทาํ
กจิ กรรมรว มกนั

แนวทางการจดั การการมสี ว นรว มของประชาชน

สมลักษณา ไชยเสริฐ (2549 : 142-149) จําแนกแนวทางการจัดการการมีสวนรวม
ของประชาชนเปน 3 ดา นหลกั คอื ดา นประชาชน (Public) ดา นการมสี ว นรว ม (Participation) และ
ดา นภาครฐั โดยการมสี ว นรว ม(Participation)มวี ตั ถปุ ระสงคห ลกั เพอ่ื ใหป ระชาชนทเ่ี ปน บคุ คลหรอื
คณะบุคคลเขามามีสวนรวมในขั้นตอนตางๆ ในการดําเนินการพัฒนา ชวยเหลือ สนับสนุน
ทาํ ประโยชนในเรอื่ งตา งๆ หรอื กจิ กรรมตา งๆ ตงั้ แตร ว มคดิ รว มตดั สนิ ใจ รว มดาํ เนนิ การ รว มรบั ผล
ประโยชน และรว มประเมนิ ผลเพอ่ื ใหเ กดิ การยอมรบั และกอ ใหเ กดิ ผลประโยชนส งู สดุ กนั ทกุ ฝา ย ดงั นี้

1.การรบั รู(Perception)สมลกั ษณาไชยเสรฐิ มคี วามคดิ เหน็ วา ควรสรา งจติ สาํ นกึ

ใหท ง้ั ภาครฐั และประชาชน ใหม คี วามตระหนกั รบั รู ยอมรบั ในสทิ ธหิ นา ทแี่ ละสว นรว มของทกุ ฝา ย
โดยภาครฐั นนั้ เจา หนา ทขี่ องรฐั จะตอ งสรา งสาํ นกึ ใหมว า กจิ การทตี่ นรบั ผดิ ชอบไมใ ช “รฐั กจิ ” หรอื
“กจิ การของรฐั ”ทตี่ นเทา นน้ั มสี ทิ ธติ ดั สนิ ใจหากแตเ ปน สาธารณกจิ ทส่ี าธารณชนชอบทจ่ี ะมสี ว นรว ม
ในการคดิ รว มกระทาํ หรอื ตรวจสอบหากเจา หนา ทข่ี องรฐั ไมป รบั ทศั นคตใิ หไดเ ชน นี้อาจตอ งเผชญิ
กบั สภาวะทนี่ าํ ไปสกู ารเกดิ ขอ ขดั แยง กบั ประชาชนกลมุ ทตี่ อ งการมสี ว นรว ม สาํ หรบั ภาคประชาชน
การตระหนกั การรบั รแู ละยอมรบั ในสทิ ธแิ ละหนา ท่ีตลอดจนการมสี ว นรว มนน้ั ตอ งเขา ใจวา ตนเอง
และผอู นื่ ตา งกม็ สี ทิ ธหิ นา ทแี่ ละสว นรว มเสมอกนั ตามหลกั การเทา เทยี มกนั ดงั นนั้ ผทู เี่ กยี่ วขอ งทกุ
ฝา ยตอ งยอมรบั การ“รอมชอม”และ“ประสานประโยชน” มฉิ ะนนั้ ความแตกตา งในผลประโยชนแ ละ
จดุ ยนื จะนาํ ไปสคู วามขดั แยง และความรนุ แรงในทส่ี ดุ

2.ทศั นคติ (Attitude) ตอ งสรา งความเขา ใจและปรบั ทศั นคตขิ องบคุ ลากรภาครฐั

และภาคประชาชนทง้ั สองฝา ยใหม ที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ การมสี ว นรว มของประชาชนภาครฐั จะตอ งเลง็ เหน็
วา การมสี ว นรว มของประชาชนเปน เรอื่ งทต่ี อ งสง เสรมิ เพอื่ ประโยชนห ลายประการอาทิเพอ่ื การได
ขอ มลู ขอ เทจ็ จรงิ และความคดิ ทห่ี ลากหลาย รวมทงั้ บคุ ลากรภาครฐั ผรู บั ผดิ ชอบดา นการมสี ว น
รวมจะตองมีทัศนคติท่ีดีตอประชาชนและตอกระบวนการมีสวนรวม มีการปรับปรุงบทบาทและ
คา นยิ มตลอดจนตอ งมคี วามอดทนในการทาํ งานกบั ประชาชนเพราะการมสี ว นรว มตอ งใชร ะยะเวลา
ยาวนานตอ งทาํ อยา งตอ เนอ่ื งและมคี วามจรงิ ใจตอ ประชาชนขณะเดยี วกนั ภาคประชาชนควรเขา ใจ
ความสาํ คญั ของการมสี ว นรว มของประชาชน และจะตอ งมที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ กระบวนการมสี ว นรว ม
และตอเจาหนาที่เชนเดียวกัน ซ่ึงจะกอใหเกิดความสัมพันธอันดีระหวางประชาชนและเจาหนาท่ี
กอ ใหเ กดิ ความไวว างใจซง่ึ กนั และกนั มากขน้ึ สง ผลใหก จิ กรรมการมสี ว นรว มบรรลเุ ปา หมายไดอ ยา ง
มปี ระสทิ ธภิ าพดงั นนั้ หากทง้ั สองฝา ยตา งมที ศั นคตทิ ดี่ ตี อ การมสี ว นรว มตอ กนั แลว ความรว มมอื
“ประชารฐั ” กจ็ ะพฒั นาไดด ยี งิ่ ขน้ึ

9-
86
7 5 3+
42.

1 00
0

3.การเปน ตวั แทน (Representation) การสรรหาและคดั เลอื กตวั แทนจะตอ ง

คาํ นงึ ถงึ ประชาชน ทกุ กลมุ ทกุ ฝา ย เพอ่ื ใหป ระชาชนกลมุ ตา งๆทห่ี ลากหลายทกุ กลมุ นน้ั มตี วั แทน
เขา ไปรว มดว ย เพอ่ื การประสานผลประโยชนใหเ กดิ กบั ทกุ ฝา ยและเกดิ ความเปน ธรรมขนึ้ รวมทง้ั
ควรคาํ นงึ ถงึ คณุ สมบตั ขิ องตวั แทนทต่ี อ งการดว ย โดยพจิ ารณาจากคณุ สมบตั ใิ นดา นตา งๆ เชน
ทกั ษะและความสามารถทเี่ กอื้ หนนุ กนั ความสอดคลอ งของเทคโนโลยี วตั ถปุ ระสงค คา นยิ ม และ
วัฒนธรรมองคกร การตอบสนองซึ่งกันและกัน ความรับผิดชอบ ความมั่นคงดานการเงิน
ความสามารถในการสรา งความเชอื่ มนั่ เปน ตน นอกจากนี้กลมุ ทเ่ี ปน ตวั แทนจะตอ งมคี วามนา เชอื่ ถอื
จากทกุ ฝา ยหรอื ผมู สี ว นไดส ว นเสยี อกี ทงั้ ยงั มปี จ จยั ทสี่ าํ คญั อกี ประการหนงึ่ ทต่ี อ งตระหนกั ถงึ คอื
สมาชิกที่เปนตัวแทนตองมีความรูสึกเปนอันหน่ึงอันเดียวกันและเคารพสิทธิของแตละบุคคล
เนอ่ื งจากวา การมสี ว นรว มจะตอ งอาศยั ซง่ึ กนั และกนั

4.ความเชอ่ื มนั่ และไวว างใจ(Trust)การมสี ว นรว มนนั้ ตอ งสรา งใหส มาชกิ มคี วาม

เขา ใจและมคี วามจรงิ ใจในการเขา รว มกจิ กรรมสง่ิ ทจ่ี ะไดต ามมาคอื ความเชอื่ มน่ั และไวว างใจ(Trust)
ในองคก รโดยสรา งความเชอ่ื มน่ั และไวว างใจกนั นนั้ จาํ ตอ งแสดงใหเ หน็ อยา งชดั เจนดว ยการกาํ หนด
ใหเ ปน รปู ธรรมและเปน วฒั นธรรมองคก ร การสรา งความเชอื่ ถอื ศรทั ธา ความไวว างใจกนั และกนั
เปน เงอื่ นไขสาํ คญั ทจี่ ะทาํ ใหก ระบวนการมสี ว นรว มประสบความสาํ เรจ็ หรอื ลม เหลว แนวทางการ
สรา งความเชอ่ื ถอื ไวว างใจอาจกระทาํ ไดคอื การแลกเปลยี่ นขอ มลู ขา วสารการดาํ เนนิ กจิ กรรมการ
มสี ว นรว มอยา งตอ เนอื่ ง และนาํ เสนอขอ มลู ขอ เทจ็ จรงิ อยา งตรงไปตรงมาครบถว น รวมทงั้ ตอ งมี
การตดิ ตอ ระหวา งสมาชกิ อยา งสมา่ํ เสมอบอ ยครง้ั และทาํ อยา งตงั้ ใจทง้ั ทเี่ ปน ทางการและไมเ ปน
ทางการภายในองคก ร ซง่ึ เปน สงิ่ ทจี่ ะทาํ ใหเ กดิ ความสาํ เรจ็ ในการสรา งและดาํ รงไวซ ง่ึ ความเชอ่ื มน่ั
และความไวว างใจ การรว มมอื ซงึ่ กนั และกนั

