The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการเฝ้าระวังอาชญากรรม เล่มเขียว
ผลิต 2565
Color edit 58

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DSI Network, 2022-03-31 05:44:03

คู่มือการเฝ้าระวังอาชญากรรม เล่มเขียว

คู่มือการเฝ้าระวังอาชญากรรม เล่มเขียว
ผลิต 2565
Color edit 58

คูมือการเฝอาราะวชงั ญากรรม

คดีพิเศษ

สว นเครือขา ยการปองกันการเกิดอาชญากรรมคดีพิเศษ
กองนโยบายและยทุ ธศาสตร

กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ กระทรวงยุตธิ รรม
คูมอื การเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพิเศษ 1

สารบญั บทนาํ

หนา �
บทนาํ คูมอื การเฝาระวงั อาชญากรรมคดีพิเศษ �
การสอบสวนคดีพเิ ศษ �
สวนเครือขา ยการปองกนั การเกิดอาชญากรรมคดพี เิ ศษ �
ลกั ษณะคดีพเิ ศษเปนอยางไร �
ลกั ษณะการทํางานของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ DSI �
ประเภทอาชญากรรม �
รูจักและรเู ทาทนั อาชญากรรม �๐
อาชญากรรมคดพี ิเศษ DSI ��
ความรูเ ก่ยี วกับพยานหลกั ฐาน ��
ขา วกบั ขา วกรอง ��
การสังเกตรูปพรรณสัณฐาน ��
การมีสว นรวมของประชาชนเพ่อื การเฝาระวังอาชญากรรมคดพี เิ ศษ ��
ภารกิจของภาคประชาชนและกระบวนการรวมมอื กนั เขยี นแบบเฝาระวงั พ้นื ที่ ��
เราจะเขียนคํารอ งไดอ ยางไร ��
ขั้นตอนการรับเรื่องรอ งเรียนทางโทรศัพท ��
แบบตดิ ตามการเฝา ระวังในพื้นท่ี ��
วงจรขบั เคล่ือนงานเครือขายสว นเครือขา ย DSI ��
การรกั ษาเครอื ขาย ��
องคกรอาชญากรรมขามชาติกับการปอ งกนั งานของเครอื ขาย ��
การสรา งเครอื ขาย ��
การเดนิ ทางของเครอื ขายดเี อสไอ ��
บญั ชีทา ยพระราชบญั ญัติกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ พ.ศ. ���� ��
ภาพกิจกรรม
ติดตอสวนเครือขายการปองกนั การเกิดอาชญากรรมคดพี ิเศษ

คมู ือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดีพเิ ศษ 1

บทนํา
คมู อื การเฝา ระวังอาชญากรรมคดพี ิเศษ

กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ มภี ารกจิ เกยี่ วกบั การปอ งกนั ปราบปราม และควบคมุ คดพี เิ ศษ

ที่มีผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม ความมั่นคง และความปลอดภัย โดยดําเนินการเฝาระวัง
สืบสวนหาขอเท็จจริง และดําเนินคดีพิเศษท่ีมีความสลับซับซอน มีความยากตอการรวบรวม
พยานหลกั ฐาน และตอ งใชค วามเชยี่ วชาญของพนกั งานสอบสวน ทมี่ คี วามหลากหลายในสาขาอาชพี
นอกจากนี้ยังตองอาศัยความรวมมือจากหนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน
เปนแหลง สําคญั ในการใหขอ มูลขาวสารท่ีสาํ คญั ทางคดพี เิ ศษ

ท้ังดานเทคโนโลยี ดานสิ่งแวดลอม ยาเสพติด การฉอโกง หลอกลวง การกอการราย
การถูกครอบงําโดยผูมีอิทธิพล การทุจริตคอรัปช่ันทุกระดับ ซึ่งสงผลกระทบตอความเปนอยู
ของประชาชนทุกระดับชั้น แมภาครัฐจะพยายามดูแลความสงบสุขใหกับภาคประชาชน แตตอง
ยอมรับวา อาชญากรมีแนวทางการประกอบอาชญากรรมท่มี ีความสลับซบั ซอน และมีกลอบุ าย
เพอื่ ปกปอ งตัวเองไดแ นบเนยี นมากขนึ้ กอใหเ กดิ อาชญากรรมในรูปแบบทห่ี ลากหลาย

ในวถิ ีชวี ติ ของชุมชนแบบดงั้ เดมิ เปนวิถชี ีวิตแบบพึ่งพา ชวยเหลือซึ่งกันและกนั เราจะ
เห็นไดวาการดําเนินชีวิตของกลุมคนในชนบท แมเปนชุมชนเล็กๆ แตสามารถรวมตัวกันอยาง
เขม แขง็ เพอ่ื ชว ยเหลอื กนั และกนั คอยสอดสอ งดแู ล มกี ารวางกลไกเฝา ระวงั และกลไกการปอ งกนั
แบบทองถ่ิน โดยผานวัฒนธรรมของแตละพื้นท่ี ซ่ึงการดําเนินชีวิตในลักษณะเชนน้ีสามารถ
เปนเกราะปองกันอาชญากรรมไดระดับหน่ึง ดังนั้นการสรางพันธมิตรและเครือขาย จึงเปน
ยุทธศาสตรหน่ึงที่สําคัญของกรมสอบสวนคดีพิเศษ โดยภาคประชาชนจะชวยเหลือภาครัฐ
ในการปองกันอาชญากรรม เพราะภาคประชาชนสามารถทราบดีถึงปญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่
ซึ่งบางแหงภาครัฐไมสามารถเขาไปดูแลไดอยางท่ัวถึง ภาคประชาชนจึงเปนกลไกในการนํา
ขอมลู ขา วสารทเ่ี กิดข้ึนในพนื้ ทสี่ งมายังกรมสอบสวนคดพี ิเศษ

กรมสอบสวนคดีพิเศษ เล็งเห็นถึงความสําคัญของภาคประชาชนที่จะชวยลดปญหา
อาชญากรรมในพนื้ ที่ โดยภาคประชาชนจะเปน ผคู อยเฝา ระวงั สงั เกตพฤตกิ รรม สงิ่ ใดทเี่ ปน สาเหตุ
ของอาชญากรรม ดังนั้น สามารถกลาวไดวา ความรวมมือของภาคประชาชนมีความสําคัญ
ตอ ความสาํ เรจ็ ผสมผสานกบั ความรว มมอื ของภาคประชาชนซง่ึ เปน เจา ของพน้ื ทแี่ ละมปี ระสบการณ
การเฝา ระวงั มแี กนนาํ เครอื ขา ยในพนื้ ท่ี และเปน กลไกสาํ คญั ในความรว มมอื กบั ภาครฐั

สว นเครอื ขายการปองกนั การเกดิ อาชญากรรมคดพี ิเศษ

2 คูมือการเฝาระวังอาชญากรรมคดีพิเศษ

การสอบสวนคดพี ิเศษ

การดำเนินการสบื สวน การปอ้ งกัน
อาชญากรรมคดีพเิ ศษ

• เรม่ิ ตน้ เปน็ คดพี เิ ศษ • เฝาระวงั
• การสอบปากคำ เตือนภยั อาชญากรรม

• การแสวงหาขอ้ เท็จจริงในคดี • สงเสริมการบริหาร
• การเขา้ ถงึ พยานหลกั ฐาน ราชการแบบมีสวนรวม

• การเข้าถึงข้อมลู ข่าวสาร

• การจดั ทำเอกสาร

• การเก็บรกั ษาของกลาง

• การปรึกษาคดีพเิ ศษ

• ดำเนินการคา่ ใช้จ่ายสำหรบั การสบื สวนสอบสวน

• พนักงานอยั การสอบสวนร่วม

• เจ้าหน้าทอ่ี น่ื เขา้ มาปฏิบตั หิ นา้ ทใี่ นกรมสอบสวนคดพี ิเศษ

• ค้มุ ครองพยาน

• จับกุม

• ส่งิ ของสว่ นตวั ของผตู้ ้องหา

• ดำเนนิ การเพอ่ื ให้ไดผ้ ู้ตอ้ งหา

• การประกันตวั ช่วั คราว

• การผลัดฟ้องหรือฝากขงั

• การทำความเหน็ ทางคดี

คูมือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ 3

สว นเครือขา ยการปองกนั
การเกิดอาชญากรรมคดพี ิเศษ

หนาทคี่ วามรับผดิ ชอบ

�. ศกึ ษา วเิ คราะห กาํ หนดนโยบายการสง เสรมิ การมสี ว นรว มของเครอื ขา ยภาครฐั ภาคเอกชน
และภาคประชาชน ในการดําเนินการปองกันการเกิดอาชญากรรมคดีพิเศษตามภารกิจ
ของกรมสอบสวนคดีพิเศษ

�. บูรณาการแผนงาน งบประมาณ โครงการและกิจกรรมที่เก่ียวของกับการมีสวนรวม
ของเครอื ขายภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชนท่เี กยี่ วขอ งกบั กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ

�. กํากับติดตาม ประสานงาน สนับสนุนและประสานความรวมมือกับเครือขายภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชนกบั กรมสอบสวนคดีพิเศษ

�. พฒั นาระบบ รูปแบบ ศกั ยภาพและวธิ ีการดําเนินงาน การมสี วนรว มของเครือขายภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชนกับกรมสอบสวนคดพี เิ ศษ

�. ดําเนินโครงการและกิจกรรมการมีสวนรวมของเครือขายภาคประชาชนและเครือขายอ่ืน
ในการปอ งกนั การเกิดอาชญากรรมคดพี ิเศษที่ไดรับมอบหมาย

�. ติดตามประเมินผลการดําเนินการมีสวนรวมของเครือขายภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาคประชาชนกับกรมสอบสวนคดพี ิเศษ

�. ปฏิบัติงานรวมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอ่ืนที่เกี่ยวของหรือ
ไดรบั มอบหมาย

4 คมู อื การเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพเิ ศษ

ลกั ษณะคดพี เิ ศษเปน อยางไร

คดีพเิ ศษ

คดอี าญาตามทกี่ าํ หนดไวใ นบญั ชที า ยพระราชบญั ญตั กิ ารสอบสวนคดพี เิ ศษ พ.ศ. ����
และทแี่ กไ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ. ���� หรอื คดอี าญาทไ่ี ดก าํ หนดเปน กฎกระทรวง โดยการเสนอแนะของ
คณะกรรมการคดีพเิ ศษ (กคพ.)

ประเภทที่ ๑

คดพี ิเศษโดยผลของกฎหมาย
�. คดที ม่ี คี วามซบั ซอ น ใชว ธิ กี ารสบื สวนสอบสวนและรวบรวมพยานหลกั ฐานเปน พเิ ศษ
�. คดีท่ีมีหรืออาจมีผลกระทบอยางรุนแรงตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดี
ของประชาชน ความมนั่ คง ความสัมพันธระหวา งประเทศ
�. คดที มี่ ลี กั ษณะความผดิ ขา มชาตทิ สี่ าํ คญั หรอื เปน การกระทาํ ขององคก รอาชญากรรม
�. คดีทีม่ ผี ูทรงอทิ ธิพลทส่ี ําคญั เปนตัวการหรอื ผูส นบั สนนุ
�. คดที มี่ พี นกั งานฝา ยปกครองชน้ั ผใู หญห รอื ตาํ รวจชนั้ ผใู หญ ซงึ่ มใิ ชพ นกั งานสอบสวน
คดีพิเศษหรือเจาหนาที่คดีพิเศษเปนผูตองสงสัยเมื่อมีหลักฐานตามสมควรวานาจะได
กระทําความผดิ อาญา หรือเปน ผกู ลา วหาหรือผตู อ งหา

ประเภทที่ ๒

ความผิดทางอาญาอ่นื ท่คี ณะกรรมการคดพี ิเศษ (กคพ.) มีมตใิ หเ ปน คดพี เิ ศษ
มาตรา � ใหมีคณะกรรมการคดีพิเศษ เรียกโดยยอวา “กคพ.” ประกอบดวย

นายกรฐั มนตรเี ปน ประธานกรรมการ รฐั มนตรวี า การกระทรวงยตุ ธิ รรมเปน รองประธาน
กรรมการ ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงการคลัง ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ปลดั กระทรวงพาณชิ ย อยั การสงู สดุ ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาติ เลขาธกิ ารคณะกรรมการ
กฤษฎกี า เจา กรมพระธรรมนญู ผวู า การธนาคารแหง ประเทศไทย นายกสภาทนายความ
และกรรมการผูทรงคุณวุฒิ ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงต้ังจํานวน � คน และในจํานวนนี้
ตองมีบุคคลซ่ึงมีความเช่ียวชาญในดานเศรษฐศาสตร การเงินการธนาคาร เทคโนโลยี
สารสนเทศหรอื กฎหมาย อยา งนอยดา นละหน่ึงคนเปน กรรมการ

คมู ือการเฝา ระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ 5

ลกั ษณะการทํางาน
ของพนกั งานสอบสวนคดีพเิ ศษ DSI

ใครทํา ทาํ อะไร
พนกั งานสอบสวนคดพี ิเศษ สบื สวนและสอบสวน
คดพี เิ ศษอาญา
เจาหนาทคี่ ดพี ิเศษ �. พระราชบัญญตั กิ ารสอบสวน
ทาํ อยา งไร �. การประมวลกฎหมายวิธี
�. สนธกิ าํ ลงั กบั หนว ยงานของรฐั (ม.��)
�.แสวงหาพยานหลกั ฐานเบอื้ งตน (ม.��/�) พิจารณาคดีความอาญา
�. แตงตงั้ ที่ปรกึ ษา (ม.�๐) �. กฎ/ระเบยี บ/ขอบังคบั อน่ื ๆ
�.พนักงานอัยการ/อัยการทหารรวม
ทเี่ ก่ียวขอ ง
ปฏิบตั ิหนาที่ (ม.��)
�. ใหเจา หนา ทขี่ องรัฐหนวยงานอน่ื

รวมปฏบิ ตั หิ นาที่ (ม.��)

เคร่อื งมือในการทาํ งาน
�. คน โดยไมม ีหมายคน (ม.��)
�. สั่ง/ขอใหเจา หนาทมี่ อบหมายเอกสาร/หลกั ฐานมาตรวจสอบ (ม.��)
�. ดักฟง/ดกั ขอมูลขา วสาร (ม.��)
�. แฝงตัวและทาํ หลักฐานเท็จ (ม.��)
�. จดั การของกลาง (ม.�๘)
�. มีและใชอ าวธุ (ม.��)
�. คา จายในการสบื สวนสอบสวน (ม.��)

6 คูม ือการเฝา ระวังอาชญากรรมคดีพิเศษ

ประเภทอาชญากรรม

อาชญากรรมทว่ั ไป อาชญากรรม
อาทิ ลกั ทรพั ย วง่ิ ราวทรพั ย คดีพิเศษ
ชงิ ทรพั ย ปลน ทรพั ย ฆา

พยายามฆา ลกั พาตวั
ทาํ รา ยรา งกาย

(ตอ ย,ตบ,ต,ี กระทบื )

• เปนองคกรอาชญากรรมที่มีกลมุ ,โครงสรางใหม
เกดิ ความเสยี หายมาก

• สงั เกตยาก,ตองใชว ิธกี ารท่มี ขี น้ั ตอน
• รปู แบบมคี วามซบั ซอ น มผี ลกระทบตอ คนสว นใหญ
• ตัวอยางอาชญากรรมคดีพิเศษ เชน คดีความผิด

เก่ียวกับการฉอโกงประชาชน โดยการชักชวน
ใหเลนแชร ซ่ึงมีมูลคาความเสียหายมากกวา
�๐๐ กวาลาน ขึ้นไป คดีความผิด เกี่ยวกับการ
ทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
คดีความผดิ เกย่ี วกบั คอรร ัปชนั่ เปนตน
• คคีบุกรุกทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม,
ทําลายมลพิษสภาพแวดลอ ม

คมู ือการเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพิเศษ 7

รจู กั และรูเทา ทนั อาชญากรรม

ประเภทอาชญากรรม ลกั ษณะอาชญากรรม
อาชญากรรมเปนครัง้ คราว • ไมเจตนา ประมาท ปองกันตวั ทาํ ผิดเปน ครั้งคราว

(Occasional Crime) • ปรับตัวเขา กบั สังคมไมได ถกู กดดนั
อาชญากรรมโดยสันดาน กออาชญากรรม ทาํ ผิดซํ้าๆ ตดิ นสิ ยั

(Habitual Crime) • ลกั - วง่ิ - ชิง - ปลน (ทรพั ย)
อาชญากรรมธรรมดา
• ใชก ําลังรนุ แรง (ทาํ รา ยรางกายอยา งรนุ แรง,
(Street Crime) ฆา, ขมขนื )
อาชญากรรมอกุ ฉกรรจ
• กอ อาชญากรรมโหดรายและทารณุ
(Violent Crime) • เช่ยี วชาญชํานาญเทคนคิ เฉพาะดา น (นักเลง

