The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

KM บริหาร 8 ตค 64 ล่าสุด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by beauty_hp, 2021-10-11 02:48:44

KM บริหาร 8 ตค 64 ล่าสุด

KM บริหาร 8 ตค 64 ล่าสุด

การจดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดุ

คำนำ

การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง การบริหารงานพัสดภุ ายใต้ พระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัด
จ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ คือ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ โดยใช้เงิน
งบประมาณไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ และป้องกันการทุจริต ของข้าราชการ
และเจ้าหน้าที่สำนกั งานพฒั นาสังคม

สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวดั เชยี งใหม่ จึงจดั ทำแผนจดั การความรู้
เรื่อง การบริหารงานพัสดุภายใต้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจดั จ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ ขึ้น
เพื่อเป็นแนวทางในการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุโดยใช้เงินงบประมาณไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิด
ความคุ้มค่าต่อภารกิจของรัฐ และป้องกัน การทุจริต ให้หน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามแนวทางของ
พระราชบัญญตั กิ ารจัดซือ้ จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ และเพ่ือให้การปฏิบตั งิ านเป็นไปอยา่ งมรี ะบบ

ฝ่ายบริหารงานท่วั ไป
สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงมนุษย์จงั หวดั เชียงใหม่

สิงหาคม 2564

สารบญั 1
ความเปน็ มาของการจัดการความรู้ 3
การจัดการความรู้ 3
การดำเนินการจดั การความร(ู้ KM Process) 4
ตารางแผนการจัดการความรู้ 6
วตั ถุประสงค์ของการจัดทำแผนการบรหิ าร 7
องค์ความรกู้ ารบรหิ ารงาน 10
หัวหน้าหนว่ ยงานราชการของรฐั 10
การมอบอำนาจ 11
ข้ันตอนการจัดซอื้ จดั จา้ ง 12
วิธีสอบราคา 13
การยืน่ ซอง/การรบั ซอง 14
หนา้ ท่ีคณะกรรมการการจัดซื้อพจิ ารณา 15
วิธเี ฉพาะเจาะจง 18
การบริหารสัญญาและการตรวจ 20
การบริหาร 23
การบำรงุ รักษาและการตรวจสอบ 24
การจำหนา่ ยพัสดุ 26
จรรยาบรรณในการบรหิ ารงาน

การจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุ 1.

ความเป็นมาของการจดั การความรู้
(Knowledge Management : KM)
เรอ่ื ง “ การบริหารพสั ดภุ ายใต้พระราชบญั ญตั ิการจดั ซื้อจดั จ้างและการบริหารพสั ดภุ าครฐั ”

รัฐบาลได้กำหนดนโยบายที่สำคัญในการบริหารประเทศ โดยเฉพาะกระบวนการจัดซ้ือ
จัดจ้างของ หน่วยงานในภาครัฐ ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. 2560 ซึ่งประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์2560 และให้ใช้บงั คับเมื่อพน้
กำหนด 180 วัน (หนึ่งร้อยแปดสิบวัน) จึงมีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 สิงหาคม 2560
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐมีกรอบ
การปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐาน มีการใช้งบประมาณเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความ คุ้มค่าตอ่
ภารกิจ ของรัฐ ส่งเสริมให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม มีความโปร่งใส และป้องกนั ปัญหาการทุจรติ
โดยมีการวางแผนการดำเนินงานและมีการประเมินผลการปฏิบัติงานซึ่งจะทำให้การจั ดซื้อจัดจ้าง
มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งเพื่อให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล สร้างความเชื่อม่ัน
ต่อสาธารณชน และก่อให้เกิดผลดีต่อการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป สำนักงาน
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว
จึงได้จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานด้าน การจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและ
การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 นี้ เพื่อเป็น แนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับผู้บริหาร
ผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ และผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. 2560

การจัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดุ 2.

โดยมีข้ันตอนการดำเนินงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) คอื การ
จัดทำแผนปฏิบัติการกิจกรรมการจัดการความรู้ เริ่มจากการเริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
กระบวนการการจัดการความรู้ ให้กับทีมงาน เพื่อสร้างความรู้เกี่ยวกับการจัดท ำ(Knowledge
Management: KM) การจัดทำเคา้ โครงการดำเนินการจดั ทำความรู้ในประเด็นการบ่งชี้ความรู้ การ
สร้างและแสวงหาความรู้ เพื่อการจัดทำความรู้ และการจัดทำแผนปฏิบัติการและกิจกรรมการ
ดำเนินการจัดทำความร้แู ละกจิ กรรมในการรวบรวมองคค์ วามรู้ เพอื่ พฒั นาใหเ้ ปน็ ระบบ และ
นำความรู้นั้นขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน การประมวลกลั่นกรองความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
การเข้าถึงความรู้การแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้การส่งเสริมการเรียนรู้ การสรุปบทเรียน การ
ดำเนินงาน การขับเคลื่อนการดำเนินงานการนำการจดั การความรู้ไปใช้ประโยชน์การจัดทำรายงาน
การจัดการความรู้ รูปเล่มองค์ความรู้การเผยแพร่องค์ความรู้ รวมถึงการรายงานความก้าวหน้าการ
ดำเนินงาน

การจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุ 3.