5)การแลกเปลยี่ นขอ มลู ขา วสาร(Information-Sharing)สรา งกลไกเพอ่ื

การแลกเปลย่ี นขอ มลู ขา วสารเนอื่ งจากการมสี ว นรว มเปน กระบวนการทาํ ใหข อ มลู ขา วสารทงั้ ดา น
ท่ีเปนขอเท็จจริงและดานท่ีเปนความคิด ความรูสึก ความคาดหวัง ไดถูกแสดงออกมาอยาง
หลากหลายและสมบรู ณค รบถว นมากขน้ึ ซงึ่ จะทาํ ใหก ารวนิ จิ ฉยั ปญ หาและการเสนอทางเลอื กใน
การแกไขปญ หามหี ลายแนวทาง อกี ทงั้ ยงั ตรงกบั ความตอ งการมากขน้ึ ผลทตี่ ามมา คอื ทาํ ใหก าร
ตดั สนิ ใจในการกาํ หนดนโยบายและการวางแผนดาํ เนนิ ไปไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพรอบคอบและรอบ
ดา นยงิ่ ขนึ้ โดยการทปี่ ระชาชนจะมสี ว นรว มไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพนน้ั จาํ เปน จะตอ งมคี วามรแู ละมี
ขอ มลู ขา วสารเพยี งพอในนโยบายทตี่ นตอ งการมสี ว นรว มขอ มลู ขา วสารเหลา นสี้ ว นใหญม กั จะเปน
ของหนว ยงานทเ่ี ปน ผรู เิ รมิ่ นโยบาย บางสว นเกดิ จากการศกึ ษาของนกั วชิ าการและองคก รพฒั นา
เอกชน ดงั นนั้ ประชาชนทสี่ นใจการมสี ว นรว มกบั นโยบายใด อาจไปขอความรว มมอื และขอ มลู จาก
บคุ คลและองคก รเหลา นน้ั

6) ฉันทามติ (Consensus) การมีสวนรวมเปนการสรางฉันทามติ โดยการให

ประชาชนและผทู เี่ กย่ี วขอ งทกุ ภาคสว นเขา รว มในการหาวธิ แี กไขปญ หาทย่ี งุ ยากซบั ซอ น รว มกนั
หาทางออกสาํ หรบั การแกไขปญ หาตา งๆในทางสนั ติเปน ทย่ี อมรบั หรอื เปน ฉนั ทามตขิ องประชาสงั คม
ซงึ่ ทกุ คนยนิ ยอมเหน็ พอ งตอ งกนั ในทกุ ๆขนั้ ตอนของกระบวนการการมสี ว นรว ม โดยเสาหลกั ของ
การมสี ว นรว มทด่ี กี ค็ อื การทป่ี ระชาชนสามารถทจี่ ะรว มมอื กนั ลดความขดั แยง สรา งขอ ตกลงที่
มนั่ คงยนื ยาว การยอมรบั ระหวา งกลมุ และหาขอ สรปุ รว มกนั ไดท กุ ฝา ย แมว า อาจจะมคี วามเหน็ ท่ี
แตกตางกันก็ตาม ก็ตองสามารถท่ีจะปรับความเห็นที่ตางกันโดยการเจรจาหาขอยุติท่ีทุกฝาย
ยอมรบั กนั ไดอ ยา งสนั ตวิ ธิ ี เพอื่ นาํ ไปสขู อ สรปุ ทเ่ี หน็ พอ งหรอื ฉนั ทามตริ ว มกนั ไดท กุ ฝา ย

7) การมปี ฏสิ มั พนั ธ (Interaction)องคก รการมสี ว นรว มตอ งสรา งใหเ กดิ การมี

ปฏิสัมพันธระหวางกันในองคกร กลาวคือ จะตองจัดกิจกรรมใหมีรูปแบบท่ีเอื้อตอการพูดคุย
แลกเปลยี่ นขอ มลู ขา วสาร ความคดิ เหน็ ของกนั และกนั เปน การสอื่ สารแบบ 2 ทาง (Two Ways
Communication) กอใหเกดิ ความสมั พันธท ดี่ ีระหวา งกนั ซงึ่ จะนําไปสกู ารลดอคติทมี่ ีตอ กนั และ
เกดิ ความเขา ใจทด่ี ขี น้ึ ระหวา งผทู เ่ี ขา รว ม สง่ิ เหลา นนี้ บั วา เปน กลไกทจ่ี ะชว ยปอ งกนั ความขดั แยง ท่ี
อาจจะเกิดขึ้น สําหรับกรณีท่ีมีความขัดแยงเกิดขึ้นแลวก็จะเปนกลไกท่ีชวยบรรเทาความขัดแยง
ใหล ดระดบั ความรนุ แรงลงได ซงึ่ การมปี ฏสิ มั พนั ธในกระบวนการมสี ว นรว มของประชาชนกเ็ พอ่ื
ท่ีจะใหเกิดการตัดสินใจที่ดีขึ้นและรับการสนับสนุนจากสาธารณชน เปาหมายของกระบวนการ
มีสวนรวมของประชาชนก็คือการใหขอมูลตอสาธารณชนและใหสาธารณชนแสดงความคิดเห็น
ตอ โครงการทนี่ าํ เสนอหรอื นโยบายรฐั รวมทงั้ มสี ว นรว มในการแกป ญ หาเพอ่ื หาทางออกทเี่ หมาะสม
และย่งั ยนื ตลอดจนสรางความสมั พนั ธท ่ดี สี ําหรบั ทกุ ๆคน

8) ความประสงคห รอื ความมงุ หมาย (Purpose) ตอ งกาํ หนดความประสงค

หรอื ความมงุ หมายในการมสี ว นรว มไวอ ยา งชดั เจนวา เปน ไปเพอ่ื อะไร ผเู ขา รว มจะไดต ดั สนิ ใจถกู
วา ควรเขา รว มหรอื ไมการมคี วามมงุ หมายทต่ี อ งการบรรลชุ ดั เจนจะทาํ ใหส มาชกิ ผเู ขา รว มไดเ ขา ใจ
ตรงกนั และเดนิ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั ซงึ่ จะสะทอ นใหเ หน็ ความเปน เอกภาพทางความคดิ เหน็ เอกภาพ
ในการดําเนินกิจกรรม และความเขมแข็งขององคกร นอกจากน้ีการมีสวนรวมตองมีกิจกรรม
เปาหมาย ในการใหประชาชนเขามีสวนรวมตองระบุลักษณะของกิจกรรมวามีรูปแบบและ
ลกั ษณะอยา งไร เพอื่ ทปี่ ระชาชนจะไดต ดั สนิ ใจวา ควรเขา รว มหรอื ไม รวมทงั้ ขน้ั ตอนของกจิ กรรม
จะตองระบุวา กิจกรรมแตละอยา งมกี ขี่ ้นั ตอน และประชาชนสามารถเขารว มในขัน้ ตอนใดบา ง

9.การประเมนิ ผล (Appraisal) สาํ หรบั การมสี ว นรว มนน้ั จาํ เปน อยา งยง่ิ ทตี่ อ งมี

ระบบการประเมนิ ผลเนอ่ื งจากการประเมนิ ผลเปน ขน้ั ตอนหนง่ึ ในกระบวนการมสี ว นรว มและถอื เปน
เครื่องมือสําคัญอยางหน่ึงของผูบริหารในการบริหารทรัพยากรบุคคลใหเกิดประโยชนสูงสุด
องคกรใดท่ีมีการประเมินผลการปฏิบัติงานที่เปนธรรม โปรงใส และขจัดทัศนคติสวนตัวออกได
มากทส่ี ดุ ถอื วา องคก รนนั้ ใชเ ครอื่ งมอื นอี้ ยา งไดผ ลและเกดิ ประโยชนในทาํ นองเดยี วกนั การประเมนิ ผล
การปฏบิ ตั กิ าร การปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรในองคก ร ยอ มสง ผลถงึ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล
ขององคกรไดเชนเดียวกัน ซ่ึงผลของกระบวนการประเมินผลก็จะกลายเปนปจจัยนําเขา
ในกระบวนการมีสวนรวมในขั้นตอนการวางแผน เพื่อนําปญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึนในทางปฏิบัติ
มาปรบั ปรงุ แกไขและพฒั นาผลการดาํ เนนิ งานใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขนึ้ ดงั นนั้ การมสี ว นรว ม
ของประชาชนในการประเมินผลงาน (Performance Appraisal) จึงตองเริ่มตั้งแตการเขา
รวมควบคุม รวมติดตาม รวมประเมินผล รวมบํารุงรักษาโครงการและกิจกรรมที่จัดทําไว
ทง้ั โดยเอกชนและรฐั บาลใหใชประโยชนไดตลอดไป