อาชญากรรมมืออาชพี เปด ตูนิรภัย มอื ปนรบั จาง กออาชญากรรม
(Profrssional Crime) เปนอาชีพ )
• ใชอํานาจหนาท่ีทางการเมืองอํานาจรัฐ กระทํา
อาชญากรรมการเมือง ความผดิ เชน ทจุ รติ เชงิ นโยบาย; การซอ้ื - การขาย
(Political Crime) เสียง, นโยบายของรฐั มาใช ในประโยชนส ว นตน

อาชญากรรมคอเช้ติ ขาว • ทจุ รติ คอรร ปั ชนั โกงภาษี โดยอาศยั ตาํ แหนง หนา ที่
(White Collar Crime) ใชอํานาจอิทธิพลแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ
อาชญากรรมองคก ร (แตงตวั ดีภูมฐิ านใสสทู แตกอ อาชญากรรม)
(Organized Crime)
• กลมุ บคุ คล วางแผนแบง หนา ทโ่ี ครงสรา ง ดาํ เนนิ การ
เปนข้ันตอนกระบวนการเปนกลุมใหญท่ีลําดับข้ัน
ของหัวหนามีผูบังคับบัญชาอยูตางประเทศ หรือ
ในประเทศ

8 คมู อื การเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพเิ ศษ

อาชญากรรมคดีพเิ ศษ DSI

• องคก รอาชญากรรม
การทํางานเปนระบบ มีการวางแผนลวงหนา มีความเขมงวดซ่ือสัตยตอองคกร สามารถ
ตายแทนไดและมีตัวตาย ตัวแทน เก่ียวของกับผูมีอิทธิพล มีแก็งคท่ีอยูขามประเทศสั่งการ
ขามประเทศ
• สงั เกตยาก
โดยเฉพาะเม่ือเร่ิมปฏิบัติการขึ้นผูกระทําเฉลียวฉลาด เปนผูมีความรู มีบุคลิกภูมิฐาน
ใชเทคนิคและใชเทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพสูง มีวิธีการเปล่ียนแปลงผลของความผิด
หรอื ปด บังความผดิ โดยอาศยั ชองวางชอ งโหวของกฎหมาย
• รปู แบบ
มีความสลับซับซอน มีผูประสานงานระหวางนายใหญกับผูปฏิบัติการ ไมเปดเผยตัว
(นายใหญ) เก่ยี วกับเร่อื งราวขา วสาร รอฟงคาํ สัง่ (ผูจาง) มีระบบการตดั ตอนคาํ ส่ัง
• คดี
ฉอโกงประชาชน, แชร, ทุจริตคอรรัปชั่น, คามนุษย, ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม,
ยาเสพติด, ผมู อี ิทธิพล,ละเมิดทรพั ยส ินทางปญ ญาและบุคคลสูญหาย ฯลฯ

ตวั อยา ง รูปแบบของลักษณะของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ

- แอบแฝง ซอ นเรน หรือใชกจิ การทถ่ี ูกกฎหมาย
- ปกปด /ทาํ ลายหลกั ฐาน อยา งซับซอ น คอยเปน คอยไป ใชเ วลานาน
- มีลกั ษณะซอนเรน /แอบแฝง ( ยากตอ การสงั เกต สืบสวน จบั กุม พิพากษา )
- ไมม ีภาพพจนรุนแรง เขยาขวัญ (สังคมจงึ ไมแ สดงความโกธรแคน หรือตอตา นรนุ แรง)
- ใชค วามรูความชํานาญ เทคโนโลยี ทนั สมัย มกี ารวางแผนอยา งดี
- ผูม อี ิทธิพล ผมู อี ํานาจ อยเู บือ้ งหลงั
- มลี กั ษณะรว มกนั เปน องคก รเชอ่ื มโยงเปน ขบวนการ (ทง้ั ในระดบั ทอ งถน่ิ – ระดบั ชาติ –และ

ระดับนานาชาติจนถงึ ขามชาติ)
- มลู คา ความเสียหายสูงมาก (สง ผลเสยี ตอ มหาชนและรฐั )

คมู อื การเฝา ระวังอาชญากรรมคดีพเิ ศษ 9

ความรเู ก่ียวกบั พยานหลกั ฐาน

พยานหลกั ฐาน หมายถงึ สง่ิ ทสี่ ามารถพสิ จู นข อ เทจ็ จรงิ ทมี่ กี ารกลา วอา ง

ในการดําเนินคดี ไมว า จะเปนคดีแพงหรอื คดีอาญา
ประเภทของพยานหลักฐาน

�. พยานบุคคล หมายถึง บุคคลท่ีมาเบิกความตอศาลถึงขอเท็จจริงที่ตนประสบพบเห็น
หรอื ทราบมา

�. พยานเอกสาร หมายถงึ ขอ ความใดๆ ในเอกสารทมี่ กี ารอา งความหมายของขอ ความเปน พยาน
�. พยานวัตถุ หมายถงึ วัตถสุ ่งิ ของทคี่ ูความอางเปน พยาน
�. พยานผเู ชยี่ วชาญ หมายถงึ บคุ คลซง่ึ เปน ผมู คี วามรคู วามเชย่ี วชาญในวชิ าการหรอื กจิ การ

อยา งใดอยางหนงึ่ และมาเบิกความโดยการใหค วามเห็น
• พยานช้ันหนึ่งและพยานช้ันสอง

�. พยานช้ันหน่ึง หมายถึง พยานหลักฐานช้ันที่ดีท่ีสุดในบรรดาพยานหลักฐานท้ังหลายท่ีที่
มุง พสิ จู นขอเทจ็ จรงิ ขอหนงึ่

�. พยานชัน้ สอง หมายถึง พยานหลักฐานในลาํ ดับรองลงมา
• พยานโดยตรงและพยานแวดลอมกรณี

�. พยานโดยตรง หมายถงึ พยานหลกั ฐานทม่ี งุ พสิ จู นข อ เทจ็ จรงิ ซง่ึ เปน ประเดน็ พพิ าทในคดโี ดยตรง
�. พยานแวดลอมกรณี หมายถึง พยานหลักฐานที่มุงพิสูจนขอเท็จจริงซ่ึงมิไดเปนประเด็น

พพิ าทในคดโี ดยตรง หากแตพ สิ จู นข อ เทจ็ จรงิ อน่ื ทบ่ี ง ชวี้ า ขอ เทจ็ จรงิ เปน ประเดน็ ขอ พพิ าท
นาจะเกิดข้นึ หรอื ไม
• ประจกั ษพยานและพยานบอกเลา
�. ประจักษพ ยาน หมายถงึ พยานบุคคลท่ีไดส มั ผสั ขอเท็จจรงิ ที่จะเบกิ ความมาดว ยตนเอง
�. พยานบอกเลา หมายถึง พยานบุคคลท่ีมิไดสัมผัสขอเท็จจริงที่เบิกความมาดวยตนเอง
แตร ับทราบมาจากการบอกเลาของบคุ คลอ่นื หรอื จากบันทกึ ที่บุคคลอน่ื ทาํ ไว

พยานเอกสาร

หมายถึง พยานที่เปนกระดาษหรือวัตถุอ่ืนใดซึ่งไดทําใหปรากฏความหมายดวยอักษร
ผังหรือแผนแบบอยางอ่ืน จะเปนโดยวิธีพิมพ ถายภาพ หรือวิถีอ่ืนอันเปนหลักฐาน
แหงความหมายรวมถึงเงนิ ตรา ลายพมิ พน ิว้ มือ ตราประทับท่ีเกดิ จากการสลักวสั ดุ เชน ไม
หรอื ยางเครอ่ื งหมายการคา เปนตน

10 คูมือการเฝา ระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ

* เปน พยานช้นั เอกทศี่ าลรบั ฟง
- พยานเอกสารท่ีนา เชอ่ื ถือจะอยใู นหนว ยงานท้ังภาครฐั และเอกชน
- ตัวเอกสารไมอาจพิสูจนความผิดของผูกระทําผิดไดจะตองแปลความหมายตัวเอกสาร

เพ่ือเชอื่ มโยงกบั เหตกุ ารณและพยานหลกั ฐานอน่ื
• การจดั การ

- รวบรวมเอกสารท่ีเปน พยาน
- จาํ แนกและจัดหมวดหมทู ี่รวบรวมได เชน เอกสาร ภาพ หรือวดิ ีทศั น
- การตรวจพิสจู นและแปลความหมาย
- การไดม าซ่ึงเอกสารอาจมาจากแหลง ขอ มูลภาครฐั หรอื ภาคเอกชน ในทางลับ
• ขอ ควรระวงั
- เอกสารปลอม
- เอกสารท่ีมีรอยแกไข,ขดู ลบ
- ทม่ี าของเอกสารตอ งชดั เจน
- ภาคประชาชนอาจหาพยานเอกสารไดย าก
- กรณีศกึ ษา คดบี กุ รุกท่ีดนิ ของรัฐ, คดปี ลอมเอกสาร, คดีน้ํามนั , คดีฉอโกง

พยานวัตถุ
นิยามตามกฎหมาย คือ สิ่งของซึ่งหมายถึง สังหาริมทรัพยใด ซ่ึงอาจเปนหลักฐานใน
คดอี าญาได ใหร วมทงั้ จดหมายโทรเลขและเอกสารอนื่ ๆ (สงั หารมิ ทรพั ย หมายถงึ ทรพั ยส นิ อน่ื
นอกจากอสังหาริมทรัพย และความหมายรวมถึงสิทธิอันเก่ียวกับทรัพยสินน้ันดวย)
พยานวัตถุ
- เปนพยานที่มคี วามสาํ คญั ทีจ่ ะสามารถเปนหลักฐานในการพสิ จู นค วามผดิ ไดดี
- ท่มี าของพยานวตั ถตุ อ งชดั เจน มสี ง่ิ ทจ่ี ะยึดโยงไปยังบุคคลหรอื สถานท่กี ็ได
- ตองไมมีแหลง ทีม่ าจากสิง่ ผิดกฎหมาย
ขอ ควรปฏบิ ัตหิ รอื ระมัดระวังสําหรบั พยานวัตถุ
• เมื่อพบพยานวัตถุ
- อยา นาํ มือไปสมั ผัสไมสัมผสั จบั ตอง
- ถายภาพวตั ถุพยานท่พี บทง้ั ในมมุ กวา งและมมุ แคบหรอื ชดั ลึก (ซูม)
- นําส่ิงของมากันไมใ หคนเหยยี บ/กัน้ ทเ่ี กิดเหตุ
- เรียกเจาหนาท่ที เ่ี ก่ยี วของมาเกบ็ วัตถุพยาน
- กรณีที่ทราบวาวัตถุพยานกับบุคคล ควรแจงเจาหนาท่ีมาทําการตรวจคนเพ่ือยึดไว

เปน หลักฐาน

คูมือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ 11

• หากมกี ารสง มอบวตั ถพุ ยานระหวา งเอกชนดว ยกนั ควรมกี ารทาํ บนั ทกึ จดบนั ทกึ การสง มอบ
ไวโดยพยานบุคคลลงช่ือไว และพยานบุคคลน้ีควรเปนที่เคารพ นับหนาถือตาในสังคมและ
ไมม ีสวนเกย่ี วขอ งกับคดคี วาม

• กรณีศกึ ษา คดีฆาตกรรม, คดยี าเสพตดิ คดีลกั ว่งิ ชงิ ปลนทรพั ย

พยานบุคคล

• เปน พยานทีศ่ าลใหความสําคญั นอยท่สี ุด
• บุคคลสามารถเปลี่ยนแปลงถอ ยคาํ เม่อื มีสิ่งเราจากภายนอก
• การสรางพยานบคุ คลใหนา เชอื่ ถอื

- พยานบุคคลตอ งใหการตามความเปนจริงสอดรบั กบั พยานเอกสาร หรอื พยานวตั ถุ
- บางคร้ังไมสอดรับพยานเอกสาร ตองวิเคราะหวาเอกสารปลอม หรือพยานใหการเท็จ

พยานบคุ คลใหก ารสอดรบั กับพยานคนอน่ื
- พยานบคุ คลใหถ อ ยคาํ โดยมพี ยานทไ่ี วว างใจไดร ว มฟง การใหถ อ ยคาํ และลงนามกาํ กบั เปน พยาน
เทคนคิ และวิธีการในการรวบรวมพยานหลักฐาน
การสงั เกตการณ
- ดวยตนเอง
- การใชบุคคลอ่นื
- การศึกษาเปาหมายกอนการดําเนินการ สถานที่ บุคคล เสนทางคมนาคม ยานพาหนะ

สาธารณะ ขนบธรรมเนียม วฒั นธรรม เปนตน
- การจดบนั ทึกสิ่งท่สี งั เกตไดเปนรายวัน
การตรวจสอบเอกสาร
- บันทกึ ภาพและเสยี ง
- จากแหลงทีม่ าของเอกสาร ท้งั แหลงขอมูลเปด และแหลงขอมูลปด
- ตรวจสอบเครือขาย
- ตรวจสอบกจิ กรรม หรอื สถานทที่ เี่ ปา หมายดาํ เนนิ การ เกยี่ วขอ งสมั พนั ธอ ยา งไรกบั เครอื ขา ย
- จัดทํารายงานผลการตรวจสอบรายวนั

12 คมู ือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดีพเิ ศษ

การซักถามและสมั ภาษณ
- จะตองระมัดระวังในการซักถามเปนพิเศษ เพราะจะทําใหเรื่องราวจะมีการกระทําผิด

ถกู ระงบั ไป ซึ่งอาจจะมอี นั ตรายตอ ผูซกั ถาม
- ประเมนิ ผทู จี่ ะถูกซกั ถามกอ น
- ควรถามเรอื่ งทว่ั ไปกอ น และคอ ยๆ ถามเขา เรอ่ื งใหม คี วามรสู กึ กลมกลนื กบั เรอื่ งทจี่ ะถาม
- ถา ไมม น่ั ใจ ไมค วรใชวธิ ีนี้
การใชผูใหข าวหรอื แหลง ขา ว
- การสงคนทรี่ ูจ กั เขาไปทาํ งานเพื่อสังเกตการณ
- การใหผ ูทม่ี ีขา วสนิทสนมกบั แหลงขาวเขา ไปหาขา วจากแหลง ขาว
การเขาไปหาขา วดวย
- การเขา ไปทาํ งานดว ยตนเองและหาขาวไปดวย
- การเขา ไปสัมพันธก ับเปา หมายโดยการแนะนาํ ของคนทรี่ ูจกั เปา หมาย
การสะกดรอย
- ตดิ ตามความเคล่อื นไหวของเปา หมายและเครอื ขายทง้ั อยา งลับ และเปดเผย
- อาจเปนวิธีการเสย่ี ง
การใชก ลองวีดทิ ศั นและภาพน่งิ
- ติดตามถา ยภาพเบ้ืองหลงั
วีดทิ ศั น ภาพน่ิง เสียง
• ภาพวีดทิ ศั น ที่มีทง้ั ภาพและเสียง เปน พยานหลกั ฐานท่ีดีมากทีจ่ ะใชพิสูจนค วามผดิ
• ภาพวดี ิทัศน จะบงบอกอากปั กริยาของเปาหมายและเสียงจะเปน ตวั ถายทอดการกระทาํ
• ภาพนง่ิ เปน พยานหลักฐานในระดบั หนงึ่ แตต อ งระมัดระวงั ในเร่ืองการตคี วาม
• เสียง ใชเปนหลักฐานไดไ มดเี พราะอาจมกี ารเลียนกันได
• กรณีศกึ ษา คดีฮัว้ ท่ี จงั หวดั กาญจนบุร,ี คดหี มิ่นประมาท
• ขอควรระวงั
- การตดั ตอ ภาพและเสียง
- การตีความภาพน่งิ
- การเลียนเสยี ง

คูมือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ 13

ขา วกบั ขา วกรอง

ขาว คือ วัตถุดิบจากทุกรายละเอียดในการรวบรวมหลักฐาน จากการสังเกตการณ

สะกดรอยขาว ขาวลือ รายงานตางๆ หรือแหลงขาวตางๆ ถูกตองหรือไมถูกตอง ยืนยันหรือ
ไมยนื ยัน ตรงประเด็นหรอื ไมตรงประเด็น

ขา วกรอง คอื ผลทเ่ี กดิ จากการรวบรวมขอ มลู ซงึ่ ผา นการกลน่ั กรองและถกู วเิ คราะห

แลว บางกรณกี ารเพิม่ เติมขา วสารเขา มาเปน ผลมาจากการวเิ คราะห

ลักษณะของขาว

ลักษณะของขา ว แบงออกเปน ๒ ชนิด
- ขอ เทจ็ จริง คือ สง่ิ ท่ีเห็น ไดยนิ ไดฟ ง ไมวา ดว ย ตวั เอง หรือผอู น่ื สิ่งทไี่ ดรับมา
อาจจรงิ หรอื เท็จกไ็ ด
- ขออนุมาน คือ การนําขอเท็จจริง มาปรุงแตงโดยอาศัยเหตุผลจากประสบการณ
ความรูความสามารถท่ีมีอยูการเก็บรวบรวมขอมูล คือ การเขาถึงขอมูลท้ังขอมูล
ชนิดเปดเผย หรือ ขอมลู ทางลับ จากแหลงขอมูล หรือแหลงขาวตางๆ

ที่มาของการหาขาว

• การรอ งทกุ ขข องผูเ สยี หาย การรายงานของผูป ระสบเหตุการณ
การรองเรียนของราษฎรพลเมืองที่ดี

• การรายงาน การตรวจสอบ คาํ รอ งขอ จากหนว ยงานอ่ืน
• การปฏิบัติงานประจาํ ของเจาหนาท่ี
• การตรวจตราตดิ ตามสงั เกตการณ การสะกดรอยบคุ คลหรอื ผูตองสงสัย
• การรับสารภาพหรอื หกั หลงั กันของกลุม ผกู ระทําความผิด
• การเปดเผย ไดยนิ ไดฟง โดยบงั เอิญ
• รายงานขาวจากหนว ยงานอ่ืน
• จากหนังสอื พมิ พ วทิ ยุ โทรศพั ท อนิ เทอรเน็ต
• การใชส ายลับ เจาหนาทอ่ี าํ พราง

14 คูมอื การเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี เิ ศษ

แนวทางในการรวบรวม
• แนวทางในการรวบรวมขาวการตรวจสอบขอมูล
• การสัมมนาเพอ่ื แสวงหาขอ มลู
• การเฝา ตรวจและสะกดรอย
• การใชผ ูใหข า วหรือสายลับ
• การใชเจา หนา ทีอ่ าํ พราง
• การตรวจคน

คุณสมบัติของผูแจงขาว
• ฉลาดมีไหวพรบิ และปฏภิ าณดี
• เปน ผูช า งสังเกตและจดจํา
• มีมนุษยสมั พันธด ี เขา กับคนไดท กุ ประเภท
• มุงมัน่ อดทน เสียสละ มีความกลา
• ซอ่ื สัตยท ้ังตอ ตนเองและผอู นื่ ไมโกหก
• ไมเ ปน คนโออวด ขค้ี ยุ
• เปน ผฟู ง ทดี่ ี

ลักษณะการแจงขาว

• กรณี ที่ทานทราบขาวเกยี่ วกบั อาชญากรรม ซ่ึงไมใ ชเ หตุที่เรงดว น เชน รูตวั หรือทราบ
แหลงหลบซอนของคนราย เพื่อใหความรวมมือกับเจาหนาท่ีในการปองกันและ
ปราบปรามอาชญากรรม ในฐานะท่ีเปนพลเมืองดีคนหน่ึง ทานอาจแจงขาวสารให
เจา หนาทไ่ี ดรบั ทราบ โดยวธิ ีดงั นี้

• ทางโทรศพั ทโ ดยแจง ตอ หนว ยงานหรอื หมายเลขโทรศพั ทข องเจา หนา ทปี่ ระสานงาน
• ทางจดหมาย ทา นเขยี นแจง ไดว า โดยทา นจะแจง ในนามของทานหรือไมก็ได
• พบเปนการสวนตัว ซ่ึงทานอาจจะเสียสละเวลาไปพบเจาหนาท่ีประสานงาน หรือ

อาจจะขอใหเ จา หนา ทป่ี ระสานงานไปพบทา นกไ็ ด ทงั้ ขา วสารทไี่ ดร บั จากทา น จะถอื วา
เปน สิง่ ทมี่ ีคณุ คา มาก โดยจะเกบ็ รกั ษาไวเปน ความลับ

คมู อื การเฝา ระวงั อาชญากรรมคดพี เิ ศษ 15

บคุ คลที่เกีย่ วขอ งเมื่อเกิดคดมี ี � กลมุ

กลมุ ท่ี � ผเู สยี หายทถี่ กู กระทาํ (ถา ตายกพ็ ดู ใหข อ มลู ไมไ ด) และสภาพทเ่ี กดิ เหตุ
กลมุ ท่ี � ผกู ระทาํ ผิด ซง่ึ อาจหนีไปแลว
กลุมที่ � พยาน ซึ่งสว นมากกจ็ ะใหขอ มูลไดไมหมด
กลุม ท่ี � ผสู บื สวน(ผรู บั แจง) จะเปน ผไู มรอู ะไรเลยในเบ้อื งตน

แนวทางในการรวบรวมขาว
• การตรวจสอบขอมลู
• การสนทนาเพือ่ แสวงหาขอมลู
• การเฝาตรวจและสะกดรอย
• การใชผ ใู หขาวหรอื สายลบั
• การใชเจาหนา ทอี่ าํ พราง
• การตรวจคน

องคป ระกอบของขา วที่แจง
• ใคร ผูก ระทาํ ความผิด
• ท่ีไหน สถานทกี่ ระทําความผดิ
• ทาํ อะไร ผูก ระทําผิดทาํ อะไรอยู
• เมอ่ื ไหร วันเวลาหรือหว งทกี่ ระทําความผดิ
• อยา งไร ผูกระทาํ ความผิดทาํ อยา งไร
• เหตุใด สาเหตุที่กระทาํ ความผิด

*ระมดั ระวงั *
โปรดอยาแจง ขาวเท็จ อนั เปนการกระทาํ ท่ไี มใชพลเมอื งดี ทงั้ อาจเกดิ ผลเสียหาย
ตอสว นรวมและตวั ทา นเองดว ย ขาวสารทม่ี รี ายละเอียดมากเทาใด ยอมเกดิ ประโยชน
ตอการปฏบิ ัติงานของเจาหนา ท่มี ากขน้ึ เทาน้ัน

16 คมู ือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ

รูปพกรารรสณังสเกณั ตฐาน

การสงั เกตและจดจํา

• เรามักจะมอง แตไ มเห็น และมกั จะไดยิน แตไมไ ดฟง
• ใชต า เปน กลอง วีดโี อ
• ใชหู ใหเ กดิ ความมุงมั่น จดจอ มสี มาธิ
• เหน็ ไดยิน จาํ จด บันทกึ รายงาน

การสังเกต จดจาํ ตาํ หนิรปู พรรณบคุ คล

• สังเกตจดจาํ สง่ิ ทใ่ี หญเหน็ ไดงายไปสูสงิ่ ท่เี ล็กเห็นไดย าก
• สงั เกตจดจาํ ลกั ษณะเดน ตําหนิไปสูลกั ษณะ ปกติธรรมดา
• พยายามอยาจดจาํ ทกุ ส่ิงทกุ อยางแตใ หจดจาํ บางสงิ่ บางอยา งทที่ านจดจํา

ไดอยางแมนยาํ
• มอบรายละเอยี ด ใหก บั เจา หนา ที่ ทเ่ี ก่ียวขอ ง

สิ่งทส่ี ามารถจดจําไดงา ย และควรจดจาํ กอน

เพศ : เปนชาย หญงิ กะเทย ทอม ดี้
วัย : เด็ก วยั รนุ ผใู หญ แก อายปุ ระมาณเทา ใด ฯลฯ
รูปรา ง : สูง เตยี้ อว น ผอม สนั ทัด ฯลฯ
ผวิ : ขาว ขาวเหลือง ดาํ ซีด เห่ียวยน ฯลฯ
เชอ้ื ชาติ : ดูจากใบหนา เปน คนไทย จีน ลกู ครึ่ง แขก ฯลฯ
รูปหนา : รปู ไข กลม ยาว เหลี่ยม ฯลฯ
ผม : สัน้ หงอก หนา หยกิ ตดั ทรงอะไร หวีอยา งไร สีผม ฯลฯ
ตา : เลก็ โต พอง โปน ตาชั้นเดยี ว สองช้ัน ตาเข สวมแวน ตา แวน กนั แดด ฯลฯ
หู : กางใหญ เลก็ ติง่ หูแหลม ฯลฯ
ปาก : กวาง แคบ ใหญ รมิ ฝป ากหนา ฯลฯ

คูมือการเฝา ระวังอาชญากรรมคดพี ิเศษ 17

การสังเกตและจดจํารปู พรรณสัณฐาน

• ลายสัก สักรูปอะไร สอี ะไร อยทู ่สี วนไหน ของรา งกาย
• ความพิการ ตาบอด หหู นวก ใบ แขนขาดวน ลบี ปากเบีย้ ว ฯลฯ
• ทาทางการเดิน เดนิ ตัวตรง ตัวเอยี ง ขากะเผลก หลงั คอม
• สําเนียงการพดู พดู ชา เร็ว ตดิ อาง สําเนียงเปน คนไทย จีน ฝรงั่ หรือสําเนียงคนภาคใด

ภาษาประเทศอะไร
• พฤติกรรมเดน สบู บหุ รี่จดั พูดเอามอื ปดปาก ตดิ ยาเสพตดิ เวลาพูดเอามือลวงกระเปา

การแตงกาย จดจาํ เสอ้ื กางเกง เชน แขนส้ัน-ยาว ขาส้นั -ยาว ฯลฯ
• แบบของเสอ้ื กางเกง เชน ยนี ส เสอื้ ยดื เสอื้ เชต้ิ เครอื่ งแบบ นกั ศกึ ษา สอี ะไร

ลายแบบไหน มีตวั เลขอะไรหรือไม รองเทา ทส่ี วมเปน ชนิดใด สอี ะไรแบบใด
• เครอื่ งประดบั มเี ครอื่ งประดบั อะไรบา ง ทเี่ หน็ ไดช ดั เชน แวน ตา นาฬก า แหวน สรอ ย

กระเปาถอื ฯลฯ

การสงั เกต จดจํา ยานพาหนะ มหี ลกั ใหญๆ ดงั น้ี

• สงั เกตจดจาํ ในสิ่งท่ใี หญ เหน็ ไดง ายไปสูส่งิ ทีเ่ ล็กเห็นยาก
• สงั เกตจดจําตาํ หนิ รอยชน สต๊ิกเกอร จดุ เดนตางๆ
• พยายามสงั เกต อยา จดจาํ ทุกส่งิ ทุกอยาง แตใหจ ดจาํ บางส่งิ ท่ีทา นจําไดอยางแมนยาํ
• เมอื่ พบเหน็ เหตกุ ารณแลว ใหร บี บันทกึ ลักษณะเอาไวทนั ที
• มอบรายละเอียดใหก ับเจาหนาทีท่ ี่เกย่ี วขอ ง

18 คูม อื การเฝา ระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ

เพ่ือกการาเรฝมาีสรวะนวรงั วอมาขชอญงาปกรระรชมาคชดนีพิเศษ

หลกั การสรา งการมสี ว นรว มของประชาชน หมายถงึ การเปด โอกาสใหป ระชาชน
และผทู เ่ี กย่ี วขอ งทกุ ภาคสว นของสงั คมไดเ ขา มามสี ว นรว มกบั ภาคราชการนนั้ แบง ระดบั
ของการสรางการมีสว นรวมของประชาชนเปน 5 ระดับ ดังน้ี
�. การใหขอมลู ขาวสาร

เปน ระดบั ทส่ี าํ คญั ทสี่ ดุ เปน กา วแรกของการเปด โอกาสใหป ระชาชนเขา สกู ระบวนการ การมี
สว นรว มในเรอื่ งตา งๆ วธิ กี ารใหข อ มลู ขา วสารผา นชอ งทาง เอกสารสงิ่ พมิ พ นทิ รรศการ จดหมาย
การติดประกาศ การจัดงานแถลงขาว วิทยุ โทรทัศน ส่ือสังคมออนไลน(facebook/youtube)
และการใหข อ มลู ผา นเว็ปไซต เปนตน

๒. การรับฟง ความคดิ เห็น
เปนกระบวนการท่ีเปดใหประชาชนมีสวนรวมในการใหขอมูล ขอเท็จจริงและความคิดเห็น

เพื่อประกอบการตัดสินใจของหนวยงานภาครัฐดวยวิธีตางๆ เชน การรับฟงความคิดเห็นในการ
ประชุม การรับจดหมายหรือขอความ การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผานเว็บไซต
สว นเครอื ขา ยการปองกันการเกดิ อาชญากรรมคดพี เิ ศษ เปนตน

คูมือการเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพเิ ศษ 19

๓. ความเกยี่ วของ
เปนการเปดโอกาสใหป ระชาชนมสี วนรว มในการปฏบิ ัตงิ าน หรอื รว มเสนอแนะแนวทางทีน่ ํา

ไปสกู ารตดั สนิ ใจ เพอื่ สรา งความมน่ั ใจใหก บั ประชาชนวา ขอ มลู ความคดิ เหน็ และความตอ งการของ
ประชาชนจะถูกนําไปพิจารณาเปนทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เชน การประชุมเชิง
ปฏบิ ัติการเพือ่ พิจารณาประเดน็ นโยบายสาธารณะประชาชนพิจารณ การจัดตัง้ คณะทาํ งานเพ่อื
เสนอแนะประเดน็ นโยบาย เปน ตน
๔. ความรว มมือ

เปน การใหก ลมุ ประชาชน ผแู ทนภาคสาธารณะมสี ว นรว มโดยเปน หนุ สว นกบั ภาครฐั ในทกุ ขน้ั
ตอนของการตัดสินใจและมีการดําเนินกิจกรรมรวมกันอยางตอเนื่อง เชน คณะกรรมการที่มี
ฝายประชาชนรว มเปน กรรมการ เปนตน
๕. การสง เสริมการมอี ํานาจแกประชาชน

เปนข้ันที่ใหบทบาทประชาชนในระดับสูงสุด โดยใหประชาชนเปนผูตัดสินใจ เชน การลง
ประชามติในประเด็นสาธารณะตางๆ โครงการเปดศูนยรับขอมูลขาวสารและเผยแพรเครือขาย
อาชญากรรมคดพี ิเศษท่มี อบอาํ นาจใหป ระชาชนเปนผตู ดั สินใจท้ังหมด เปนตน

“ ในหลัก 5 ประการนี้ อยูภายใตแ นวทางการนําไปใชค อื รจู กั มกั คุน
อุนใจ ไปดวยกัน เปนกระบวนการทํางานรวมกับประชาชน และสงเสริม
ใหประชาชนเขามามีสวนรวม ท้ังน้ี แมฝายใดฝายหนึ่งไมเคยทํางานดวยกัน
มากอน แตสิ่งสําคัญท่ีสุดคือ ความปลอดภัยของประชาชน เปนเร่ืองสําคัญ
และมีแนวคิดท่ีเหมือนกัน เม่ือไดมารูจักกัน สรางความมักคุน รวมกิจกรรม
รว มแสดงความคดิ เหน็ และรว มชว ยเหลอื กนั จงึ เกดิ ความอบอนุ และสามารถ
ทํางานดวยกันไดอยางสนิทสนมและเช่ือใจกัน นําไปสูการทํางานรวมกัน
แมไ มมสี ่ิงตอบแทน”

20 คมู อื การเฝา ระวังอาชญากรรมคดพี ิเศษ

"ภารกิจของภาคประชาชนและกระบวนการมีสว นรว มคือ"
ประชาชนสามารถมารวมกนั เขียนแบบเฝา ระวังพ้นื ที่

โดยมีหลกั การเขียนดงั นี้

�. ใคร �. ทําอะไร �. ที่ไหน
ผูกระทาํ ความผดิ พฤตกิ รรมความผดิ สถานท่ี ทกี่ ระทาํ
เชน กลมุ ชายฉกรรจ เชน ใชร ถตูเปนพาหนะ ความผดิ เกดิ เหตุ เชน
ในการลกั พาตวั เหตุเกิดในพ้นื ท่ีหมู ๑
� คน
ตาํ บลหวั สูง อาํ เภอสวนผ้ึง
จังหวัดราชบรุ ี

�.ขอ มลู การติดตอ �. การดาํ เนินการ �. ผลกระทบ
จะตดิ ตอ ผรู อ ง/ผใู ห ทผี่ า นมา ไดทาํ อะไรไป ความเสยี หาย/
ขอมูลเพิ่มเติมได แลว บา ง เชน ผูป กครอง ผลกระทบทเี่ กิดขึน้
อยา งไร เชน เบอร ของเด็กไดแ จง ความกบั เชน ทาํ ใหชาวบาน
โทรศัพทมอื ถือ ตาํ รวจในทองทแ่ี ลว รสู กึ หวาดกลวั

�. ขอ มูลอืน่ DSI
ที่เปนประโยชนขอมูล/
พยานหลกั ฐานทเ่ี ปน ดําเนินการ
ประโยชนในการ
ดําเนินการของ
DSI

คมู ือการเฝา ระวังอาชญากรรมคดพี ิเศษ 21

คํารอ งขอใหกรมสอบสวนคดีพิเศษพจิ ารณาใหค วามชวยเหลอื
หรอื ขอใหดาํ เนนิ คดอี าญาตามพระราชบญั ญัตกิ ารสอบสวนคดพี ิเศษ พ.ศ.2547

จัดทําที.่ .................................................
วนั ท.ี่ ................เดอื น......................พ.ศ.......................
เรยี น อธิบดกี รมสอบสวนคดีพิเศษ
ดวย ขาพเจา ............................................................. อายุ ........................... ป
เชื้อชาติ ................... สัญชาติ ..................... หมายเลขประจําตวั ประชาชน/หมายเลขหนังสอื
เดนิ ทาง....................................... ออกโดย .................................... มคี วามประสงคย นื่ คาํ รอ ง
ตออธิบดกี รมสอบสวนคดีพเิ ศษ ดงั มขี อ ความจะกลาวตอ ไปน้ี
ขอ �. ขา พเจา มภี มู ลิ าํ เนา อยบู า นเลขที่ .......................... หมทู ่ี .............................
ตาํ บล................................... อาํ เภอ ................................ จังหวดั ..................................
ปจ จุบนั พักอาศัยอยทู ่ี .....................................................................................................
.........................................หมายเลขโทรศัพทท ส่ี ามารถตดิ ตอได ......................................
ขอ �. ขาพเจาประสงคยื่นคํารองใหกรมสอบสวนคดีพิเศษพิจารณาโดยมีขอเท็จจริง
ของเรือ่ ง ดังตอ ไปน้ี
(ใหระบุเกี่ยวกับขอเท็จจริงของเร่ืองที่เกิดข้ึนโดยเรียงลําดับเหตุการณ ทั้งน้ีใหระบุ
รายละเอียด ที่เกี่ยวกับเวลาและสถานท่ี บุคคล ส่ิงของที่เกี่ยวของและความเสียหายท่ีตนเอง
ไดรับเทาทจ่ี ะบอกได)
……………………………………………………………………..………………............…………………………
……..……………………………………………………………………..………………............…………………
……………..……………………………………………………………………..………………............…………
……………………………………………………………..………………............…………………………….…..
ขอ �. สถานทเ่ี กิดเหตุ .....................................................................................
ขอ �. วนั เวลา เกดิ เหตุ ..................................................................................
ขอ �. มลู คา ความเสยี หาย (ถา ม)ี คดิ เปน เงนิ ไทย จาํ นวน ................................ บาท
ขอ �. ผูตองหา หรือผูต อ งสงสยั (ถามี ..............................................................