10.ความโปรง ใส (Transparency) ปรบั ปรงุ กลไกการทาํ งานขององคก รใหม ี

ความโปรง ใส เนอ่ื งจากการมสี ว นรว มนนั้ เปน กระบวนการทที่ าํ ใหป ระชาชนมโี อการตรวจสอบการ
ใชด ลุ ยพนิ จิ ในการตดั สนิ ใจของรฐั บาลและหนว ยงายของรฐั ซงึ่ จะกอ ใหเ กดิ ความโปรง ใสในการ
ดาํ เนนิ การ ลดการทจุ รติ และขอ ผดิ พลาดของนโยบาย แผน และโครงการได โดยการสรา งความไว
วางใจซง่ึ กนั และกนั ของคนในองคก รความโปรง ใสจดั วา เปน องคป ระกอบหนง่ึ ของการบรหิ ารกจิ การ
บา นเมอื งทด่ี ี อนั ประกอบดว ยความไวว างใจ การเปด เผยขอ มลู การเขา ถงึ ขอ มลู และกระบวนการ
ตรวจสอบ

11.ความเปน อสิ ระ (Independence) องคก รการมสี ว นรว มจะตอ งมคี วามเปน

ประชาธปิ ไตยโดยการใหเ กยี รตยิ อมรบั ความคดิ เหน็ ของกนั และกนั สมาชกิ ทกุ คนในองคก รมอี สิ ระ
ทางความคดิ การทสี่ มาชกิ มสี ว นรว มในการเสนอความคดิ เหน็ และตดั สนิ ใจจะเปน ปจ จยั ใหเ กดิ ความ
รสู กึ รบั ผดิ ชอบรว มกนั หลกั การและเงอ่ื นไขสาํ คญั ของการมสี ว นรว มประการหนงึ่ คอื ความเปน
อิสระ หรือความสมัครใจที่จะเขารวมหรือไมเขารวม การบังคับขมขูไมวาจะอยูในรูปแบบของ
การคกุ คาม การระดม และการวา จา ง ลว นไมถ อื วา เปน การมสี ว นรว ม

12.กา วไปขา งหนา อยา งตอ เนอื่ ง (Onward-Doing) องคก รการมสี ว นรว ม

ตองเปดโอกาสประชาชนเขามามีสวนรวมอยางตอเนื่องสม่ําเสมอ เนื่องจากการมีสวนรวมของ
ประชาชนทาํ ใหเ กดิ ประสบการณการเรยี นรแู ละองคค วามคดิ ใหมท ท่ี า ทายอยา งตอ เนอื่ งดงั นน้ั เพอ่ื
ใหเกิดการมีสวนรวมของภาคประชาชนท่ีกาวไปขางหนาอยางตอเนื่อง ภาครัฐจะตองเตรียม
ประชาชนใหม คี วามพรอ มและเหน็ ประโยชนข องการมสี ว นรว มดว ยการใหค วามรูและการสรา งความ
เขา ใจในบทบาทของการมสี ว นรว มของภาคประชาชนรวมทง้ั มกี ารพดู คยุ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็
ซง่ึ กนั และกนั อยา งตอ เนอื่ ง โดยความสมั พนั ธร ะหวา งสมาชกิ จะเปน ตวั กาํ หนดทส่ี าํ คญั ทจี่ ะทาํ ให
การมีสวนรวมของประชาชนเปนไปอยางตอเน่ืองสม่ําเสมอ การมีสวนรวมของประชาชนอยาง
ตอเนื่องนี้ ถือเปนปจจัยสําคัญท่ีจะบงบอกถึงความเขมแข็งของการมีสวนรวม รวมท้ังจะทําให
เกิดความม่ันใจไดวาการเปล่ียนแปลงท่ีอาจเกิดข้ึนจะเปนไปในทิศทางที่พึงปรารถนา กอให
เกิดประโยชนตอ ชมุ ชนและสงั คม

13.เครอื ขา ย(Network) สง เสรมิ ใหม กี ารผนกึ กาํ ลงั รว มกนั ของทง้ั ภาครฐั และภาค

ประชาชนในลกั ษณะเครอื ขา ย กลา วคอื การสรา งความเขา ใจ การผนกึ กาํ ลงั ใหต ระหนกั ถงึ องคก ร
ตอ งเกดิ ขนึ้ เพอ่ื สรา งประโยชนในเชงิ การทาํ งานรว มในรปู แบบกจิ กรรม โครงการ แผนงานทจี่ ะตอ ง
อาศยั ความรว มมอื กนั ตอ งผนกึ กาํ ลงั ขอความรว มมอื หรอื อาศยั การทาํ กจิ กรรมรว มมอื กนั หลาย
องคก ร ซงึ่ เครอื ขา ยความรว มมอื จะตอ งเกดิ ขนึ้ จากวธิ คี ดิ ของสมาชกิ ผบู รหิ าร และบคุ คลในชมุ ชน
เปน หลกั โดยเครอื ขา ยความรว มมอื นนั้ จาํ เปน ตอ งใหม ตี วั แทนของประชาชนเพอื่ พบปะแลกเปลยี่ น
ทศั นคติแนวคดิ และกลา วถงึ วตั ถปุ ระสงคร ว มกนั ฉะนนั้ เครอื ขา ยการมสี ว นรว มจงึ เปน กระบวนการ
เชอื่ มโยงสมาชกิ ในกลมุ หรอื เชอ่ื มโยงองคก รการมสี ว นรว มกบั สมาชกิ ประชาชนและกลมุ /องคก ร
ตา งๆ ในชมุ ชนเขา ดว ยกนั โดยมรี ปู แบบความสมั พนั ธก ารมสี ว นรว มในแนวราบขององคก ร การมี
สวนรวมและชุมชน รวมทั้งเปนกระบวนการสงเสริมสนับสนุนประชาชนใหสามารถพัฒนาชุมชน
ตนเองโดยอาศยั เครอื ขา ยการมสี ว นรว มในการทาํ งานของคนในชมุ ชนเพอื่ รว มกนั แกไขปญ หาของ
คนและปญ หาสว นรวมในชมุ ชน โดยทกี่ ารดาํ เนนิ งานของเครอื ขา ยจะนาํ ไปสกู ารพฒั นาการมสี ว น
รว มทยี่ งั่ ยนื ไดในทสี่ ดุ

ดงั นนั้ การสรา งการมสี ว นรว มของประชาชนสามารถกระทาํ ไดห ลายระดบั และ
หลายวธิ ขี นึ้ อยกู บั ความตอ งการเขา มามสี ว นรว มของประชาชนคา ใชจ า ยและความจาํ เปน
ในการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม การมีสวนรวมของประชาชนเปนเร่ือง
ละเอยี ดออ นจงึ ตอ งมพี ฒั นาการความรูความเขา ใจในการใหข อ มลู ขา วสารทถี่ กู ตอ งแก
ประชาชน การรบั ฟง ความคดิ เหน็ การเปด โอกาสใหป ระชาชนเขา มามสี ว นรว ม รวมทงั้
พฒั นาทกั ษะและศกั ยภาพของขา ราชการทกุ ระดบั ควบคไู ปดว ยกนั

แนวทางการจดั การ
การมสี ว นรว มของประชาชน

การรบั รู ( Perception ) ทศั นคติ ( Attitude ) (Rกeาpรrเeปsน eตnวัtaแtทioนn)

ความเชอ่ื มน่ั และไวว างใจ(Trust) ( Inกfาoรrแmลaกtเiปoลnย่ี –นSขาhวaสriาnรg )

ฉนั ทามติ ( Consensus ) การมปี ฏสิ มั พนั ธ ( Interaction )

ความประส(งPคuห rรpอืoคseวา)มมงุ หมาย การประเมนิ ผล ( Appraisal )

ความโปรง ใส (Transparency) ความเปน อสิ ระ ( Independence )

กา ว(ไOปขnา wงaหrนdา –อยDา oงiตnอgเ)นอื่ ง เครอื ขา ย ( Network )

ทาํ ไมตองมเี ครอ� ขาย

วตั ถปุ ระสงคท แี่ ทจ รงิ ของการสรา งเครอื ขา ย

การสรา งเครอื ขา ยทแี่ ทจ รงิ เพอ่ื การแลกเปลยี่ นขอ มลู ขา วสารระหวา งสมาชกิ และการแบง ปน
ขอมูลขาวสาร อาทิ ขอมูลดานการวิจัยศึกษา ฝกอบรมดานอาชญากรรม ดานเทคโนโลยี
เครอ่ื งมอื ในการประกอบอาชพี หรอื บางเครอื ขา ยกอ ตงั้ เพอื่ สรา งจติ สาํ นกึ รว มกนั ทางสงั คมหรอื เพอ่ื
ผลกั ดนั การกาํ หนดนโยบายของรฐั เพอ่ื พทิ กั ษผ ลประโยชนข องพน้ื ที่ชมุ ชนหลายแหง มวี ตั ถปุ ระสงค
หลายดาน ท้ังแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ท้ังรวมมือกันในการจัดการฝกอบรมและวิจัย รวมทั้ง
ผลกั ดนั นโยบายของรฐั ในการจดั การเครอื ขา ยรปู แบบของเครอื ขา ยมที งั้ การกระจายและศนู ยร วมอาํ นาจ
หรอื มอี งคก รเปน แกนหลกั โดยมกี ารสง ขา วถงึ กนั ผา นองคก รแกนนาํ โดยเนน การตดิ ตอ กนั โดยตรง
ระหวา งสมาชกิ ถา ไมเ ปน ทางการจะมกี ารสง ขา วเปน ระดบั ซง่ึ ทงั้ นจี้ ะมกี ารพฒั นาจนเปน ศนู ยม ากขน้ึ
การกอต้ังเครือขายที่เปนการวางแผนของหนวยงานราชการ การรวมมือขององคกรระหวาง
ประเทศองคก รพฒั นาเอกชนหรอื หนว ยงานภาคเอกชนทใี่ หก ารอดุ หนนุ เงนิ ทนุ เครอื ขา ยตอ งมกี าร
วางรากฐาน การกอ ตง้ั ตอ งอยบู นพน้ื ฐานของการมสี ว นรว มอยา งเขม แขง็ และการตดิ ตอ สมั พนั ธ
กนั ของสมาชกิ ทตี่ า งกม็ อี าํ นาจอสิ ระของตน

เครอื ขา ยเปน องคป ระกอบทส่ี าํ คญั ในการแกไขดา นการพฒั นา

การทํางานลักษณะเชนน้ี เมื่อตองการท่ีจะพัฒนา ทั้งทางเทคโนโลยี การฝกอบรม
การวจิ ยั ขอ เสนอโครงการ หรอื อน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งในกจิ กรรมการพฒั นาบคุ คลหรอื องคก ร กจ็ ะใช
สงิ่ ตา งๆทพ่ี อจะหาไดใกลม อื และอาจมกี ารออกแบบใหมห รอื สรา งขน้ึ ใหมถ า จาํ เปน ซง่ึ ตอ งเสยี เวลา
คนหายาวนาน สามารถชวยแกปญหาขางตนได แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร รวมท้ังบทเรียน
และประสบการณกับบุคคลหรือองคกรท่ีอยูนอกหนวยงานหรือองคกรของตน มีความรวมมือ
ซงึ่ กนั และกนั การจาํ แนกเครอื ขา ยทดี่ าํ เนนิ งานในพนื้ ทห่ี นง่ึ มที งั้ เครอื ขา ยระดบั ประเทศ เครอื ขา ย
ระหวางประเทศ เครือขายระดับภูมิภาค เครือขายระดับจังหวัด หรือระดับตําบล ระดับหมูบาน
เปน ไปตามสภาพของความจาํ เปน หรอื ความสาํ คญั ของพนื้ ที่ หรอื ระดบั ปญ หาทเี่ กดิ ขนึ้ ก็ได

องคป ระกอบของเครอื ขา ย

เครอื ขา ยมอี งคป ระกอบทสี่ าํ คญั อยอู ยา งนอ ย 6 อยา งดว ยกนั คอื
1.การรบั รแู ละมมุ มองเหมอื นกนั ( Common Perception )
2.การมวี สิ ยั ทศั นร ว มกนั ( Common Vision )
3.มคี วามสนใจหรอื ผลประโยชนร ว มกนั
4.การมสี ว นรว มของสมาชกิ ทกุ คนในเครอื ขา ย
5.มกี ารเสรมิ สรา งซงึ่ กนั และกนั และ มกี ารเกอ้ื หนนุ พงึ่ พากนั
6.การเกอื้ หนนุ พงึ่ พากนั
7.มปี ฏสิ มั พนั ธก นั ในเชงิ แลกเปลยี่ น

Title 01

การรบั รูและ
มมุ มองเหมอื นกัน

Title 07 Title 02

มปี ฏิสมั พนั ธก ัน การมีวิสัยทศั น
ในเชงิ แลกเปลย่ี น รว มกัน

Title 06 องคประกอบ Title 03
ของเครือขาย
การเกือ้ หนนุ มีความสนใจ/
พึ่งพากนั ผลประโยชน

รว มกัน

Title 05 Title 04

การเสรมิ สรา ง การมสี วนรว มของ
ซึ่งกนั และกัน สมาชิกทุกคน

EX

! ตองทำใหเ ครอื ขายม่ันใจ/เขา ใจและเทาเทียมกนั

1.การรบั รแู ละมมุ มองเหมอื นกนั

สมาชกิ ในเครอื ขา ยตอ งมคี วามรสู กึ นกึ คดิ และการรบั รเู หมอื นกนั ถงึ เหตผุ ลในการเขา มา
รว มกนั เปน เครอื ขา ย อาทเิ ชน มคี วามเขา ใจดว ยตวั ปญ หาและมจี ติ สาํ นกึ ในการแกไขปญ หารว มกนั
ประสบกบั ปญ หาอยา งเดยี วกนั หรอื ตอ งการความชว ยเหลอื ในลกั ษณะทคี่ ลา ยคลงึ กนั ซง่ึ จะสง ผล
กระทบใหส มาชกิ ของเครอื ขา ยชว ยใหเ กดิ ความรสู กึ ผกู พนั ในการดาํ เนนิ กจิ กรรมรว มกนั เพอื่ แกไข
ปญ หาหรอื ลดความเดอื ดรอ นทเี่ กดิ ขนึ้

การรบั รรู ว มกนั ถอื เปน หวั ใจของเครอื ขา ยทท่ี าํ ใหเ ครอื ขา ยดาํ เนนิ ไปอยา งตอ เนอื่ งเพราะ
ถา เรมิ่ ตน ดว ยการรบั รทู ตี่ า งกนั มมี มุ มองหรอื แนวความคดิ ท่ีไมเ หมอื นกนั จะประสานงานและขอ
ความรว มมอื ยาก เพราะแตล ะคนจะตดิ อยใู นกรอบแนวความคดิ ของตนเอง มองปญ หาหรอื ความ
ตอ งการไปคนละทศิ ละทาง แตท งั้ นมี้ ไิ ดห มายความวา สมาชกิ ของเครอื ขา ยจะมคี วามเหน็ ตา งกนั ไม
ได เพราะมมุ มองทแ่ี ตกตา งชว ยใหเ กดิ ความสรา งสรรคในการทาํ งาน แตค วามแตกตา งนน้ั ตอ งอยู
ในสว นของกระบวนการภายใตก ารรบั รถู งึ ปญ หาทสี่ มาชกิ ทกุ คนยอมรบั แลว มฉิ ะนน้ั ความเหน็ ทตี่ า ง
กนั จะนาํ ไปสคู วามแตกแยกและแตกหกั ในทสี่ ดุ

2.การมวี สิ ยั ทศั นร ว มกนั

วสิ ยั ทศั นร ว มกนั หมายถงึ การทสี่ มาชกิ มองเหน็ จดุ หมายในอนาคตทเี่ ปน ภาพเดยี วกนั
มกี ารรบั รแู ละเขา ใจในทางเดยี วกนั และมเี ปา หมายทจี่ ะเดนิ ในทางเดยี วกนั การมวี สิ ยั ทศั นร ว มกนั ทาํ ให
กระบวนการขบั เคลอื่ นเกดิ พลงั มคี วามเปน เอกภาพ และชว ยผอ นคลายความขยั แยง อนั เกดิ จาก
ความเหน็ แตกตา งกนั ในทางตรงกนั ขา ม ถา วสิ ยั ทศั นห รอื เปา หมายของสมาชกิ บางกลมุ ขดั แยง กบั
วสิ ยั ทศั นห รอื เปา หมายของเครอื ขา ย พฤตกิ รรมของสมาชกิ กลมุ นน้ั กจ็ ะแตกตา งจากแนวปฏบิ ตั ทิ ่ี
สมาชกิ เครอื ขา ยกระทาํ รว มกนั ดงั นนั้ แมว า ตอ งเสยี เวลามากกบั ความพยายามในการสรา งวสิ ยั ทศั น
รว มกนั แตก จ็ าํ เปน ตอ งทาํ ใหเ กดิ ขนึ้ หรอื ถา สมาชกิ มวี สิ ยั ทศั นส ว นตวั อยแู ลว กต็ อ งปรบั ใหส อดคลอ ง
กบั วสิ ยั ทศั นข องเครอื ขา ยใหม ากทสี่ ดุ แมจ ะไมซ อ นทบั กนั แนบสนทิ จนเปน ภาพเดยี วกนั แตอ ยา งนอ ย
กค็ วรสอดคลอ ง รบั ไปในทศิ ทางเดยี วกนั