22 คมู ือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดีพเิ ศษ

ขอ �. เคยยน่ื เรอ่ื งเดยี วกนั นใ้ี หห นว ยงานอนื่ ดาํ เนนิ การหรอื ไม ( ใหท าํ เครอ่ื งหมาย X
หนา ขอ ท่เี ลือก ขอ หนงึ่ ขอใด )

❑ ไมเคยยน่ื เรื่องกับหนวยงานใดมากอ น
❑ เคยย่นื เรอ่ื งความเปนธรรมไวก บั หนว ยงาน ...................................................
❑ เคยรองทุกข/ กลาวโทษใหด ําเนนิ คดอี าญา กับหนวยงาน ..................................
...................................................................................................................................
❑ ผลการดาํ เนนิ การเปน อยา งไร (หากทราบความคบื หนา ใหร ะบุ หากไมท ราบใหเ ขยี น
วาไมทราบผลการดําเนนิ การ)
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
ขอ �. กรณีท่ีเกิดข้ึน ขาพเจามีความประสงคใหกรมสอบสวนคดีพิเศษดําเนินการ
ดงั ตอไปนี้ ( ใหท าํ เครอ่ื งหมาย X หนาขอ ที่เลอื ก ขอ หนึง่ ขอ ใด )
❑ พิจารณาใหความชวยเหลือหรือประสานงานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของเพื่อแกไข
ปญหา/บรรเทาความเดือดรอ น
❑ ประสงคขอใหด าํ เนนิ คดีอาญาตาม พ.ร.บ.การสอบสวนคดีพเิ ศษ พ.ศ. ���� และ
ท่ีแกไขเพ่ิมเติมเนื่องจากขาพเจาเห็นวาเปนการกระทําความผิดทางอาญาและขาพเจามีสถานะ
เกย่ี วกับเร่อื งดังนี้ ( ใหทาํ เครื่องหมาย X หนา ขอ ท่ีเลอื ก ขอหนึง่ ขอ ใด )
❑ เปนผูท่ีไดรับความเดือดรอนหรือไดรับความเสียหายโดยตรงจากการกระทําความ
ผดิ ทางอาญาในเรือ่ งนี้
❑ ไมไดเปนผูท่ีไดรับความเดือนรอนหรือไดรับความเสียหายโดยตรงจากการกระทํา
ความผดิ ทางอาญาในเรือ่ งนี้แตเ ปนเรือ่ งที่ขาพเจารูเห็นเหตุการณหรอื ทราบขอ มูล
ขอ �. กรณีประสงคขอใหดําเนินคดีอาญาตาม พ.ร.บ.การสอบสวนคดีพิเศษ
พ.ศ. ���� ขาพเจามีเหตุผลเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ (เชนมีผูทรงอิทธิพลเก่ียวของ
มีความซับซอน หรือมีผลกระทบอยางรุนแรงอยางไรใหยกพฤติการณแหงคดี และ หรือ
หลักฐานประกอบ)
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

คูม อื การเฝา ระวังอาชญากรรมคดพี ิเศษ 23

ขอ ��. พรอมคํารองขอนี้ขาพเจาไดย่ืนเอกสาร/หลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณา
ประกอบดว ย

(�) เอกสาร จํานวน .......................... แผน พรอมลงลายมือชื่อ/พิมพลายนิ้วมือ
รับรองสาํ เนาถูกตองแลว

(�) หลักฐาน คือ (เชน สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน สําเนาใบแจงความหรือ
ภาพถายเปนตน)
....................................................................................................................................
...................................................................................................................................

(ลงช่อื ) ............................................ (ลงชือ่ ) ...............................................
(......................................................) (.........................................................)
ตาํ แหนง .......................... ผรู ับคํารองขอ
ผูรอ งขอ

แบบรายงาน facebook ใบสมคั รสมาชิก ไลนก ลมุ เครอื ขา ย แบบรับคาํ รอ ง
การเฝา ระวงั ในพน้ื ท่ี เครอื ขายดเี อสไอ ภาคประชาชน

สวนเครือขา ยการปอ งกนั การเกดิ อาชญากรรมคดีพิเศษ
กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ

��� หมู � ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง
เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ �����

โทร. �� ��� ���� ตอ ����� หรือ ����� โทรสาร. � ���� ����

24 คมู ือการเฝา ระวงั อาชญากรรมคดพี เิ ศษ

การรับเรือ่ งรองเรียนทางโทรศัพท

�. บันทึกขอรอ งเรียนตามแบบฟอรมทางโทรศพั ท
�. ลงรบั ในสมุดรับคํารอ งเปน หลักฐาน
�. วเิ คราะหค ํารอ งถงึ ความเปนไปได ถามขี อ มูล

�.� ทําบนั ทึกถงึ ผูบังคบั บญั ชาเพ่ือสงเรอื่ งใหกลมุ งานเลขานุการและศูนยบริหารคดีพิเศษ
�.� ลงพน้ื ทีต่ รวจสอบขอมลู กับเครอื ขายอกี ครงั้
�. ตดิ ตามคาํ รองวามีการดําเนินการอยางไร
�. แจงผูรอ ง กรณี
�.� เขาสูคณะกรรมการคดีพิเศษ
�.� ไมสามารถดาํ เนินการได เน่อื งจากไมเ ขาเงือ่ นไขตาม พ.ร.บ การสอบสวนคดีพเิ ศษ/

พยานหลกั ฐานไมเ พียงพอ
�.� ประสานงานกับหนว ยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรง (เพ่ือตดิ ตามความคืบหนา)
�. รายงานผบู ังคบั บัญชาตามลาํ ดับ

ตดิ ตอ ที่ กองนโยบายและยทุ ธศาสตรส ว นเครอื ขา ยการปอ งกนั การเกดิ อาชญากรรมคดพี เิ ศษ
ชนั้ � อาคารศนู ยราชการเฉลมิ พระเกียรติฯ (อาคารบี)

ถนนแจง วฒั นะ แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ �����
โทร. � ���� ���� ตอ ����� หรือ �����
FACEBOOK : DSI Network
YOUTUBE CHANNEL: DSI Network

คูมอื การเฝาระวังอาชญากรรมคดพี ิเศษ 25

แบบติดตามการเฝาระวงั ในพ้นื ทีฉ่ บับป ����
แบบรายงานการเฝาระวงั และรายงานสถานการณใ พืน้ ที่

(เครือขายDSI ภาคประชาชน)
�) ชอ่ื สมาชกิ (นาย/นาง/นางสาว/อ่นื ๆ) .........................................................................
ชมุ ชน ................................ ถนน/ซอย .............................. ตําบล ..................................
อําเภอ ............................... จงั หวดั ................................... เบอรโ ทรศพั ท. ......................
�) พฤตกิ ารณแหง คดี / เหตกุ ารณ

หมายเหตุ ....................................................................................................................
ผตู ดิ ตอ ........................................
วนั ท่ี.............................................

สว นเครอื ขา ยการปอ งกนั การเกดิ อาชญากรรมคดพี เิ ศษ
กรมสอบสวนคดพี ิเศษ อาคารศนู ยราชการเฉลิมพระเกยี รติ (อาคารบี)
ช้นั � ถ.แจง วฒั นะ แขวงทุง สองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร �����

26 คมู อื การโเทฝารรศะัพวังทอา�ช�ญ�าก�ร�ร�ม�คด�พี�ิเศตษอ ����� หรือ ����� โทรสาร ��-�������

�) พฤติการณแหงคด/ี เหตกุ ารณ
กรณีท่ี � ฉอ โกงประชาชน (แชรล กู โซ)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณีที่ � ทุจริตคอรร ัปช่ัน (ฮั้วประมลู )
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณีที่ � คา มนษุ ย (คาประเวณี/ขอทาน/แรงงาน)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณที ี่ � บุกรกุ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณีท่ี � ยาเสพติด (ยาบา /ยาอ/ี โคเคน/ฯลฯ)
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณีที่ � ความมัน่ คง (บรษิ ัทนอมนิ ี/การถอื หนุ )
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณีที่ � ละเมิดทรพั ยสินทางปญ ญา/ลขิ สทิ ธ์ิ
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณีที่ � คุมครองผูบรโิ ภค (ยา อาหาร เคร่ืองสําอางฯ)
...................................................................................................................................
....................................................................................................................................
กรณที ี่ � หน้ีนอกระบบ
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณีท่ี �� บุคคลสูญหาย
...................................................................................................................................
...................................................................................................................................
กรณีที่ �� อื่นๆ
...................................................................................................................................

...............................................................ค..ูม..อื .ก..า..ร.เ.ฝ..า..ร.ะ..ว.งั..อ.า..ช..ญ..า..ก..ร.ร..ม.ค..ด..พี ..เิ.ศ..ษ.........2...7...........

วงจรขับเคลอื่ นงานเครือขา ย
สวนเครอื ขา ยการปองกนั การเกดิ อาชญากรรมคดีพิเศษ

ประชาชน/ศูนยรบั ---- Eจศคตโแอท-ดําูนิดาลรรmชหตยะศอญอมเรaัพผงบัดiาาlยทยวขก(แอยอรพเีรตมมมรวัูลลเคเขคอ)ดารงพีวอื สขเิ ศาา ษยร สววิเคนเรคาระือหขา ยการปองกนั การ
ขอมูลขา วสารและ -
เผยแพรเครอื ขาย เกดิ อาชญากรรมคดพี ิเศษ
อาชญากรรมคดพี เิ ศษ • รับคํารอ ง
• ลงทะเบียน
สวนเครือขา ยการปอ งกนั • ลงสมุดควบคมุ
การเกิดอาชญากรรมคดีพิเศษ • ลงสารบบคอมพวิ เตอร
• วเิ คราะห
• รายงานตอผูบังคับบัญชา

และผูร อง
• สงหนว ยงานที่เกยี่ วของ

ดาํ เนนิ การตอ ไป

ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ การ ศูนยบริหารคดพี ิเศษ
แจง ผูร อง อธบิ ดีกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ

กอง/สวน/ศนู ยฯ
ทร่ี บั ผดิ ชอบ

28 คมู อื การเฝาระวังอาชญากรรมคดีพเิ ศษ

การรกั ษาเครอื ขาย

ตราบใดทภี่ ารกจิ เครอื ขา ยยงั ไมส าํ เรจ็ ยอ มมคี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งรกั ษาเครอื ขา ยไว
ประคบั ประคองใหเ ครอื ขา ยสามารถดาํ เนนิ ตอ ไปได และบางกรณหี ลงั จากเครอื ขา ยไดบ รรลุ
ผลสาํ เรจ็ ตามเปาหมายแลว ก็จาํ เปนตอ งรกั ษาความสาํ เร็จของเครือขายไว หลกั การรกั ษา
ความสาํ เรจ็ ของเครอื ขา ยมีดังน้ี

• การจดั กจิ กรรมรว มทด่ี าํ เนินการอยางตอเนอื่ ง

เครือขายจะกาวไปสูชวงชีวิตที่ถดถอยหากไมมีกิจกรรมใดๆ สมาชิกของเครือขายก็จะไมมี
โอกาสปฏิสัมพันธกันเมื่อปฏิสัมพันธระหวางสมาชิกลดลงก็สงผลใหเครือขายเริ่มออนแอลง
สมาชิกจะเร่ิมสงสัยในการคงอยูของเครือขาย บางคนอาจะพาลคิดไปวาเครือขายลมเลิก
ไปแลว ความยั่งยืนของเครือขายที่จะเกิดข้ึนตอเมื่อไดมีการจัดกิจกรรมท่ีดําเนินการอยาง
ตอเน่ือง จนกระท่ังกิจกรรมดังกลาวเปนแบบแผน (pattern) ของการกระทําที่สมาชิก
ของเครือขายยอมรับโดยท่ัวกัน ดวยเหตุนี้การท่ีจะรักษาเครือขายไวไดตองมีการกําหนด
เพยี งพอทจ่ี ะดงึ ดดู สมาชกิ ใหร ว มกจิ กรรมดงั กลา ว ไมจ าํ เปน ตอ งเปน กจิ กรรมเดยี วทใี่ ชส าํ หรบั
สมาชกิ ทกุ คนใหส าํ รวจดคู วามตอ งการเฉพาะของสมาชกิ ในระดบั ยอ ยลงไปในแตล ะคน และ
แตละกลุม กลาวคือควรมีกิจกรรมยอยที่หลากหลาย เพียงพอที่จะตอบสนองความสนใจ
ของสมาชิกกลุม ยอ ยในเครอื ขายดว ยโดยทกี่ จิ กรรมเหลา นีก้ ย็ งั คงอยูใ นทิศทางท่ที ําใหบ รรลุ
รวมกันการพบปะเพื่อประเมินผลรวมกันประจําทุกเดือน ฯ ลฯ หรือจัดในรูปแบบที่ไมเปน
ทางการเชน จัดกีฬาสันทนาการระหวางสมาชิก จัดงานประเพณีทองถ่ินรวมกันเปนตน
ในกรณีที่เครือขายครอบคลุมพื้นที่ท่ีกวางขวางมาก ไมควรจัดกิจกรรมเฉพาะสวนกลาง
ควรกระจายจดุ พบปะสงั สรรคห มุนเวียนกนั ไปเพอ่ื ใหสมาชิกเขา รว มไดโ ดยสะดวก

• การรกั ษาสมั พันธภาพท่ีดีระหวางสมาชิกเครอื ขา ย

สมั พนั ธภาพทด่ี เี ปน องคป ระกอบสาํ คญั ยง่ิ ในการรกั ษาเครอื ขา ยใหย ง่ั ยนื ตอ ไป ความสมั พนั ธ
ที่ดีเสมือนน้ํามันท่ีคอยหลอลื่นการทํางานรวมกันใหดําเนินไปอยางราบรื่นเม่ือใดท่ีสมาชิก
ของเครอื ขา ยเกดิ ความรสู กึ บาดหมางไมเ ขา ใจกนั หรอื เกดิ ความขดั แยง ระหวา งกนั โดยหาขอ
ตกลงไมไ ด สมั พนั ธภาพระหวา งสมาชกิ กจ็ ะเรม่ิ แตกรา ว ซงึ่ หากไมม กี ารแกไ ขอยา งทนั ทว งที
ก็จะนําไปสูความเสื่อมถอยและความส้ินสุดของเครือขาย ดังนั้นควรมีการจัดกิจกรรมท่ีมี