3.มคี วามสนใจหรอื มผี ลประโยชนร ว มกนั

คาํ วา ผลประโยชนในทน่ี ค้ี รอบคลมุ ทง้ั ผลประโยชนท เี่ ปน ตวั เงนิ และผลประโยชนท ่ีไมใ ชต วั
เงนิ เปน ความตอ งการของมนษุ ยในเชงิ ปจ เจก อาทเิ ชน เกยี รตยิ ศ ชอ่ื เสยี ง การยอมรบั โอกาสใน
การกา วหนา ความสขุ ความพงึ พอใจ ฯลฯ สมาชกิ ของเครอื ขา ยเปน มนษุ ยป ถุ ชุ นธรรมดาตา งกนั
มคี วามตอ งการเปน ของตวั เอง การเขา รว มในเครอื ขา ยสามารถตอบสนองความตอ งการของเขา
หรอื มผี ลประโยชนร ว มกนั กจ็ ะเปน แรงจงู ใจใหเ ขา มามสี ว นรว มในเครอื ขา ยมากขน้ึ ดงั นน้ั ในการที่
จะดงึ ใครสกั คนเขา มามสี ว นรว มในการดาํ เนนิ งานของเครอื ขา ยจาํ เปน ตอ งคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนท ่ี
เขาจะไดรับจากการเขารวมถาจะใหดีตองพิจารณาลวงหนากอนที่เขาจะรองขอ ลักษณะของผล
ประโยชนท ส่ี มาชกิ แตล ะคนจะไดร บั แตกตา งกนั แตค วามตอ งการใหท กุ คนและตอ งเพยี งพอทจี่ ะเปน
แรงจูงใจใหกับเขาเขามามีสวนรวมในการปฏิบัติงานไดจริง ไมใชการเขามาเปนเพียงไมประดับ
เนอ่ื งจากมตี าํ แหนง ในเครอื ขา ยแตไมไดร ว มการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เมอื่ ไหรก ต็ ามทส่ี มาชกิ เครอื ขา ยเหน็
วา เขาเสยี ผลประโยชนม ากกวา ไดห รอื เมอ่ื เขาไดในสงิ่ ทต่ี อ งการเพยี งพอแลว สมาชกิ เหลา นน้ั กจ็ ะ
ออกจากเครอื ขา ยไปในทส่ี ดุ

4.การมสี ว นรว มของสมาชกิ เครอื ขา ย

การมสี ว นรว มของสมาชกิ ในเครอื ขา ยเปน กระบวนการทส่ี าํ คญั มากในการพฒั นาความ
เขม แขง็ ของเครอื ขา ยเปน เงอ่ื นไขทที่ าํ ใหเ กดิ รว มรบั รูรว มตดั สนิ ใจและรว มลงมอื กระทาํ อยา งเขม แขง็
ดงั นน้ั สถานะของสมาชกิ ในเครอื ขา ยควรมคี วามเทา เทยี มกนั ทกุ คนอยใู นฐานะ “หนุ สว น Partner”
ของเครอื ขา ย เปน ความสมั พนั ธในแนวราบ horizontal relationship คอื ความสมั พนั ธฉ นั ทเ พอ่ื น
มากกวา ความสมั พนั ธในแนวดง่ิ vertical relationship ลกั ษณะเจา นายลกู นอ ง ซง่ึ บางคนกท็ าํ ได
ยากในทางปฏบิ ตั ิเพราะตอ งเปลย่ี นกรอบแนวความคดิ ของสมาชกิ ในเครอื ขา ยโดยการสรา งบรบิ ท
แวดลอ มอน่ื ๆเขา มาประกอบ แตถ า ทาํ ไดจ ะสรา งความเขม แขง็ ใหก บั เครอื ขา ยมาก

5.มีการเสริมสรางซ่ึงกันและกัน และ มีการเกื้อหนุนพึ่งพากัน มีการเสริมสราง
ซง่ึ กนั และกนั

องคประกอบที่จะทําใหเครือขายดําเนินไปอยางตอเน่ืองคือการท่ีสมาชิกของเครือขาย
ตางก็สรางความเขมแข็งใหกันและกัน ฝายหน่ึงไปชวยแกไขจุดออนของอีกฝายหน่ึงและทําให
ไดผลลัพธเพิ่มข้ึน ในรัชสมัยพลังทวีคูณมากกวาผลลัพธที่เกิดขึ้น เมื่อตางคนตางอยู เกื้อหนุน
พงึ่ พากัน interdependent

องคประกอบท่ีชวยทําใหเครือขายดําเนินไปอยางตอเน่ืองเชนเดียวกัน การท่ีสมาชิก
เครอื ขา ยตกอยใู นสภาวะจาํ กดั ทางดา นทรพั ยากร ความรู เงนิ ทนุ กาํ ลงั คนฯลฯ ไมส ามารถทาํ งาน
ใหบ รรลเุ ปา หมายอยา งสมบรู ณไดด ว ยตนเองโดยปราศจากเครอื ขา ยจาํ เปน ตอ งพง่ึ พาซง่ึ กนั และกนั
ระหวา งสมาชกิ เครอื ขา ย ทาํ ใหห นุ สว นของเครอื ขา ยโยงกนั อยา งเหนยี วแนน ทาํ ไมตอ งทาํ ใหห นุ สว น
ของแตละคนรูสึกวาหากตองรูสึกของคนใดคนหนึ่งออกไปจะทําใหการขายลดลงไดการดํารงอยู
ของตน สนแตล ะคนจงึ จาํ เปน ธรรมะการดาํ รงอยขู องเครอื ขา ยการเกอื้ หนนุ ทพี่ ง่ึ พากนั ในลกั ษณะนี้
จะสง ผลใหส มาชกิ มสี มั พนั ธร ะหวา งกนั โดยอตั โนมตั ิ

6. การเกอ้ื หนนุ พงึ่ พากนั

ท้ังสองฝายตางตองพ่ึงพากัน ภาครัฐเปนหนวยงานท่ีตองหนุนเสริมการทํางาน
ของภาคประชาชนเพื่อใหองคกรเปนหนวยงานท่ีสามารถชวยเหลือหรือสงเสริมการทํางาน
ของประชาชนอยางทั่วถึง ขณะเดียวกันเครือขายจําตองพ่ึงกลไกภาครัฐ ท้ังดานองคความรู
การขับเคล่อื นและเคร่อื งมือของรัฐที่พรอมจะชวยเหลอื ทุกดา น

7.ปฏสิ มั พนั ธในเชงิ เปลยี่ น

ภาพสมาชิกในเครือขา ยไมม ีปฏิสัมพนั ธกนั แลว ก็ไมตางอะไรกันกบั กอ นหิน แตละกอน
ท่รี วมกนั อยใู นถุง แตละคนกอ็ ยใู นถงุ อยา งเปนอิสระ นางงามสมาชิกในเครือขา ยตองทํากจิ กรรม
รวมกันเพื่อกอใหเกิดปฏิสัมพันธระหวางกัน เชน มีการติดตอกันผานทางการเขียน การพบปะ
พูดคุยแลกเปล่ียนความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน หรือมีกิจกรรมประชุมสัมมนารวมกันโดยท่ีผลของ
ปฏสิ มั พนั ธนต้ี อ งกอ ใหเกิดการแลกเปล่ียนในเครอื ขา ยตามมาดว ย

ลักษณะของปฏิสัมพันธระหวางสมาชิกควรเปนการแลกเปลี่ยนกัน หรือมากกวา
ที่จะเปนผูใหหรือผูรับฝายเดียว สมาชิกมีปฏิสัมพันธกันมากเทาใดก็จะเกิดความผูกพัน
ระหวางกันมากขึ้นเทานั้นทําใหการเชื่อมโยงแนนแฟนมากข้ึนมีการเรียนรูระหวางกันมากข้ึน
สรา งความเขมแข็งใหก บั เครอื ขา ย

ภายในประเทศ DSI STATION
ระหว‹างประเทศ

ศูนยรับขอŒ มูลขา‹ วสารฯทจี่ ัดตั้งเร�ยบรอŒ ย เปดดำเนินการแลŒว
เลย สระแกวŒ ประจวบคีร�ขันธ น‹าน เกาะชาŒ ง ชุมพร Italy (อติ าล)ี
ระนอง ราชบรุ � ตราด (อ.ป˜ว) (เปดป‚ 2559-2560) Greece (กรซ� )
Spain (สเปน)
ศูนยร ับขอŒ มลู ขา‹ วสารที่มีโครงการจดั ตั้ง Netherlands (เนเธอรแลนด)
United Kingdom (อังกฤษ)
Slovenia-Austria (สโลวเ� นีย-ออสเตร�ย)

ภเู ก็ต อบุ ลราชธานี แมฮ‹ อ‹ งสอน พษ� ณโุ ลก ---ตลดาอลดงิ�นกชเมันรอื ะบัง อยู‹ระหว‹างดำเนนิ การ
กรงุ เทพมหานคร Japan (ญป่ี ุ†น)
Malaysia (มาเลเซยี )
ศนู ยส ‹งเสรม� การเร�ยนรŒู -บางกอกนอย Singapore (สงิ คโปร)
South Korea (เกาหลใี ตŒ)

เกาะสมยุ กรุงเทพมหานคร พะเยา
สรุ าษฏรธ านี -หนองจอก ปทมุ ธานี
-ธนบรุ �
เชียงราย

ผลการสาํ รวจความพงึ พอใจและความผกู พนั ของผรู บั บริการและผูม สี วนไดส วนเสยี
กรมสอบสวนคดพี ิเศษ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564

1
4.57 91.39 15 0.69 13.71

2 4.69 93.79 80 3.75 75.03
3 4.54 90.75 5 0.23 4.54

100 4.66 93.28

ชนดิ ของเครอื ขา ย

เครอื ขา ยแตล ะเครอื ขา ยตา งมจี ดุ เรม่ิ ตน หรอื ถกู สรา งขนึ้ มาดว ยวธิ ตี า งกนั แบง ชนดิ ของ
เครอื ขา ยออกเปน 3 ลกั ษณะ คอื

1.เครอื ขา ยทเ่ี กดิ โดยธรรมชาติ

เครือขายชนิดน้ีมักจะเกิดจากการที่ผูคนมีใจตรงกัน ทํางานคลายคลึงกันหรือ
ประสบการณสภาพปญหาเดียวกันมากอน เขามารวมตัวกันเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดของ
ประสบการณก ารแสวงหาทางเลอื กใหมท ดี่ กี วา การดาํ รงอยขู องกลมุ สมาชกิ ในเครอื ขา ยเปน แรง
กระตนุ ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในตวั สมาชกิ เองเครอื ขา ยเชน นมี้ กั จะเกดิ ขน้ึ ในพนื้ ท่ีอาศยั ความเปน เครอื ญาติ
เปน คนในชมุ ชนหรอื มาจากภมู ลิ าํ เนาเดยี วกนั ทม่ี วี ฒั นธรรมความเปน อยคู ลา ยคลงึ กนั มาอยรู วม
กนั เปน กลมุ โดยจดั ตงั้ เปน ชมรมทมี่ กี จิ กรรมรว มกนั กอ น เมอื่ มสี มาชกิ เพมิ่ มากขนึ้ จงึ ขยายพน้ื ท่ี
ดาํ เนนิ การออกไปหรอื มกี ารขยายเปา วตั ถปุ ระสงคข องกลมุ มากขน้ึ ในทส่ี ดุ กพ็ ฒั นาขนึ้ เปน เครอื ขา ย
เพอ่ื ใหค รอบคลมุ ตอ ความตอ งการของสมาชกิ ไดก วา งมากขนึ้

เครอื ขา ยประเภทนมี้ กั ใชเ วลากอ รา งสรา งตวั ทย่ี าวนานเมอ่ื เกดิ ขน้ึ แลว มกั จะเขม แขง็ ยงั่ ยนื
และมแี นวโนม ทจ่ี ะขยายตวั เพม่ิ มากขน้ึ

2.เครอื ขา ยจดั ตงั้

เครอื ขา ยจดั ตง้ั มกั จะมคี วามเกย่ี วพนั กบั นโยบายหรอื การดาํ เนนิ งานของภาครฐั เปน สว น
ใหญ การจัดต้ังอยูในกรอบของความคิดเดิมท่ีใชกลไกของรัฐผลักดันใหเกิดงานท่ีเปนรูปธรรม
โดยเรว็ และสว นมากภาคหี รอื สมาชกิ ทเ่ี ขา รว มเครอื ขา ยมกั จะไมม พี นื้ ฐานความตอ งการ ความคดิ
ความเขา ใจหรอื มมุ มองในการจดั ตงั้ เครอื ขา ยทตี่ รงกนั มากอ นทจี่ ะเขา มารวมตวั กนั เปน การทาํ งาน
เฉพาะกจิ ชวั่ คราวที่ไมม คี วามตอ เนอื่ งและมกั จะจางหายไปในทส่ี ดุ เวน แตว า เครอื ขา ยไดร บั การชแี้ นะ
ทด่ี ีดาํ เนนิ งานเปน ขน้ั ตอนสามารถสรา งความเชอ่ื มน่ั ทถี่ กู ตอ งเกดิ ความผกู พนั ระหวา งสมาชกิ จน
นาํ ไปสกู ารพฒั นาเปน เครอื ขา ยทแ่ี ทจ รงิ อยา งไรกต็ ามแมว า กลมุ สมาชกิ จะยงั คงรกั ษาสถานภาพ
ของเครอื ขา ยไวไดแ ตม แี นวโนม ทจี่ ะลดขนาดของเครอื ขา ยลงเมอ่ื เปรยี บเทยี บระยะกอ ตง้ั

3.เครอื ขา ยววิ ฒั นาการ

เปน การถอื กาํ เนดิ แบบไมไดเ ปน ธรรมชาตติ งั้ แตแ รกและไมไดเ กดิ จากการจดั ตง้ั โดยตรงท่ี
มกี ระบวนการพฒั นาผสมผสานอยู โดยเรมิ่ ทก่ี ลมุ บคุ คล/ องคก รมารวมตวั กนั ดว ยวตั ถปุ ระสงค
กง็ า ยในการสนบั สนนุ การเรยี นรูไปดว ยกนั โดยยงั ไมไดเ ปน การสรา งเปา หมายหรอื วตั ถปุ ระสงค
เฉพาะทช่ี ดั เจนนกั หรอื อกี ลกั ษณะหนงึ่ คอื ถกู จดุ ประกายความคดิ จากภายนอกไมว า จะเปน การรบั
ฟง หรอื การไปไดเ หน็ การดาํ เนนิ งานของเครอื ขา ยอน่ื ๆมาแลว เกดิ ความคดิ ทจี่ ะรวมตวั กนั สรา งพนั ธะ
สัญญาเปนเครือขายชวยเหลือและพัฒนาตนเอง เครือขายท่ีวาน้ีแมจะไมไดเกิดจากแรงกระตุน
ภายในโดยตรงตง้ั แตแ รกแตส มาชกิ มคี วามตง้ั ใจจรงิ ทเ่ี กดิ จากจติ สาํ นกึ ทดี่ เี มอ่ื ไดร บั การกระตนุ และ
สนบั สนนุ กจ็ ะสามารถพฒั นาตอ ไปจนกลายเปน เครอื ขา ยทเ่ี ขม แขง็ ทาํ นองเดยี วกนั กบั เครอื ขา ยที่
เกดิ ขนึ้ โดยธรรมชาตเิ ครอื ขา ยในลกั ษณะนพ้ี บเหน็ อยมู ากมาย เชน เครอื ขา ยผสู งู อายเุ ครอื ขา ย
โรงเรยี นสรา งเสรมิ สขุ ภาพ เปน ตน