คูม อื การเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพิเศษ 29

จุดประสงคเพอื่ กระชับความสมั พันธร ะหวา งสมาชิกโดยเฉพาะ และควรจดั อยางสม่ําเสมอ
ไมใชจัดในชวงท่ีมีปญหาเกิดข้ึนเทาน้ัน นอกจากสมาชิกของเครือขายพึงตระหนักถึงความ
สาํ คญั ของการรกั ษาสมั พนั ธภาพเพอื่ หลกี เลยี่ งความขดั แยง หรอื ความไมเ ขา ใจกนั ทอี่ าจเกดิ
ขน้ึ สมาชกิ ควรแสดงความเปน มติ รตอ กนั เมอ่ื เกดิ ความขดั แยง ตอ งรบี แกไ ขและดาํ เนนิ การ
ไกลเกลี่ยใหเกิดความเขาใจใหม นอกจากน้ีควรมีมาตรการการปองกันปญหากอนท่ีจะเกิด
ความขัดแยงระหวางกัน เชน ในการจัดโครงสรางองคกรแบงอํานาจและไมซับซอน
การกาํ หนดเปา หมายการทาํ งานทสี่ มาชกิ ยอมรบั รว มกนั การจดั สรรทรพั ยากรอยา งเพยี งพอ
การกาํ หนดผนู าํ ทเี่ หมาะสมการกําหนดกติกาอนั เปน ทย่ี อมรับรวมกัน เปน ตน

• การกําหนดกลไกสรา งระบบจงู ใจ

สมาชกิ จะยงั เขา รว มกจิ กรรมของเครอื ขา ยตราบเทา ทยี่ งั มสี งิ่ จงู ใจเพยี งพอทจี่ ะดงึ ดดู ใหเ ขา ไป
มสี ว นรว ม ดงั นน้ั จงึ จาํ เปน ตอ งกาํ หนดกลไกบางประการทจ่ี ะชว ยจงู ใจ สมาชกิ เกดิ ความสนใจ
อยากเขา ไปมสี ว นรว ม ซงึ่ ตามทฤษฏแี รงจงู ใจแลว ปจ เจกตา งๆกม็ สี งิ่ จงู ใจทตี่ า งกนั ดงั นนั้ ควร
ทาํ การวเิ คราะหเ พอ่ื บง ชถ้ี งึ แรงจงู ใจทแ่ี ตกตา งหลากหลายในแตล ะบคุ คลแลว ทาํ การจดั กลมุ
ของสง่ิ จงู ใจทใี่ กลเ คยี งกนั ออกเปน กลมุ ๆ อาทิ คา ตอบแทนเกยี รตยิ ศชอ่ื เสยี ง การยอมรบั ฯลฯ
อนั จะนาํ ไปสมู าตรการในการสรา งแรงจงู ใจสาํ หรบั บคุ คลในแตล ะกลมุ อยา งเฉพาะเจาะจง
ถา จาํ เปน จะตอ งใหค า ตอบแทนเพอื่ เปน สง่ิ จงู ใจ ควรเปน การแลกเปลย่ี นกบั ผลงานมากกวา
ใหผลตอบแทนในลักษณะเหมาจาย กลาวคือผูที่ไดรับคาตอบแทนตองสรางผลงานเพ่ือ
เปนการแลกเปลี่ยน โดยผลงานที่ไดตองสนับสนุนและสอดคลองกับวัตถุประสงคของ
การพฒั นาเครอื ขา ย และควรมกี ารทาํ สญั ญาเปน ลายลกั ษณอ กั ษรใหช ดั เจนเพอื่ สรา งทกั ษะ
ผูกพันระหวางผูรับทุน และผูใชทุนการใหก็ไมควรใหทั้งหมดในงวดเดียวทั้งนี้เพ่ือใหมี
การปรับลดคาตอบแทนไดหากผูรับทุนไมดําเนินการตามสัญญาในกรณีที่ตองการให
เกยี รตยิ ศและชอ่ื เสยี งเปน สง่ิ จงู ใจโดยเฉพาะในงานพฒั นาสงั คมทม่ี กั จะไมม คี า ตอบแทนการ
ดาํ เนินงาน จาํ เปน ตอ งหาสง่ิ จูงใจอื่นมาชดเชยสิง่ ตอบแทนที่เปน ตวั เงนิ ตามทฤษฏี Maslow
ความตอ งการการยกยอ งจากผอู น่ื (esteem need) ทอ่ี ยใู นรปู ของอาํ นาจเกยี รตยิ ศชอื่ เสยี ง
หรอื สถานะทางสงั คมเปนสิ่งท่นี าํ มาจงู ใจไดอ าจทําเปน รูป “ สญั ลกั ษณ ” บางอยา งท่สี ื่อ
ถึงการไดรับเกียรติยศ การยกยองและมีคุณคาทางสังคม เชน การประกาศเกียรติยศ เข็ม
เชดิ ชเู กยี รติ โลเ กยี รตคิ ณุ เปน ตน โดยสญั ลกั ษณเ หลา นต้ี อ งมคี ณุ คา เพยี งพอใหเ ขาปรารถนา
อยากท่ีจะได และควรมีเกียรติยศหลายระดับท่ีจูงใจสมาชิกเครือขายใหรวมมือลงแรง

30 คมู ือการเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพเิ ศษ

เพอ่ื ไตเ ตา ไปสรู ะดบั ทส่ี งู ขนึ้ ตอ ไป ซง่ึ จะชว ยใหเ กดิ ความตอ เนอื่ ง และควรมกี ารประชาสมั พนั ธ
เผยแพรรายชือ่ คนกลุมนีอ้ ยางกวางขวาง

• การจัดการทรพั ยากรสนับสนุนอยา งพอเพยี ง

หลายเครือขายตองหยุดดําเนินการไปเนื่องจากขาดแคลนทรัพยากรมนุษยสนับสนุน
การดาํ เนนิ งานทเี่ พยี งพอทงั้ ดา นวสั ดอุ ปุ กรณ และบคุ ลากร ทสี่ าํ คญั คอื เงนิ ทนุ ในการดาํ เนนิ งาน
ซ่งึ เปรยี บเสมือนเลือดทไี่ หลเวียนหลอ เล้ียงเครอื ขา ยใหส ามารถดําเนนิ การตอไปได เมื่อขาด
เงนิ ทนุ เพยี งพอทจ่ี ะจนุ เจอื เครอื ขา ยอาจตอ งปด ตวั ลงในทสี่ ดุ หากไดร บั การสนบั สนนุ จะตอ ง
มีระบบตรวจสอบการใชจายอยางรัดกุมและมีรายงานผลเปนระยะหากการดําเนินงานไม
คืบหนา อาจจะใหร ะงบั ทนุ ได

• การใหค วามชว ยเหลือและชว ยแกไขปญหา

เครือขายอาจเกิดปญหาระหวางการดําเนินงานไดโดยเฉพาะอยางยิ่งเครือขายที่เพิ่งเร่ิม
ดําเนินการใหมๆ การมีท่ีปรึกษาท่ีดีคอยใหคําแนะนําและคอยชวยเหลือจะชวยใหเครือขาย
สามารถดําเนินการตอไปไดและชวยหนุนเสริมใหเครือขายเกิดความเขมแข็งย่ิงข้ึน ควรมี
ที่ปรึกษาเพ่ือทําหนาท่ีชวยเหลือ ใหคําแนะนํา เปนแหลงขอมูลใหศึกษาคนควา และ
ชวยอบรมภาวะการเปนผูนําใหกับสมาชิกเครือขา ย

• การสรางผูนํารนุ ใหมอยา งตอเน่อื ง

องคกรหรือเครือขายที่เคยประสบความสําเร็จกลับตองประสบความลมเหลวอยางรุนแรง
เมื่อเวลาผานไป เพราะไมได “สรางคน” ข้ึนมารับไมผลัดตอจากคนรุนกอนเพื่อสานตอ
ภารกิจของเครือขาย จําเปนตองสรางผูนําใหมอยางตอเน่ือง เครือขายตองคัดเลือกคนท่ีมี
คุณสมบัติเหมาะสมทั้งดานความรูความสามารถการมีประสบการณรวมกับเครือขาย และ
ทสี่ ําคัญคอื การยอมรับนับถอื และสามารถเปน ศูนยร วมใจของคนในเครอื ขายได ดาํ เนินการ
ใหคนเหลานี้เขารวมกิจกรรมเพื่อเพิ่มประสบการณในการทําหนาท่ีเปนสมาชิกแกนหลัก
เพื่อสืบสานหนา ทีต่ อ ไปเม่อื สมาชกิ แกนหลักตองหมดวาระไป

ดว ยจติ คารวะ
นฐพร บุญยะกร
พนักงานสอบสวนคดพี เิ ศษชาํ นาญการพเิ ศษ
ผูอ ํานวยการสว นเครือขา ยการปองกันการเกิดอาชญากรรมคดพี เิ ศษ

คมู ือการเฝาระวังอาชญากรรมคดพี ิเศษ 31

องคก รอาชญากรรมขามชาติ
กบั การปอ งกนั งานของเครือขา ย

ถา จะพดู ถงึ คาํ วา องคก รอาชญากรรมขา มชาติ หลายคนอาจยงั ไมส ามารถอธบิ ายความ
หรือทําความเขาใจไดมากนัก ซึ่งสมาชิกเครือขายดีเอสไอหลายคนก็อาจยังไมสามารถแยกแยะ
ทําความเขาใจไดดวยเชนกัน ดังนั้นจึงตองมาอธิบายความใหพอเขาใจในสังเขปถึงกระบวนการ
เหลาองคกรอาชญากรรม องคกรอาชญากรรมขามชาติ หมายถึง องคกรหรือกลุมบุคคลสมคบ
และรว มมอื กระทาํ ความผดิ ตอ เนอ่ื งจากประเทศหนงึ่ ไปยงั อกี ประเทศหนง่ึ หรอื หลายประเทศ โดย
องคกรอาชญากรรมขามชาติ เปนองคกรอาชญากรรมท่ีมีการกระทําความผิดท่ีมีลักษณะอยาง
ใดอยางหน่งึ ดงั ตอไปนี้

�) ความผิดทีก่ ระทาํ ในเขตแดนของรัฐมากกวาหนง่ึ รัฐ
�) ความผิดที่กระทําในรัฐหนึ่งแตตระเตรียม การวางแผน การส่ังการ การสนับสนุน

หรือ การควบคุมการกระทาํ ความผดิ ไดกระทาํ ในอีกรฐั หน่ึง
�) ความผิดที่กระทําในรัฐหน่ึง แตเกี่ยวของกับองคกรอาชญากรรมที่มีการกระทํา

ความผดิ มากกวาหน่งึ รัฐ
�) ความผิดท่ีกระทําในรัฐหน่ึง แตผลการกระทําท่ีสําคัญเกิดข้ึนในอีกรัฐหน่ึง

ลกั ษณะการกระทาํ ทเ่ี ปน องคกรอาชญากรรมขามชาติ
�) เปนสมาชิกหรือเครอื ขา ยดําเนนิ งานขององคกรอาชญากรรมขามชาติ
�) สมคบกันต้ังแตสองคนขึ้นไป เพื่อการกระทําความผิดที่รายแรงอันเก่ียวของ

กับองคก รอาชญากรรมขา มชาติ
�) มสี วนรวมการกระทําใด ๆ ไมวา โดยทางตรงหรือทางออ มในกิจกรรมหรอื การดําเนกิ าร

ขององคกรอาชญากรรมขามชาติโดยรูถึงวัตถุประสงคและการกระทําเนนกิจกรรมรูถึง
เจตนาทีจ่ ะกระทาํ ความผิดรา ยแรงขององคกรอาชญากรรมขามชาติ
�) จัดการ สั่งการ ชวยเหลือยุยง อํานวยความสะดวก หรือใหคําปรึกษาในการ
กระทําความผิดรายแรงขององคกรอาชญากรรม

32 คมู อื การเฝาระวงั อาชญากรรมคดีพิเศษ

ตามทกี่ ลา วมาขา งตน เครอื ขา ยหรอื สมาชกิ เครอื ขา ยของดเี อสไอ ทม่ี พี น้ื ทห่ี รอื ชมุ ชนอยู
ในบรเิ วณทมี่ เี ขตตดิ ตอ กบั ชายแดนหรอื ไมต ดิ ตอ กไ็ ด เพราะอาชญากรรมเหลา นสี้ ามารถทจ่ี ะสรา ง
อาชญากรรมไดท กุ พนื้ ท่ี แตส ามารถหลบหนหี รอื อาํ พรางไดง า ยในพนื้ ทใ่ี กลช ายแดน จะเหน็ ไดว า
ลกั ษณะขององคก รอาชญากรรมขา มชาตจิ ะทาํ งานตามลกั ษณะโครงสรา งเครอื ขา ย ซงึ่ มกี ารวาง
หรอื จดั โครงสรา งทท่ี าํ ใหก ารตดิ ตามสบื สวนขอ เทจ็ จรงิ เปน ไปดว ยความยากลาํ บาก มคี วามซบั ซอ น
ในเชงิ โครงสรา ง พรอ มนาํ เทคโนโลยเี ขา มาชว ยในการกอ คดอี าชญากรรมโดยเฉพาะในยคุ ปจ จบุ นั
นี้ ขบวนการเหลา นม้ี กี ารเดนิ ทาง ไดง า ยมากขนึ้ จงึ ทาํ ใหโ ครงสรา งมกี ารขยายตวั ออกไปอยา งกวา ง
ขวางครอบคลุมหลายประเทศ และมีสมาชิกท่ีพักพิงอยูในประเทศตางๆมากมาย ในสวนของ
ประเทศไทยอาจมกี ารแอบแฝง ในพน้ื ทช่ี มุ ชนคนตา งชาตมิ าก อาทิ เกาะสมยุ จงั หวดั สรุ าษฎรธ านี

โครงสรางองคก รอาชญากรรมขามชาติ

คมู ือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดีพิเศษ 33

จงั หวดั ภเู กต็ พทั ยา จงั หวดั ชลบรุ ี จงั หวดั เชยี งใหม และอาํ เภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ เปน ตน
ประเภทของการกระทําความผิดที่เรามักจะเห็นบอย เชน การพนันบอล การทุจริต

คอรร ัปชันขนาดใหญ การคามนษุ ย การคา ประเวณี ยาเสพตดิ และอ่ืนๆ สมาชิกเครอื ขายดีเอสไอ
จะเปนสวนหน่ึงในการปองกันและปราบปรามองคกรเหลาน้ีได เพราะทานจะมีสวนในการเฝา
ระวังและสังเกตพฤติกรรมของผูกระทําผิดในรูปแบบตางๆ ทั้งดานการคามนุษย แรงงาน ชาย
หญงิ เด็ก การคาประเวณี การลกั ลอบคา ยาเสพติด การทจุ รติ คอรรัปชนั หรอื การพนนั บอลตา งๆ
ในจังหวัดใหญหรือในพื้นที่ ท่ีมีคนตางถิ่นอาศัยอยูเปนจํานวนมาก อาจมีองคกรอาชญากรรม
ที่เกิดขึ้นได อาทิ การสั่งทําบัตรเครดิตปลอมโดยผูสั่งการมีการส่ังการมาจากตางประเทศ และ
คดั ลอกขอ มลู จากประเทศอืน่ มาทบ่ี ัตรเครดิตในไทยแลวนําบัตรไปใชในประเทศไทย หรอื คนจาก
ประเทศเพ่อื นบาน มาตั้งถิน่ ฐานหลอกลวงหญิงไทยใหโอนเงินไปบญั ชีคนราย ซ่ึงในกรณีนเี้ ราจะ
เห็นไดบอยครั้งมาก และไมสามารถแกไขได ท้ังน้ี เพราะกลุมคนเหลาน้ีจะดําเนินการและมี
การพฒั นาเรว็ มาก บางครงั้ เมอื่ ทราบเรอ่ื งกส็ ามารถหลบหนแี ละนาํ เงนิ ออกไปนอกประเทศแลว
หรอื ยากตอ การตดิ ตามได เพราะมกี ารเชอ่ื มโยงเครอื ขา ยกนั อยา งกวา งขวางและผบู งการไดว าง
โครงสรา งทยี่ ากตอ การตดิ ตาม เราอาจจะมองวา เปน เรอื่ งไกลตวั แตก ารปอ งกนั หรอื การเฝา ระวงั
จะเปนหนทางในการชวยไมใหองคกรเหลานี้เติบโตในประเทศของเรา เราสมควรที่จะดูแลและ
รวมกันปองกันพื้นที่ของเรา ซ่ึงจริง ๆแลวเปนเรื่องใกลตัวอยางยิ่ง พลังสอดสองจะเปนเครื่อง
ยืนยนั เจตนาทที่ าํ รว มกันมาเพ่อื ใหป ระเทศนีน้ า อยแู ละเปนเมืองของการทองเท่ียวและมรี อยยม้ิ
ท่ีแทจ รงิ

ดวยจิตคารวะ
นฐพร บุญยะกร
พนกั งานสอบสวนคดพี เิ ศษชํานาญการพเิ ศษ
ผูอ าํ นวยการสว นเครอื ขายการปอ งกนั การเกิดอาชญากรรมคดีพเิ ศษ

34 คูม อื การเฝาระวังอาชญากรรมคดีพเิ ศษ

การสรางเครือขา ย

ตอน กาวยางของเครือขายชาๆ แตแข็งแกรง เพ่ือเฝาระวังคดีพิเศษ

Give me a hand join DSI people participation network.

คําวา “เครือขา ย” ฟง ดูแลวอาจจะเปน คําที่เขาใจแสนงายแตเ มื่อเราไดลงมอื ทาํ แลวไมใ ช
งายๆ อยางท่ีคิดไวเลยถาไมเขาใจในความหมายของคําวาเครือขายและจะกาวยางไดอยางไร
เดินไมถูกทางอาจจะเดินทางไขวเขวได ผูเขียนจึงตองศึกษาถึงความหมายและความสําคัญของ
เครือขา ยวาหมายถึงอะไร ทําอยา งไร จะรกั ษาอยา งไร ผเู ขียนเขา ใจไดง า ยๆ คําวา “เครอื ขา ย”
ก็คือกลุมคนหรือองคกร (ก็หนวยงานน่ันแหละ) ท่ีสมัครใจหรือเต็มใจแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร
ระหวางกัน ทํากิจกรรมรวมกัน มีลักษณะโครงสรางที่เปนไปดวยความสมัครใจกิจกรรมที่ทํามี
ความเทา เทยี มกนั ใหเ กยี รตกิ นั มาแลกเปลย่ี นกนั แตม อี สิ ระอกี นยั ยะหนงึ่ เครอื ขา ยคอื คนทมี่ ารวม
ตัวกันทั้งท่ีเปนหมูคณะขาราชการองคกรเอกชนนักวิชาการมีอาชีพท่ีหลากหลายแตกตางกัน
แตส ามารถรวมตวั กนั ไดเ พอื่ แลกเปลย่ี นขา วสารภายใตก ฎเกณฑก ตกิ ารว มกนั มอี สิ ระเสรรี ว มกนั
และในทางวิชาการความหมายของเครือขาย (Network) คือ การเช่ือมโยงของกลุมคนหรือ
กลุมองคกรท่ีสมัครใจที่จะแลกเปลี่ยนขาวสารหรือทํากิจกรรมรวมกันโดยมีการจัดระเบียบ
โครงสรางของคนในเครือขายดวยความเปนอิสระเทาเทียมกันภายใตพื้นฐานความเคารพสิทธิ
เชอ่ื ถือเพ่อื อาทรซงึ่ กนั และกนั

คูมอื การเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี เิ ศษ 35

จึงเหน็ วา เครอื ขายท่แี ขง็ แรงมกี รอบการทาํ งานทาํ ให คน ชมุ ชน สงั คม มีความสุข ดวยการ
พ่ึงพาตนเอง เกิดการรวมตัวกันแลวสรางกลไกแกนนําหลักแกนนํารอง และ ประสานความ
รวมมือในทองถิ่น แตละพื้นที่แลวพัฒนากระบวนการเรียนรูจากภาครัฐนําไปถายทอดสูชุมชน
สรา งกําแพงความรปู อ งกนั การเกดิ อาชญากรรมท่เี ปนคดีพิเศษ

การสรางเครือขายท่ีแทจริงเพ่ือการแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารระหวางสมาชิกและการ
แบงปนขอมูลขาวสาร อาทิเชน ขอมูลดานการวิจัยศึกษาดานการฝกอบรมดานอาชญากรรม
ดานเทคโนโลยีและเครื่องมือในการประกอบอาชีพ หรือบางเครือขายกอตั้งเพ่ือสรางจิตสํานึก
รว มกนั ทางสงั คมเพอื่ ผลกั ดนั การกาํ หนดนโยบายของรฐั เพอ่ื พทิ กั ษผ ลประโยชนข องพน้ื ที่ ชมุ ชน
หลายแหงมีวัตถุประสงคหลายดานทางแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารทางรวมมือกันในการจัดการ
ฝก อบรมและวจิ ยั รวมทงั้ ผลกั ดนั ดา นนโยบายของรฐั การจดั การเครอื ขา ยรปู แบบของเครอื ขา ยมี
ทั้งการกระจายอํานาจและเปนศูนยรวมอํานาจ หรือมีองคกรเปนแกนหลักโดยมีการสงขาว
ถึงการผานองคกรแกนนํา ซ่ึงเนนการติดตอโดยตรงระหวางสมาชิกอยางเปนทางการจะมีการ
สง ขา วเปนระดับ ซ่ึงทัง้ นี้จะมีการพัฒนาจนเปน ศนู ยมากข้นึ

กรมสอบสวนคดพี เิ ศษดาํ เนนิ งานดา นเครอื ขา ยมาตง้ั แตป พ .ศ. ���� จนถงึ ปจ จบุ นั มสี มาชกิ
จํานวน �,��� คน ทุกคนใชว ธิ กี ารและแนวทางดังทกี่ ลา วมาแลวมาทํางานรว มกนั

ดวยจิตคารวะ
นฐพร บุญยะกร
พนกั งานสอบสวนคดีพิเศษชํานาญการพเิ ศษ
ผูอํานวยการสวนเครอื ขายการปอ งกันการเกดิ อาชญากรรมคดีพเิ ศษ

36 คมู อื การเฝา ระวังอาชญากรรมคดีพิเศษ

การเดินทางของเครือขายดเี อสไอ

เดมิ การทาํ งานภายในมกี ารแลกเปลยี่ นขา วสารกนั ภายในองคก รเพอื่ การพฒั นาแตม ไิ ด
หมายความวาการแลกเปลี่ยนขาวสารกันภายในจะสามารถชวยแกไขการดําเนินงานไดทั้งหมด
หนวยงานพัฒนาเอกชนหรือหนวยงานของรัฐ ตางทําหนาท่ีของตน ไมเกี่ยวของกันเพ่ือให
หนว ยงานของตนอยรู อด แมจ ะมกี ารทาํ งานทซี่ า้ํ ซอ นกนั ในแตล ะพนื้ ทก่ี ต็ าม แตล ะหนว ยงานกม็ ี
การสง ขา วสารขอ มลู ไหลเวยี นกนั อยภู ายในหนว ยงานของตน และขอ มลู ขา วสารมคี อ นขา งจาํ กดั
การทาํ งานใชแ นวทางหลกั การเฉพาะทเ่ี คยอยา งใดอยา งหนงึ่ เปน ไปตามนโยบายขององคก ร มไิ ด
มหี รือไมเคยตดิ ตอ ชว ยเหลือกิจการของกนั และกัน ไมเคยใหคาํ ปรึกษาหารือซงึ่ กนั และกันก็มีอยู
มากมาย การทํางานลักษณะเชน เมื่อตองการท่ีจะพัฒนา ท้ังทางเทคโนโลยี การฝกอบรม
การวิจัย ขอเสนอโครงการ หรืออ่ืนๆท่ีเกี่ยวของในกิจกรรมการพัฒนาบุคคล หรือองคกรก็จะใช
สงิ่ ตา งๆ ทพ่ี อจะหาไดใ กลม อื และอาจมกี ารออกแบบใหมห รอื สรา งขน้ึ ใหมถ า จาํ เปน ซงึ่ ตอ งเสยี เวลา
คน หายาวนาน สามารถชว ยแกป ญ หาขา งตน ได แลกเปลยี่ นขอ มลู ขา วสาร รวมทง้ั บทเรยี นและ
ประสบการณกับบุคคลหรือองคกรท่ีอยูนอกหนวยงานหรือองคกรของตน มีความรวมมือซึ่งกัน
และกัน การจําแนกเครือขายท่ีดําเนินงานในพื้นท่ี มีทั้งเครือขายท่ีดําเนินงานในพื้นที่หน่ึง มีท้ัง
เครอื ขาย ระดับประเทศ เครอื ขา ยระดับจังหวดั ระดบั ตาํ บล ระดบั หมูบา นเปนไปตามสภาพของ
ความจาํ เปน หรอื ความสาํ คญั ของพนื้ ที่ หรอื ระดบั ปญ หาทเ่ี กดิ ขนึ้ กไ็ ด ความเปน จรงิ แลว การสรา ง
เครือขายที่แทจริงเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางสมาชิก และการแบงปนขอมูลขาวสาร

คมู อื การเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี เิ ศษ 37

อาทิ ขอ มลู ดานวจิ ัยศึกษา ฝกอบรม ดา นอาชญากรรม ดานเทคโนโลยี เครื่องมอื ในการประกอบ
อาชีพ หรือบางเครือขายกอต้ังเพื่อสรางจิตสํานึกรวมกันทางสังคม และหรือเพ่ือผลักดัน
การกําหนดนโยบายของรัฐ เพ่ือพิทักษผลประโยชนของพ้ืนท่ี ชุมชนหลายแหงมีวัตถุประสงค
หลายดา น ทง้ั แลกเปลย่ี นขอ มลู ขา วสารทงั้ รว มมอื กนั ในการจดั ฝก อบรมและวจิ ยั รวมทงั้ ผลกั ดนั
นโยบายของรฐั การจดั การเครอื ขา ย รปู แบบของเครอื ขา ย มที ง้ั การกระจาย และรวมศนู ยอ าํ นาจ
หรือมีองคกรเปนแกนหลัก โดยมีการสงขาวถึงกัน โดยเนนการติดตอโดยตรงระหวางสมาชิก
ถาไมเ ปน ทางการจะมกี ารสง ขาวเปนระดบั ซึ่งทั้งนี้จะมกี ารพัฒนาจนเปนศนู ยมากข้นึ การกอต้งั
เครอื ขา ยทเี่ ปน การวางแผนของหนว ยงานราชการ การรว มมอื ขององคก รระหวา งประเทศองคก ร
พัฒนาเอกชน หรือหนวยงานภาคเอกชนท่ีใหการอุดหนุนเงินทุนเครือขายตองมีการวางรากฐาน
การกอ ตงั้ ตอ งอยบู นพน้ื ฐานของการมสี ว นรว มอยา งเขม แขง็ และการตดิ ตอ สมั พนั ธก นั ของสมาชกิ
ท่ตี า งกม็ ีอํานาจอสิ ระของตน

ผลการทาํ งานทเี่ ราไดป ระโยชนจ ากความรว มมอื กนั ของเครอื ขา ยดเี อสไอ

การทํางานของเราจะเห็นผลจากผลงานที่สมาชิกดําเนินการสวนผลประโยชนระยะยาว
จะเกดิ ในรปู แบบของประสทิ ธภิ าพของการวจิ ยั และพฒั นา การถา ยทอดวธิ กี ารทาํ งาน และระบบ
ทเี่ กยี่ วขอ งซง่ึ เครอื ขา ยทเี่ กดิ จากการพฒั นามปี ระโยชนห ลายประการขนึ้ อยกู บั วตั ถปุ ระสงคข อง
สมาชิก และกิจกรรมมีดังน้ี มีการแลกเปล่ียนขอมูลขาวสารความรูทักษะและประสบการณ
เครื่องมือและสอ่ื ผานการประชมุ การทดลองปฏิบตั กิ าร การประชาสัมพันธ รวมทั้งการใหค วาม
รวมมือในการดําเนินโครงการการแบงปนทักษะ และประสบการณใหแกกัน ท้ังที่เปนบุคคล
หรือองคกร มีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารการประสานงานและการทํางานท่ีไมซํ้าซอน มีการ
พฒั นากา วหนารวดเร็ว และสง ผลตอ สงั คมในวงกวา งย่ิงขึ้น สามารถเชื่อมโยงการตดิ ตอส่อื สาร
ของกลมุ คนบคุ คลทม่ี าจากตา งระดบั ตา งองคก ร มวี ธิ กี ารทาํ งาน การจดั การองคก รใหม กี ารทาํ งาน
ท่ีสอดคลองกัน เขาดวยกันไดอยางมีประสิทธิภาพ เกิดความเขาใจกันมากข้ึนนําไปสูการทํางาน
รวมกัน เพ่ือประโยชนของทุกฝาย เครือขายที่มาตางกัน ความคิดตางกันแตสามารถตอบสนอง
ความตอ งการเดยี วกนั สามารถสรา งความตอ งการของวตั ถปุ ระสงคเ ดยี วกนั เสนอตอ รฐั และไดก าร
ตอบสนองจากรัฐ และชว ยชปี้ ญ หาและประเดน็ การพัฒนาทีซ่ บั ซอ นของชมุ ชน สรา งความสนใจ
และชี้ใหเห็นปญหาท่ีแทจริง และสรางความนาสนใจจากท่ีเคยเปนศูนยไปตามระดับจนถึง
ความสนใจทเี่ ปน การยอมรบั ในวถิ ที ถ่ี กู ตอ ง การทผ่ี ปู ระสานงานหรอื เลขานกุ าร คณะทาํ งาน และ
คณะกรรมการจะมกี ารดาํ เนนิ การในกจิ กรรมเพอื่ รวมอาํ นาจเรมิ่ ควบคมุ เขา มาดาํ เนนิ การมากกวา

38 คูมือการเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพเิ ศษ

การประสานงานการดาํ เนนิ งานในกจิ กรรมของสมาชกิ ซงึ่ ลกั ษณะเชน นจี้ ะไมไ ดร บั การตอบสนอง
อยา งแทจ รงิ ขณะประสานงาน เลขานกุ าร หรอื คณะกรรมการ เรมิ่ มกี ารเขา มายดึ พน้ื ทท่ี างการ
ตดิ ตอ สอื่ สารการประสานงาน การสง ขา ว หรอื จดหมายขา วทง้ั หมด สมาชกิ บางคนจะรสู กึ เหนอ่ื ย
หนา ย และเรม่ิ ออ นแอ บางครงั้ ไมส ามารถรไู ดเ พราะฝา ยเลขาหรอื สาํ นกั งานมกี จิ กรรมทเี่ ขม แขง็
แตท งั้ นเ้ี ปน ชว งทตี่ อ งระวงั มากทสี่ ดุ เพราะทางฝา ยผปู ระสานงานจะเรมิ่ เชอื่ งชา การตดิ ตามและ
ประเมนิ ผลมนี อ ยมากเนอ่ื งจากโครงสรา งอยอู ยา งหละหลวม ระบบโครงสรา งไมช ดั เจน การประเมนิ
ผลจะไมสามารถทําไดครอบคลุม บางครั้งการประเมินท่ีเปนรูปแบบการวิพากษ มันไมไดการ
ยอมรบั ของเครอื ขา ย เพราะอาจจะทนตอ เสยี งวพิ ากษไ มไ ด บางครงั้ การประเมนิ อาจ ออกมาในรปู
แบบของการสํารวจความคิดเห็นของสมาชิก ทบทวนขอมูลขาวสารท่ีมีและหลักฐานการ
เปลยี่ นแปลง การตรวจสอบขอ มลู จากกลมุ เพอื่ นและบนั ทกึ การตพี มิ พ เผยแพร และการอา งองิ
บางแหงใชการประเมินภายในแบบมีสวนรวม การวิเคราะหขอจํากัดและโครงการจากบุคคล
ภายนอก แมบางครั้งผลการประเมินจะออกมาในทางบวก แตมิไดหมายความวาผลท่ีไดนั้นมี
ความสาํ เรจ็ ตามทตี่ งั้ ไว ขอ มลู เชงิ ปรมิ าณสามารถใชไ ดใ นการวดั ผลการดาํ เนนิ งาน อาจจะวดั และ
ประเมินจากจํานวนจดหมายขาว จํานวนจดหมายตอบรับ การจัดการประชุม ฯลฯ แตตัวเลข
เหลา นนั้ ไมไ ดบ ง บอกถงึ คณุ ภาพสมาชกิ ทแ่ี ขง ขนั จาํ นวนสมาชกิ ๑๐๐ คน ยอ มดกี วา สมาชกิ จาํ นวน
๑,๐๐๐ คน ในบญั ชรี ายชอื่ การจดั การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารทเี่ ขม ขน เพยี ง ๑ ครง้ั หรอื การเผยแพร
ขา วสารทม่ี คี ณุ คา ตอ สมาชกิ ยอ มดกี วา การประชมุ เรอื่ งเดมิ ๆทเ่ี ดมิ การประเมนิ ผลจงึ เปน เรอื่ งยาก