ดงั นนั้ การสรา งเครอื ขา ยจงึ หมายถงึ การทาํ ใหม กี ารตดิ ตอ สนบั สนนุ แลกเปลย่ี นขอ มลู
ขา วสารและการรว มมอื กนั ดว ยความสมคั รใจเปน กระบวนการพฒั นาความสมั พนั ธร ะหวา งมนษุ ย
กบั มนษุ ย การนาํ เครอื ขา ยตอ งมี Link หมายถงึ “การเชอื่ มโยง” ไดแ ก การเรยี นรู (L-Learning)
การลงทนุ (I-Investment) การฟมู ฟก บาํ รงุ (N-Nature) และการรกั ษาสมั พนั ธภาพ (G (k)-Give
ตราบใดทภ่ี ารกจิ เครอื ขา ยยงั ไมส าํ เรจ็ ยอ มมคี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งรกั ษาเครอื ขา ยไวประคบั ประคอง
ใหเ ครอื ขา ยสามารถดาํ เนนิ การตอ ไปได และบางกรณหี ลงั จากเครอื ขา ยไดบ รรลผุ ลสาํ เรจ็ ตามเปา
หมายแลว กจ็ าํ เปน ตอ งรกั ษาความสาํ เรจ็ ของเครอื ขา ยไวหลกั การรกั ษาความสาํ เรจ็ ของเครอื ขา ย
มดี งั นี้

1) การจดั กจิ กรรมรว มทดี่ าํ เนนิ อยา งตอ เนอ่ื ง
2) การรกั ษาสมั พนั ธภาพทดี่ รี ะหวา งสมาชกิ เครอื ขา ย
3) การกาํ หนดกลไกสรา งระบบจงู ใจ
4) การจดั หาทรพั ยากรสนบั สนนุ อยา งเพยี งพอ
5) การใหค วามชว ยเหลอื และชว ยแกไขปญ หา
6) การสรา งผนู าํ รนุ ใหมอ ยา งตอ เนอ่ื ง

การพฒั นาเครอื ขา ยเพอื่ ยง่ั ยนื

มปี จ จยั ดงั น้ี

นฐพร บญุ ยะกร

1) สมาชกิ ทเี่ ขา รว มจะตอ งเขา ใจเปา หมายในการรวมกนั วา จะกอ ใหเ กดิ ความสาํ เรจ็
ในภาพรวม

2) สรา งการยอมรบั ในการแตกตา งระหวา งสมาชกิ ยอมรบั ในรปู แบบและวฒั นธรรม
องคกรของสมาชกิ

3) มีกิจกรรมอยางสมํ่าเสมอและมากพอท่ีจะทําใหสมาชิกยอมรับในรูปแบบและ
วฒั นธรรมองคกรของสมาชกิ

4) จัดใหมี และกระตนุ ใหมกี ารสอ่ื สารระหวางกนั อยา งทว่ั ถึงและสมาํ่ เสมอ
5) สนับสนุนสมาชิกทุกกลุมและทุกดานที่ตองการความชวยเหลือ เนนการชวย
เหลอื กลุมสมาชกิ ท่ียงั ออ นแอใหสามารถชวยตนเองได
6) สรา งความสมั พันธของบุคลากรในเครือขาย
7) สนบั สนนุ ใหส มาชกิ ไดพ ฒั นางานอยา งเตม็ กาํ ลงั ศกั ยภาพและความชาํ นาญทมี่ ี
อยู ซึ่งจะสง ผลใหส มาชิกแตละกลุม มีความสามารถพเิ ศษเฉพาะดาน ถือไดว า เปน พืน้ ฐานใน
การสรา งความหลากหลายและเขมแข็งใหก ับเครอื ขา ย
8) สรา งความสมั พนั ธท แ่ี นน แฟน ระหวา งบคุ ลากรทกุ ระดบั ของสมาชกิ ในเครอื ขา ย
ในลกั ษณะความสมั พันธฉ นั ทเพอ่ื น
9) จดั กจิ กรรมใหส มาชกิ ใหมข องเครอื ขา ยเพอ่ื เชอ่ื มตอ คนรนุ เกา กบั คนรนุ ใหม เพอ่ื
สบื ทอดความเปนเครือขายใหคงอยู
10) จัดใหม ีชอ งทางการทาํ งานรวม การสอ่ื สารที่งา ยตอการเขาถงึ ความทันสมัย
และความเปน ปจจุบัน สามารถชวยใหก ารดาํ เนนิ งานมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ เชน สรา งระบบ
การสง ตองาน และสรางเวบ็ ไซตเพอ่ื เช่ือมโยงเครอื ขา ยเขาดวยกนั

กระบวนการสรา งศกั ยภาพ
การมีสว นรวมของภาคประชาชน
เขา สรู ะบบราชการ

1) สรา งกลไกเครอื ขา ยภาคประชาสงั คมในระดบั จงั หวดั เพอ่ื ผลกั ดนั การพฒั นาระบบ
ราชการสกู ารบรหิ ารงานในระบบ

2)สง เสรมิ การจดั เวทปี ระชมุ เครอื ขา ยเพอ่ื สรา งความเขา ใจและประสานงานระหวา งกลไก
ในระดบั ภมู ภิ าคเพอื่ ใหข อ เสนอแนะและรบั ฟง ความคดิ เหน็ ในการจดั ทาํ แผนยทุ ธศาสตรแ ละเปา หมาย
การพฒั นาในระดบั จงั หวดั หรอื ระดบั อนภุ มู ภิ าคกลมุ จงั หวดั กระตนุ ใหก ารดาํ เนนิ การมาจากการ
รเิ รม่ิ ของเครอื ขา ยภาคประชาสงั คมรว มกบั หนว ยงานราชการในแตล ะพนื้ ท่ี

3) สง เสรมิ และประสานงานกบั กลไกเครอื ขา ยอยา งตอ เนอ่ื งเปน ระบบ เพอื่ กระตนุ ใหเ กดิ
การพฒั นาเครอื ขา ยระดบั จงั หวดั

4)พฒั นาผนู าํ การเปลยี่ นแปลงใหเ ปน วทิ ยากรเครอื ขา ยภาคประชาสงั คมเพอ่ื เปน แกนนาํ
ในการสรา งเวทกี ารแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และทาํ งานรว มกนั ระหวา งภาคราชการและภาคประชา
สังคม

5)สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหเ กดิ การรวมตวั เปน กลมุ หรอื คณะกรรมการทป่ี รกึ ษาระดบั จงั หวดั
เพอ่ื ตดิ ตามศกึ ษาและใหค วามรว มมอื ดา นการพฒั นาตามขอ ตกลงการพฒั นาของแตล ะจงั หวดั และ
การใหบ รกิ ารสาธารณะระดบั จงั หวดั อยา งบรู ณาการ

รู ้จัก เครือข่ายเร�ิมก่อต�งั ป� 2550 จากการ มสี มาชกิ จํานวน 250 คน
ประชาชนในพ�นื ทภ�ี าคกลาง ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
To Inform และกรุงเทพมหานคร ไดม้ ารู้จักกนั ร่วมกนั แก้ไขปญ� หา และถา่ ยทอด
ภารกจิ ของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษโดยสมคั รใจ เพ�อื ขยายต่อไปสสู่ มาชกิ
ในรูปแบบรุ่นสรู่ ุ่น 13 ป�ทด�ี ําเนินการเราสามารถมีสมาชกิ 7,719 คน และ
มีศูนย์รับข้อมูลขา่ วสารและเผยแพร่เครือข่ายอาชญากรรมคดพี เิ ศษ
จํานวน 9 ศูนย์

ปจ� จุบนั มสี มาชกิ จํานวน 8,039 คน
ภายใตก้ จิ กรรมจํานวน 153 กจิ กรรม

มกั คุ้น เวลาและการมสี ว่ นร่วม เปน� ปจ� จัยสาํ คญั เสริมสร้างความไวใ้ จ
ตอ่ กนั ของสมาชกิ ภายใตค้ ําวา่ "เรา"
To Consult
คน้ หาแกนนําผ่านฉันทามติ
ของกรรมการประชาชน

สาํ รวจขอ้ มลู เชงิ ลกึ รวบรวมขอ้ มลู เรา พฒั นาศกั ยภาพและกลไกการทํางาน
เพอื� วเิ คราะหป์ ญ� หาร่วมกนั โดยใชว้ ถิ ชี มุ ชนเปน� หลกั

เคารพสญั ญาและความปลอดภยั
ของสมาชกิ

อุ่นใจ สร้างความสมั พนั ธ์อยา่ งตอ่ เน�ือง
ตอบสนองความตอ้ งการของสมาชกิ
To Involve มสี ว่ นร่วมการตดั สนิ ใจและเสนอแนะ

รับรู้และมสี ว่ นร่วมในการวางแผน
สร้างความอบอุ่นเหมอื นพ�นี ้อง

ไปดว้ ยกนั

To Collaborate

เมอื� มคี วามไวใ้ จกนั มกี ารพฒั นาความรู้ร่วมกนั
จะเปน� หนทางสกู่ ารปอ� งกนั คดพี เิ ศษโดยแกนนําสมาชกิ เครือขา่ ยอย่างแท้จริง

หากเกดิ เหตกุ ารณ์เราจะร่วมปอ� งกนั ภยั ในชมุ ชนและภัยจากตา่ งแดน
ทสี� ง่ ผลกระทบตอ่ สมาชกิ เครือขา่ ยร่วมกนั