แลว เราจะสรา งเครือขายเพอ่ื อะไร

การจัดตัง้ เครอื ขา ย ตอ งมวี ัตถปุ ระสงคท ่ชี ดั เจน มกี ารกําหนดทศิ ทางกิจกรรมหลัก
และประเภทของบุคคลและองคก รทีจ่ ะเขา มาเปน สมาชิกที่เขม แขง็ การกาํ หนดวัตถุประสงคควร
ใหสมาชิกจํานวนมากมีสว นรวมในกระบวนการกําหนดดวยเพอ่ื ปอ งกันการครอบงําจากกลุม คน
บางกลมุ รวมทงั้ สามารถทจี่ ะเปน หนุ สว น และดาํ เนนิ การรว มกนั ได การดาํ เนนิ กจิ กรรมเครอื ขา ย
ตองมีการประเมินหรือ ทบทวนกิจกรรมทุกระยะเพ่ือใหไดทราบวา ผลการดําเนินการน้ันบรรลุ
วัตถปุ ระสงค และมสี ่งิ ใดทต่ี อ งการดาํ เนนิ กิจกรรมทกุ ครงั้ ทกุ กจิ กรรมมคี วามชดั เจน สรางความ
นาสนใจและดึงดดู การทาํ งานใหมากข้ึนการดาํ เนนิ กจิ กรรมทเี่ ปนลักษณะธรรมดา ซ้ํา และไมนา
สนใจ จะไมคอยสามารถเรียกรองความตื่นเตนเราใจไดมาก ทั้งน้ีการดําเนินกิจกรรมทุกครั้งอาจ
เปนแนวคิดของผูเปนสมาชิกเองหรือรวมกันคิดและแลกเปล่ียน รวมมือกันการดําเนินกิจกรรม
อยางตอเนื่อง จะสามารถทําใหความสัมพันธทั้งกลุม แกนนํา เลขาฯคณะทํางานประสานกัน

คูมือการเฝา ระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ 39

อยางตอเนื่องมีแนวคิด และวิธีการทํางานจากการประชุมและปรึกษาหารือกันอยางตอเนื่อง
เกิดความแนนแฟน และรวมกันดําเนินงานรวมกัน เมื่อเกิดความสัมพันธ และความตอเนื่อง
ผลท่ีตามมาคือความสําเร็จท่ดี าํ เนินการรวมกันกระบวนการตัดสินใจ การเลือกกิจกรรม และวิธี
การทํางานควรดําเนินไปในลักษณะประชาธิปไตย และทําใหสมาชิกรูสึกไดวาพวกเขาสามารถ
มีบทบาทในการดังกลาว ควรเปดทางใหเกิดการมีสวนรวมในวงกวางอาจกําหนดกรอบอยางไม
เปน ทางการหรอื ไมม ลี กั ษณะบงั คบั ใหส มาชกิ และองคก รแกนสามารถแลกเปลยี่ นขอ มลู ขา วสาร
และแสดงความความคดิ เหน็ วพิ ากษว จิ ารณ คดั คา น และมสี ว นรว มในกระบวนการตดั สนิ ใจ และ
การดาํ เนินงานโดยใหเ กียรติทุกคนเปนหุน สวนเกดิ ความรว มมือนาํ ไปสูความสําเร็จ

เราทาํ อะไรกัน

เครือขายท่ีมีแกนนําและองคกรเปนผูสนับสนุนยอมทําใหเกิดแนวคิดการ
ทาํ งานอยา งมีจุดมงุ หมายมที ิศทางเดยี วกนั อาชญากรรมคดีพิเศษ เปนคําถามหลักทีน่ ําแนวคิด
การเฝา ระวงั ของอาชญากรรมคดพี เิ ศษ มาคบคดิ รว มกนั มาวางแผน มาดาํ เนนิ การ โดยใชว ถิ ขี อง
ชมุ ชนเปน กลไกในการขบั เคลอ่ื น มที ศิ ทางและเปา หมาย คอื ความเชอ่ื มน่ั ในองคก รภาคประชาชน
ในการจัดการปญ หาและพัฒนาสังคมรวมกัน
• อวดความรูผานเวทีถายทอดความรู เพ่ือใหเครือขายมีความรูความเขาใจในกระบวนการ

ของกฎหมายท่ีเปนภารกิจของกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพ่ือใหกระบวนการขับเคลื่อนท่ีลงสู
ชาวบานหรือเครอื ขา ยไดเ ขาใจและสะทอ นปญหาออกมาอยางถกู ตอ งจากองคค วามรูท่ีไดร ับ
• การประชุมชี้แจงแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อถายทอดประสบการณการเฝาระวังรวมกัน
มีขอแนะนําและวิธีการของแตละชุมชนมาแลกเปล่ียนเพ่ือนําวิธีการท่ีสามารถดําเนินการได
ไปปรบั ใช
• การสรา งความความเชอ่ื มน่ั รว มกนั ในการแกไ ขปญ หาทเี่ กดิ ขนึ้ ในปจ จบุ นั ตอ งอาศยั ความเขา ใจ
อันดีตอกัน รวมกันทํางานแบบพันธมิตร ใชการมีสวนรวมอยางแทจริงเปดโอกาสยอมรับวิธี
การและความคดิ เห็นทห่ี ลากหลายการแกไ ขปญ หาคือการเรียนรู และการเรียนรูจะนาํ มาซง่ึ
การจดั การกบั ปญ หา เมอ่ื เราวเิ คราะหป ญ หารว มกนั จะทาํ ใหเ ครอื ขา ยเฝา ระวงั รบั รปู ญ หาและ
วางกฎรวมกัน มีขอตกลงรวมกัน DSI จะเปนผูผลักดันแผนและเสริมสรางความเขาใจให
ทุกคนมจี ติ สาํ นกึ รวมกนั

40 คูมอื การเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ

ทบทวนฟง เองบอ ยๆ

• รจู ักเครือขายอยางอิสระ ปราศจากการครอบงาํ
• แบงปน เกื้อกูล และชว ยเหลือ
• สรางเงือ่ นไขอยา งมสี ว นรวม
• มองเครือขา ยและมองตัวเอง
• วิเคราะหปญ หาและแกไ ขปญ หาระยะยาว
• หมัน่ วจิ ยั ชมุ ชน เพอ่ื หาทางพัฒนา
• ทาํ อยา งไรแลวมคี วามสุข ไมห วังผลตอบแทน สรา งความทา ทาย ซมึ ซับ

และผูกพันเช่ือมั่นพลังของเครือขาย

พฒั นาตวั เองบา งนะ

• จดั ทาํ ขอมลู หมบู า น/ชมุ ชนอยางสมบรู ณ
• ศึกษาดงู านทม่ี ีประสิทธภิ าพ
• มีกิจกรรมรว มกันอยา งสม่าํ เสมอ
• พัฒนาแนวทางและแนวคิด
• ขยายผลใหเ ปน เครือขา ยฯตนแบบ
• มีชองทางท่ีหลากหลายมีความปลอดภยั ทั้งสองฝาย
• วางระบบขอมูลเพ่อื ดาํ เนินการ มีเสนทางขอมลู ทจี่ ะไดร ับการดาํ เนนิ การ

เมื่อพื้นท่มี ีปญ หาแบบชาวบาน

• สํารวจขอมลู ในเชงิ ลึก และรวบรวมขอ มลู เพอ่ื วิเคราะหปญหา
• คนหาแกนนําจากเวทปี ระชาคม
• พัฒนากลไกการเฝาระวงั (ตง้ั จดุ สกดั ) เดินเวรยาม อบรมกลุม เส่ยี ง

รณรงคป ระชาสมั พนั ธ
• สรุปแผนการดําเนนิ งานทํางานรวมกันกบั แกนนาํ ท่มี ีจติ อาสา และรวมสรา งพฒั นากลไกใน

การทาํ งานในพนื้ ท่ี มสี ว นรว มชมุ ชนและรว มกนั แกป ญ หาในชมุ ชนพฒั นาความคดิ ของตนเอง
ในการทาํ งาน และแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ กบั ผมู ปี ระสบการณด า นตา งๆ และอยา ลมื พฒั นา
ศักยภาพของเครือขา ยเสริมทักษะใหเขมแข็ง

คูม อื การเฝา ระวงั อาชญากรรมคดีพิเศษ 41

เครือขา ยจะยนื ยาว เมอ่ื เราไดเ ดินตามแนวทางนี้

• พฒั นายทุ ธศาสตรภาคประชาชน สรา งกลไก ภาคจงั หวัด อาํ เภอ ตําบล
• บูรณาการและขยายผลอยา งเปนระบบ
• เสริมศกั ยภาพและพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื ง
• พัฒนาระบบขอมลู และรายงานผล
• อบรมเสริมความรเู พอ่ื เปน เครอ่ื งมือการทํางาน
• จัดสรรทรพั ยากรการทํางานเครือขา ยการเฝาระวังใหเหมาะสม
• สงเสริมการมสี ว นรวมอยา งเสมอภาคและเทาเทยี ม
• หมั่นเยี่ยมเยยี นสรางกิจกรรมทีห่ ลากหลาย
• ยึดมนั่ และแลกเปลี่ยนหัวใจรวมกัน
• ผูกสมั พนั ธ รักในเกียรติ และดแู ลอยา งญาติมติ ร

จดุ สําคญั ของการรกั ษาเครือขา ย

• เรามีกิจกรรมอยางตอเน่อื ง
• เรารกั ษาสัมพนั ธภาพที่ดีตอ กนั และระหวา งสมาชิกเครอื ขา ย
• เรากําหนดกลไกสรางรายการจงู ใจ
• เราจัดหาทรัพยากรสนับสนนุ
• เราใหความชวยเหลือปญหา
• เราสรา งผนู าํ รนุ ใหมอ ยา งตอ เนอ่ื ง และรกั ษากนั ไว เพอ่ื เฝา ระวงั คดพี เิ ศษอยา งเขม แขง็
• เราจะรวมดว ยชว ยกนั ชวยดแู ลผลประโยชนของประเทศชาติอยา งยัง่ ยนื

42 คูม อื การเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ

บัญชีทา ยประกาศ กคพ.(ฉบับที่ �) พ.ศ. ����

เรือ่ ง การกําหนดรายละเอียดของลักษณะของการกระทาํ ความผิด

ตามมาตรา �� วรรคหน่งึ (�) แหง พระราชบญั ญตั ิการสอบสวนคดีพิเศษ พ.ศ. ����

�. คดคี วามผดิ ตามกฎหมายวาดวยการกูยมื เงินทีเ่ ปน การฉอโกงประชาชน
คดคี วามผดิ มบี ทกาํ หนดโทษตามมาตรา �� มาตรา �� แหง พระราชกาํ หนดการกยู มื เงนิ

ที่เปนการฉอโกงประชาชน พ.ศ. ���� และท่ีแกไขเพิ่มเติม ท่ีมีหรือมีมูลนาเช่ือวามีจํานวน
ผูเสียหายต้งั แตส ามรอ ยคนข้ึนไป หรือมจี าํ นวนทกี่ ูยมื รวมกนั ต้งั แตหนง่ึ รอยลา นบาทขึน้ ไป
�. คดคี วามผดิ ตามกฎหมายวาดว ยการควบคุมการแลกเปลย่ี นเงิน

คดีความผิดท่ีมีบทกําหนดโทษตามมาตรา � และมาตรา � ทวิ แหงพระราชบัญญัติ
ควบคุมการแลกเปล่ียนเงิน พ.ศ. ���� และท่ีแกไขเพ่ิมเติม ท่ีมีหรือมีมูลนาเชื่อวามีราคา
หรือมลู คา เปน เงินตราตางประเทศตั้งแตห าสิบลา นบาทข้นึ ไป
�. คดีความผิดตามกฎหมายวา ดว ยความผดิ เกยี่ วกบั การเสนอราคาตอหนวยงานของรัฐ

คดีความผิดท่ีมีบทกําหนดโทษตามมาตรา � มาตรา � มาตรา � มาตรา � มาตรา �
มาตรา �� มาตรา �� มาตรา �� และมาตรา �� แหงพระราชบัญญตั วิ าดวยความผิด เกี่ยวกับ
การเสนอราคาตอหนวยงานของรฐั พ.ศ. ���� ทีม่ ีหรอื มีมลู นาเชือ่ วามีการกระทําความผิด
เก่ียวกับการเสนอราคาเพื่อเปนผูมีสิทธิทําสัญญากับหนวยงานของรัฐซึ่งมีวงเงินหรือ
มูลคาตง้ั แตห า สบิ ลานบาทขึน้ ไป
�. คดีความผิดตามกฎหมายวาดวยเครอ่ื งหมายการคา

คดีความผิดท่ีมีบทกําหนดโทษตามมาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ���/� มาตรา ���
และมาตรา ��� แหงพระราชบัญญัติเคร่ืองหมายการคา พ.ศ. ���� และที่แกไขเพ่ิมเติม
ท่ีมีหรือมีมูลนาเชื่อวามีการกระทําความผิดในลักษณะเปนแหลงผลิต แหลงจําหนาย
สถานทรี่ ับซอ้ื สถานท่เี กบ็ สินคา หรือไดน ําเขา มาในราชอาณาจกั ร โดยมสี ิง่ ของหรือสนิ คาไว
ในความครอบครองเพอ่ื จะใชใ นการกระทาํ ความผดิ หรอื ซง่ึ ไดม าโดยการกระทาํ ความผดิ หรอื
ซง่ึ มไี วเ ปน ความผดิ อนั มมี ลู คา ตามราคาทอ งตลาดตงั้ แตส บิ ลา นบาทขนึ้ ไป หรอื คดที นี่ า เชอื่ วา
มมี ูลคา ความเสียหายอนั เกดิ จากการกระทาํ ความผดิ ต้งั แตสบิ ลา นบาทขนึ้ ไป

คูมือการเฝา ระวังอาชญากรรมคดีพิเศษ 43

�. คดีความผดิ ตามกฎหมายวาดว ยบริษทั มหาชนจํากัด
คดีความผิดทีม่ ีบทกําหนดโทษตามมาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ���

และมาตรา ��� แหงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. ���� และท่ีแกไขเพิ่มเติมที่มีมูลคา
ความเสียหายตง้ั แตหาสิบลา นบาทขน้ึ ไป
�. คดคี วามผดิ ตามกฎหมายวา ดวยการปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ

คดีความผิดท่ีมบี ทกําหนดโทษตามมาตรา �� และมาตรา �� แหง พระราชบญั ญัตปิ องกนั
และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ���� และที่แกไขเพ่ิมเติม ที่มีความผิดมูลฐานเปนคดีพิเศษ
ซ่ึงอยูในอํานาจของพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ หรือคดีที่มีมูลคาความเสียหายต้ังแต
หน่ึงรอยลานบาทขน้ึ ไป
�. คดีความผดิ ตามกฎหมายวา ดวยลขิ สทิ ธ์ิ

คดีความผิดที่มีบทกําหนดโทษตามมาตรา �� มาตรา �� และมาตรา �� แหงพระราช
บญั ญตั ลิ ิขสทิ ธิ์ พ.ศ. ���� ทม่ี หี รือมีมูลนาเชอ่ื วา มกี ารกระทําความผิดในลกั ษณะเปนแหลงผลติ
แหลง จาํ หนา ยสถานทร่ี บั ซอื้ สถานทเ่ี กบ็ สนิ คา หรอื ไดน าํ เขา มาในราชอาณาจกั ร โดยมสี ง่ิ ของหรอื
สินคาไวในความครอบครองเพ่ือจะใชในการกระทําความผิด หรือซ่ึงไดมาโดยการกระทําความผิด
หรอื ซงึ่ มไี วเ ปน ความผดิ อนั มมี ลู คา ตามราคาทอ งตลาดตงั้ แตส บิ ลา นบาทขนึ้ ไป หรอื คดที น่ี า เชอ่ื วา
มมี ูลคา ความเสียหายอันเกดิ จากการกระทําความผิดตง้ั แตส บิ ลานบาทขึ้นไป
�. คดคี วามผดิ ตามกฎหมายวาดวยสทิ ธบิ ัตร

คดคี วามผดิ ทม่ี บี ทกาํ หนดโทษตามมาตรา �� มาตรา �� และมาตรา �� แหง พระราชบญั ญตั ิ
สทิ ธิบตั ร พ.ศ. ���� และทแี่ กไขเพ่มิ เติม ทีม่ ีหรือมีมูลนา เชอ่ื วา มีการกระทําความผดิ ในลักษณะ
เปนแหลงผลิต แหลง จาํ หนาย สถานท่รี ับซอื้ สถานทีเ่ ก็บสนิ คา หรอื ไดน ําเขามาในราชอาณาจักร
โดยมสี ง่ิ ของหรอื สินคา ไวใ นความครอบครองเพอื่ จะใชใ น การกระทําความผดิ หรอื ซง่ึ ไดม าโดยการ
กระทําความผิด หรือซึ่งมีไวเปนความผิดอันมีมูลคาตามราคาทองตลาดตั้งแตสิบลานบาทข้ึนไป
หรอื คดที น่ี า เชอื่ วามีมูลคา ความเสียหายอันเกิดจากการกระทาํ ความผิดต้งั แตสบิ ลานบาทข้นึ ไป
�. คดีความผดิ ตามกฎหมายวา ดว ยหลักทรัพยและตลาดหลกั ทรพั ย