แนวทางการเฝา ระวงั ของเครอื ขา ย

นฐพร บุญยะกร

ดงั ทกี่ ลา วไวแ ลว ตงั้ แตต น เมอ่ื เกดิ เครอื ขา ยทมี่ แี กนนาํ และองคก รเปน ผสู นบั สนนุ ยอ มทาํ ให
แนวคดิ การทาํ งานอยา งมจี ดุ มงุ หมายมที ศิ ทางเดยี วกนั อาชญากรรมคดพี เิ ศษเปน คาํ ถามหลกั ทน่ี าํ
แนวคดิ การเฝา ระวงั ของอาชญากรรมคดพี เิ ศษมาคบคดิ รว มกนั มาวางแผน มาดาํ เนนิ การ โดยใช
วถิ ชี มุ ชนเปน กลไกในการขบั เคลอ่ื น มที ศิ ทางและเปา หมาย คอื ความเชอ่ื มน่ั ในองคก รภาคประชาชน
ในการจดั การปญ หาและพฒั นาสงั คมรว มกนั

เคร่อ� งมอื การเฝาระวงั

- อวดความรูผานเวที ถายทอดความรู เพ่ือใหเครือขายมีความรู ความเขาใจ
ในกระบวนการของกฎหมายทเี่ ปน ภารกจิ ของกรมสอบสวนคดพี เิ ศษเพอ่ื ใหก ระบวนการขบั เคลอ่ื นที่
ลงสชู าวบา นหรอื เครอื ขา ยไดเ ขา ใจ และสะทอ นปญ หาออกมาอยา งถกู ตอ งจากองคค วามรทู ่ีไดร บั

- การประชุมช้ีแจงแลกเปล่ียนความคิดเห็น เพ่ือถายทอดประสบการณการเฝาระวัง
รว มกนั มขี อ แนะนาํ และวธิ กี ารของแตล ะชมุ ชนมาแลกเปลยี่ น เพอื่ นาํ วธิ กี ารทสี่ ามารถดาํ เนนิ การ
ไดไปปรับใช

-การสรา งความเชอ่ื มนั่ รว มกนั ในการแกป ญ หาทเี่ กดิ ขนึ้ ในปจ จบุ นั ตอ งอาศยั ความเขา ใจ
อนั ดตี อ กนั รว มกนั ทาํ งานแบบพนั ธมติ ร ใชก ารมสี ว นรว มอยา งแทจ รงิ เปด โอกาสยอมรบั วธิ กี าร
และความคดิ เหน็ ทห่ี ลากหลาย การแกไขปญ หาคอื การเรยี นรู และการเรยี นรจู ะนาํ มาซง่ึ การจดั การ
กบั ปญ หา เมอ่ื เราวเิ คราะหป ญ หารว มกนั จะทาํ ใหเ ครอื ขา ยเฝา ระวงั รบั รปู ญ หาและวางกฎรว มกนั
มขี อ ตกลงรว มกนั DSIจะเปน ผผู ลกั ดนั แผนและเสรมิ สรา งความเขา ใจทกุ คนลว นมจี ติ สาํ นกึ รว มกนั

ทบทวนตนเอง

- รจู กั เครอื ขา ยอยา งอสิ ระ ปราศจากการครอบงาํ
- แบง ปน เกอ้ื กลู และชว ยเหลอื
- สรา งเงอ่ื นไขอยา งมสี ว นรว ม
- มองเครอื ขา ยอนื่ และมองตนเอง
- วเิ คราะหป ญ หาและแกไขปญ หาระยะยาว
- หมน่ั วจิ ยั ชมุ ชน เพอ่ื หาทางพฒั นา
- ทาํ อยา งไรแลว มคี วามสขุ ไมห วงั ผลตอบแทน สรา งความทา ทาย ซมึ ซบั และผกู พนั ธ เชอื่ มนั่ พลงั
ของเครอื ขา ย

วธิ กี ารพฒั นาการเฝา ระวงั อยา งยง่ั ยนื

- จดั ทาํ ขอ มลู หมบู า น/ชมุ ชนอยา งสมบรู ณแ ละตอ เนอื่ ง
- ศกึ ษาดงู านเครอื ขา ยตน แบบ หรอื DSI Station
ทป่ี ระสบความสาํ เรจ็ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
- มกี จิ กรรมรว มกนั อยา งสมาํ่ เสมอ
- พฒั นาแนวทางการทาํ งานและแนวคดิ ใหมๆ เสมอ
- ขยายผลทาํ งานใหเ ปน เครอื ขา ยฯตน แบบ
- มชี อ งทางการตดิ ตอ ทห่ี ลากหลาย มคี วามปลอดภยั ทง้ั สองฝา ย
- วางระบบขอ มลู เพอ่ื ดาํ เนนิ การ มเี สน ทางขอ มลู ทจ่ี ะไดร บั การดาํ เนนิ การอยา งถกู ตอ ง แมน ยาํ

เมอื่ พน้ื ทม่ี ปี ญ หาแบบชาวบา น

- สาํ รวจขอ มลู ในเชงิ ลกึ และรวบรวมขอ มลู เพอ่ื วเิ คราะหป ญ หาในพนื้ ทห่ี รอื คาํ รอ ง
- คน หาแกนนาํ ทมี่ ศี กั ยภาพจากเวทปี ระชาคม,เวทสี ภากาแฟหรอื ทพ่ี บและแลกเปลย่ี น
- พฒั นากลไกการเฝา ระวงั (ตงั้ จดุ สกดั ) เดนิ เวรยาม อบรมกลมุ เสย่ี ง รณรงคเ ผยแพรค วามรู
- สรปุ แผนการดาํ เนนิ งานทาํ งาน ทด่ี าํ เนนิ งานรว มกนั กบั แกนนาํ ทม่ี จี ติ อาสา และรว มสรา งพฒั นา
กลไกในการทํางานในพ้ืนที่ มีสวนรวมในชุมชนและรวมกันแกปญหาในชุมชน พัฒนาความคิด
ของตนเองในการทาํ งาน และแลกเปลยี่ นความคดิ เห็นกบั ผมู ปี ระสบการณด า นตา งๆ และอยา ลมื
พฒั นาศกั ยภาพดา นความรขู องเครอื ขา ย เพอื่ เสรมิ ทกั ษะใหเ ขม แขง็

แนวทางการทํางานเคร�อขายในการเฝา ระวงั อยา งยั่งยืน

• พฒั นายทุ ธศาสตรภ าคประชาชน สรา งกลไกภาคจงั หวดั อาํ เภอ ตาํ บล
• บรู ณาการและขยายผลอยา งเปน ระดบั
• เสรมิ ศกั ยภาพและพฒั นาอยา งตอ เนอื่ ง
• พฒั นาระบบขอ มลู และการรายงานผล
• อบรมเสรมิ ความรเู พอื่ เปน เครอ่ื งมอื การทาํ งาน
• จดั สรรทรพั ยากรการทาํ งานเครอื ขา ยการเฝา ระวงั ใหเ หมาะสม
• สง เสรมิ การมสี ว นรว มอยา งเสมอภาคและเทา เทยี ม
• หมนั่ เยยี่ มเยยี นสรา งกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย
• ยดึ มนั่ และแลกเปลย่ี นหวั ใจรว มกนั
• ผกู สมั พนั ธ รกั ในเกยี รติ และดแู ลอยา งญาตมิ ติ ร

จ�ดสาํ คัญของการรกั ษาเคร�อขาย

• เรามกี จิ กรรมอยา งตอ เนอื่ ง
• ขยายพนื้ ทตี่ น แบบใหเ ลอ่ื งลอื ขยายผล
• เรารกั ษาสมั พนั ธภาพทดี่ ตี อ กนั ระหวา งสมาชกิ เครอื ขา ย
• เรากาํ หนดกลไกสรา งรายการจงู ใจ
• เราจดั หาทรพั ยากรสนบั สนนุ
• เราใหค วามชว ยเหลอื แกป ญ หา
• เราสรา งผนู าํ รนุ ใหมอ ยา งตอ เนอ่ื ง และเมอ่ื เรารกั ษากนั และกนั ไวเ ราจงึ ชว ยกนั รกั ษา และเฝา ระวงั
คดพี เิ ศษอยา งเขม แขง็ และเราจะรว มกนั ชว ยดแู ลผลประโยชนข องประเทศชาตอิ ยา งยงั่ ยนื

ผลการเฝา ระวงั อาชญากรรมในพ�้นท่ี ป พ.ศ. 2564

ผลการเ ้ฝาระ ัวงอาชญากรรมใน ืพนที่ ีป พ.ศ. 2564




































Click to View FlipBook Version