คดคี วามผิดมบี ทกาํ หนดโทษตามมาตรา ��� มาตรา ���/� วรรคสอง มาตรา ��� มาตรา
��� มาตรา ���/� มาตรา ��� เฉพาะความผิดตามมาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� และ
มาตรา ��� ถึงมาตรา ��� แหง พระราชบัญญตั หิ ลักทรพั ยแ ละตลาดหลกั ทรัพย พ.ศ. ���� และ
ท่ีแกไ ขเพิม่ เติมที่มีมลู คา ความเสยี หายตั้งแตห นึง่ รอ ยลา นบาทขึน้ ไป

44 คมู อื การเฝาระวังอาชญากรรมคดีพเิ ศษ

��. คดคี วามผิดตามประมวลรัษฎากร
คดคี วามผดิ ท่มี บี ทกําหนดโทษตามมาตรา �� มาตรา ��/� มาตรา ��/� และมาตรา ��/�

� (�) แหง ประมวลรษั ฎากร และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ ไมว า จะเปน ความผดิ กรรมเดยี วหรอื หลายกรรม
ตา งกนั ทม่ี หี รอื มมี ลู นา เชอ่ื วา เปน เหตใุ หร ฐั ขาดรายไดเ ปน เงนิ ภาษอี ากรรวมเบย้ี ปรบั และเงนิ เพม่ิ
หรอื ทุจรติ ขอคืนภาษีอากรต้งั แตห นง่ึ รอยลา นบาทข้นึ ไป
��. คดคี วามผดิ ตามกฎหมายวาดว ยศลุ กากร

คดีความผิดทม่ี ีบทกําหนดโทษตามมาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� และมาตรา ���
มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� และมาตรา ��� แหง พระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร
พ.ศ. ���� ไมว าจะเปน ความผดิ กรรมเดียวหรือหลายกรรมตา งกันที่มหี รือมมี ลู นาเชือ่ วามขี อง
กลางมูลคาราคาของรวมคาภาษีอากรทุกประเภทเขาดวยกันแลวรวมเปนเงินต้ังแตหน่ึงรอย
ลานบาทขน้ึ ไป หรอื มกี ารฉอ โกงคาอากรหรือขอคนื คา อากรโดยทุจรติ รวมเปนเงินคา ภาษีอากร
ทกุ ประเภทต้งั แตหนงึ่ รอ ยลา นบาทข้ึนไป
��. คดีความผิดตามกฎหมายวา ดว ยภาษสี รรพสามิต

คดีความผิดท่ีมบี ทกําหนดโทษตามมาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� และ
มาตรา ��� แหง พระราชบญั ญตั ิภาษสี รรพสามิต พ.ศ. ���� ไมวาจะเปน ความผิดกรรมเดยี ว
หรอื หลายกรรมตา งกนั ทม่ี ีหรอื มลู นาเชื่อวามมี ูลคาสินคาหรือรายรบั ของสถานบริการรวมเปน
เงินตั้งแตสิบลานบาทข้ึนไปหรือมีปริมาณยาสูบหรือยาเสนน้ําหนัก ต้ังแตหนึ่งลานกรัมขึ้นไป
หรอื มปี ริมาณสรุ าตั้งแตห า พันลติ รขน้ึ ไป
��. คดีความผิดตามกฎหมายวา ดว ยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร

คดีความผดิ ทมี่ ีบทกาํ หนดโทษตามมาตรา � มาตรา � มาตรา � มาตรา � มาตรา �� มาตรา
�� มาตรา �� มาตรา �� และมาตรา �� แหงพระราชบัญญตั วิ าดว ยการ กระทําความผิดเกี่ยว
กับคอมพิวเตอร พ.ศ. ���� และทีแ่ กไขเพิ่มเติม ที่มีผลกระทบตอโครงสรา งพื้นฐานสําคญั ทาง
สารสนเทศของประเทศดา นความมน่ั คงและบรกิ ารภาครฐั ทส่ี าํ คญั ดา นการเงนิ ดา นเทคโนโลยี
สารสนเทศและโทรคมนาคม ดา นการขนสง และโลจสิ ตกิ ส ดา นพลงั งานและสาธารณปู โภคหรอื
ดา นสาธารณสุข หรอื ผลกระทบตอ ความมั่นคงของประเทศ ซ่ึงความผิดดังกลาวอาจสงผลกระ
ทบตอความสงบเรยี บรอ ยและศีลธรรมอันดแี ละกอใหเ กดิ ความเสยี หายอยา งรา ยแรง
��. คดีความผดิ ตามกฎหมายวา ดวยการประกอบธุรกจิ ของคนตางดา ว

คดคี วามผดิ ท่มี ีบทกําหนดโทษตามมาตรา �� มาตรา �� มาตรา �� มาตรา �� มาตรา ��

คมู ือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ 45

และมาตรา �� แหงพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนตางดาว พ.ศ. ���� ท่ีเปนการ
กลาวหานิติบุคคลหรือคนตางดาวซ่ึงมีสินทรัพยตามงบแสดงฐานะการเงินรวมกันต้ังแต
หนึ่งรอ ยลา นบาทขน้ึ ไป
��. คดคี วามผดิ ตามกฎหมายวาดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย

คดีความผิดท่ีมีบทกําหนดโทษตามมาตรา �� มาตรา �� มาตรา �� มาตรา �� และ
มาตรา �� แหง พระราชบญั ญัตปิ องกันและปราบปรามการคา มนษุ ย พ.ศ. ���� ที่มีลักษณะใด
ลักษณะหนงึ่ ดังน้ี

(�) มีเจาหนา ที่ของรัฐมาเก่ยี วขอ ง หรอื มีความเชื่อมโยงกับตา งประเทศ
(�) ไดร บั คํารองขอจากหนว ยงานภาครัฐ
(�) สถานประกอบการมเี จาหนา ท่รี ฐั หรอื ผูมีอํานาจเขามาเกยี่ วขอ ง
(�) มีตัวการ ผูใช ผูสนบั สนนุ การกระทาํ ผิดต้ังแตห าสิบคนขน้ึ ไป
(�) มรี ายไดห รอื เงนิ หมนุ เวยี นในธรุ กจิ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั การคา มนษุ ยม ากกวา หนงึ่ แสนบาทตอ วนั
(�) ผูกระทําความผิดทม่ี ลี ักษณะตอเน่ือง เปนเครือขายทง้ั ในประเทศและตางประเทศ
(�) มีการกระทําในลักษณะเปด เปนสถานบรกิ ารทมี่ ขี นาดใหญ เปดทําการอยางเหน็ ไดชัด

โดยไมเ กรงกลวั กฎหมาย
��. คดคี วามผิดตามกฎหมายวาดวยแร

(�) คดีความผิดท่ีมีบทกําหนดโทษตามมาตรา ��� แหงพระราชบัญญัติแร พ.ศ. ���� ที่
เปนการกระทําตอแรปริมาณต้ังแตหาพันตันข้ึนไป หรือเปนเนื้อท่ีรวมกันต้ังแตหาสิบไรข้ึนไป
หรือมูลคา ของแรรวมกันตัง้ แตส บิ ลานบาทขน้ึ ไป

(�) คดีความผิดที่มีบทกาํ หนดโทษตามมาตรา ��� แหงพระราชบัญญัตแิ ร พ.ศ. ���� ท่ีมี
การซื้อขาย ครอบครอง เก็บ หรือขนแรปริมาณตั้งแตหาสิบตันข้ึนไปหรือมูลคาของแรรวมกัน
ต้งั แตห าสิบลา นบาทข้ึนไป

(�) คดคี วามผิดท่มี ีบทกาํ หนดโทษตามมาตรา ��� แหง พระราชบญั ญัตแิ ร พ.ศ. ���� ท่ี
ปรากฏวา แรท ม่ี กี ารฝา ฝน ประกาศตามกฎหมายมปี รมิ าณตงั้ แตห า สบิ ตนั ขน้ึ ไป หรอื มลู คา ของ
แรร วมกันต้งั แตหาสบิ ลานบาทข้นึ ไป

(�) คดีความผิดท่มี บี ทกาํ หนดโทษตามมาตรา ��� และมาตรา ��� แหงพระราชบัญญัติแร
พ.ศ. ���� ทม่ี ผี ลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ มเปน วงกวา งมเี นอื้ ทรี่ วมกนั ตง้ั แตห นงึ่ รอ ยไรข นึ้ ไป หรอื
จํานวนคนในพ้นื ทดี่ งั กลา วมีจํานวนตง้ั แตหน่งึ รอ ยคนขนึ้ ไป

46 คมู ือการเฝาระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ

��. คดคี วามผิดตามกฎหมายวา ดวยธุรกิจสถาบนั การเงิน
คดีความผิดท่ีมีบทกําหนดโทษตามมาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ���

มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ��� มาตรา ���
มาตรา ��� มาตรา ��� และมาตรา ��� แหงพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน
พ.ศ. ���� และทแ่ี กไขเพ่ิมเตมิ
��. คดีความผิดตามกฎหมายวาดวยวตั ถอุ นั ตราย

คดีความผิดที่มีบทกําหนดโทษตาม มาตรา �� มาตรา �� มาตรา �� และมาตรา ��
แหงพระราชบัญญัตวิ ตั ถอุ นั ตราย พ.ศ. ���� และท่ีแกไขเพมิ่ เตมิ ทม่ี หี รือมูลนาเชื่อวามีมูลคา
วตั ถุอันตรายตั้งแตสบิ ลา นบาทข้นึ ไป หรือมจี ํานวนผเู สยี หายตง้ั แตห น่ึงรอ ยคนขน้ึ ไป
��. คดีความผดิ ตามกฎหมายวา ดวยการสงวนและคุมครองสตั วปา

(�) คดีความผดิ ท่มี ีบทกําหนดโทษตามมาตรา �� เฉพาะความผดิ ตามมาตรา�� วรรคหนง่ึ
แหง พระราชบญั ญตั สิ งวนและคมุ ครองสตั วป า และทแี่ กไ ขเพมิ่ เตมิ ทมี่ หี รอื มมี ลู นา เชอื่ วา มมี ลู คา
ความเสยี หายตง้ั แตหาสิบลา นบาทขึน้ ไป

(�) คดีความผิดที่มีบทกําหนดโทษตามมาตรา �� แหงพระราชบัญญัติสงวนและคุมครอง
สตั วป า พ.ศ. ���� และทแี่ กไ ขเพม่ิ เตมิ ทม่ี กี ารบกุ รกุ ยดึ ถอื ครอบครองพนื้ ทเ่ี ขตรกั ษาพนั ธสุ ตั ว
ปาหรือเขตหามลาสัตวปามีเนื้อท่ีตั้งแตหนึ่งรอยไรข้ึนไป หรือการบุกรุกยึดถือครอบครองพ้ืนที่
เขตรักษาพันธุสัตวปาหรือเขตหามลาสัตวปาท่ีไดมีการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินตาม
ประมวลกฎหมายที่ดินโดยมิชอบดวยกฎหมาย มีเน้ือที่รวมกันต้ังแตหนึ่งรอยไรข้ึนไป หรือ
คดีท่ีมีมูลคาความเสียหายตั้งแตหน่ึงรอยลานบาทข้ึนไป ทั้งนี้ตามราคาประเมินท่ีหนวยงาน
ที่เกี่ยวของเปนผูประเมิน
��. คดคี วามผดิ ตามกฎหมายวา ดวยปา ไม

(�) คดคี วามผดิ ทมี่ บี ทกาํ หนดโทษตามมาตรา �� แหง พระราชบญั ญตั ปิ า ไม พ.ศ. ���� และ
ที่แกไขเพ่ิมเติม ท่ีมีหรือมีมูลนาเชื่อวามีมูลคาความเสียหายเปนไมสักหรือไมพะยูงที่มีปริมาตร
ตัง้ แตห า สบิ ลกู บาศกเ มตรขน้ึ ไป

(�) คดคี วามผดิ ทมี่ บี ทกาํ หนดโทษตามมาตรา �� ตรี แหง พระราชบญั ญตั ปิ า ไม พ.ศ. ����
และที่แกไขเพ่ิมเติม ที่มีการบุกรุกยึดถือครอบครองพื้นท่ีปามีเนื้อท่ีตั้งแตหน่ึงรอยไรข้ึนไป
หรือการบุกรุกยึดถือครอบครองพื้นท่ีปาที่ไดมีการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินตามประมวล
กฎหมายท่ีดินโดยมิชอบดวยกฎหมาย มีเน้ือที่รวมกันตั้งแตหนึ่งรอยไรข้ึนไป หรือคดีที่มีมูลคา

คมู ือการเฝาระวังอาชญากรรมคดีพิเศษ 47

ความเสียหายตั้งแตหนึ่งรอยลานบาทข้ึนไป ท้ังน้ีตามราคาประเมินท่ีหนวยงานท่ีเกี่ยวของ
เปน ผปู ระเมิน

(�) คดีความผิดท่ีมีบทกําหนดโทษตามมาตรา �� เฉพาะความผิดตามมาตรา �� แหง
พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. ���� และที่แกไขเพ่ิมเติม ท่ีมีหรือมีมูลนาเช่ือวามีมูลคาความเสีย
หายเปนไมสกั หรอื ไมพะยูงที่มปี ริมาตรตงั้ แตหา สบิ ลูกบาศกเมตรขึน้ ไป
��. คดีความผดิ ตามกฎหมายวาดว ยปา สงวนแหง ชาติ

คดีความผิดที่มบี ทกาํ หนดโทษตาม มาตรา �� แหง พระราชบญั ญตั ิปาสงวนแหง ชาติ พ.ศ.
���� และแกไ ขเพมิ่ เตมิ ทม่ี กี ารบกุ รกุ ยดึ ถอื ครอบครองพน้ื ทปี่ า สงวนแหง ชาตมิ เี นอื้ ทตี่ งั้ แตห นง่ึ
รอ ยไรข น้ึ ไป หรอื การบกุ รกุ ยดึ ถอื ครอบครองพนื้ ทป่ี า สงวนแหง ชาตทิ ไี่ ดม กี ารออกหนงั สอื แสดง
สทิ ธใิ นทด่ี นิ ตามประมวลกฎหมายทดี่ นิ โดยมชิ อบดว ยกฎหมายมเี นอื้ ทร่ี วมกนั ตง้ั แตห นง่ึ รอ ยไร
ข้ึนไป หรือคดีท่ีมีมูลคาความเสียหายตั้งแตหนึ่งรอยลานบาทขึ้นไป ทั้งน้ีตามราคาประเมินที่
หนว ยงานทเ่ี ก่ียวขอ งเปน ผูประเมิน
��. คดีความผดิ ตามกฎหมายวาดว ยอุทยานแหง ชาติ

คดีความผิดท่ีมีบทกําหนดโทษตามมาตรา �� แหงพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ
พ.ศ. ���� ทม่ี กี ารบุกรกุ ยึดถือครอบครองพืน้ ที่อทุ ยานแหง ชาตมิ เี นอ้ื ท่ีตงั้ แตห นึ่งรอ ยไร ข้นึ ไป
หรือการบุกรุกยึดถือครอบครองพื้นท่ีอุทยานแหงชาติที่ไดมีการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน
ตามประมวลกฎหมายท่ีดินโดยมิชอบดวยกฎหมายมีเน้ือที่รวมกันต้ังแตหนึ่งรอยไรข้ึนไป หรือ
คดีท่ีมีมูลคาความเสียหายต้ังแตหน่ึงรอยลานบาทขึ้นไป ท้ังนี้ตามราคาประเมินท่ีหนวยงานท่ี
เกย่ี วของเปน ผูป ระเมิน
��. คดคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายทีด่ ิน

คดคี วามผิดที่มบี ทกาํ หนดโทษตามมาตรา ��� และมาตรา ��� ทวิ แหงประมวลกฎหมาย
ทด่ี นิ พ.ศ. ���� และทแี่ กไ ขเพมิ่ เตมิ ทมี่ กี ารบกุ รกุ ยดึ ถอื ครอบครองทด่ี นิ ของรฐั ทย่ี งั มไิ ดม บี คุ คล
ไดมาตามประมวลกฎหมายทีด่ ินมีเนอ้ื ท่ตี ้ังแตหนงึ่ รอ ยไรขนึ้ ไปหรอื การบุกรุกยดึ ถือครอบครอง
ท่ีดินของรัฐที่ไดมีการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดินตามประมวลกฎหมายท่ีดินโดยมิชอบดวย
กฎหมายมเี นอ้ื ทรี่ วมกนั ตงั้ แตห นง่ึ รอ ยไรข นึ้ ไปหรอื คดที มี่ มี ลู คา ความเสยี หายตง้ั แตห นง่ึ รอ ยลา น
บาทขึน้ ไป ท้งั น้ี ตามราคาประเมนิ ของกรมธนารักษ

48 คูมอื การเฝา ระวงั อาชญากรรมคดพี ิเศษ

กิจกรรม smiling eyes smiling heart
คมู ือการเฝา ระวังอาชญากรรมคดพี เิ ศษ 49


Click to View FlipBook Version