การจดั การความรู้ (Knowledge Management: KM)

คือการรวบรวมสร้างจัดระเบียบแลกเปลี่ยนและประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กรโดยพัฒนา
ระบบจากข้อมูลไปสู่สารสนเทศเพื่อให้เกิดความรู้และปัญญารวมทั้งเพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้
และเกดิ การเรยี นรู้ภายในองค์กร

การดำเนนิ การจัดการความรู้ (KM Process)
1. การบง่ ชี้ความรู้ความร้หู ลักคือ (อะไรอย่ทู ไี่ หนยงั ขาดอะไร)

2. การสรา้ งและแสวงหาความรู้ (จะหามาได้อยา่ งไรสร้างไดอ้ ยา่ งไร)

3. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ (ปรับปรงุ เน้ือหาภาษาและรปู แบบข้อมูล)

4. การจดั ความรใู้ หเ้ ป็นระบบ (จดั หมวดหมแู่ ละเกบ็ เปน็ ระบบ)

5. การเข้าถงึ ความรู้ (กำหนดวิธกี ารเข้าถงึ ความรู้ทจ่ี ัดเกบ็ ไว)้

6. การแลกเปลีย่ นแบง่ ปันความรู้ (กำหนดวิธีการและชอ่ งทางการถา่ ยทอดความรู้

7. การเรยี นรู้ (ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารนำความรไู้ ปใช้เพือ่ เกดิ การเรียนร้ใู นองค์กร: เกดิ องคค์ วามรู้ใหม่)

ผ่านการดำเนินการจัดการความรู้ Change Management Process ด้วยการปรับเปลี่ยน

พฤตกิ รรมทำใหค้ นในองคก์ รอยากเปน็ ทัง้ ผ้ใู หแ้ ละผู้รบั ความรู้มีการสอ่ื สารใหท้ กุ คนเข้าใจ มี

กระบวนการเคร่อื งมอื การให้ความร้เู รือ่ งการจัดการความรูก้ ารวัดผลการดำเนินการตามแผนผลผลิต

และผลลพั ธท์ ี่ไดร้ วมถึงการยกย่องชมเชยใหร้ างวัลเพือ่ เปน็ แรงจงู ใจให้คนในองค์กรสนใจการจดั การ

ความรู้เพื่อพัฒนาคนพัฒนางานและพัฒนาองค์กรส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ของงานดีขึ้นหรือได้นวัตกรรม

ใหม่บุคลากรเกิดการพัฒนาการเรียนรู้เกิดชุมชนการเรียนรู้ความรู้ขององค์กรมีการ จัดระบบและส่ัง

สมไว้พรอ้ มที่จะนำไปใช้ประโยชน์สอู่ งคก์ รเป็นองค์กรแหง่ การเรยี นรู้

การจัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดุ 4.

ตารางแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) : กระบวนการจดั การความรู้ (KM Process)

เร่ือง “การบรหิ ารพัสดุภายใต้พระราชบญั ญตั ิการจัดซอ้ื จดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ”

หัวข้อ/ข้อมูล

ที่ กระบวนการ กจิ กรรม/วธิ ีการสคู่ วามสำเรจ็ ร ะ ย ะ เ ว ล า ในการสืบค้น ผ้รู ับผิดชอบ หมายเหตุ

ดำเนินการ ข ้ อ ม มู ล

เพิ่มเติม

1. ก า ร บ ่ ง ช้ี การประชุมชี้แจงแนวทางการนํา มกราคม แ ผ น ก า ร ท ี ม ง า น ฝ ่ า ย

ความรู้ เนินงานการจัดการคว า มรู้ 2564 จดั การความรู้ บ ร ิ ห า ร ง า น

( Knowledge Management- ณ ห้องประชุม ทว่ั ไป

KM) พมจ.ชม.

-การจัดทำเค้าโครงการจัดการ

ความรใู้ นประเดน็

1. การบ่งช้คี วามรู้

2. การสร้างและแสวงหาความรู้

การจัดทำแผนปฏิบัติการและ

กิจกรรมการดำเนนิ งาน

3. การจัดการความรูก้ ารนําเสนอ

แ ล ก เ ป ล ี ่ ย น ข ้ อ มู ล เ ร ื ่ อ ง ก า ร

ขับเคลื่อนการดำเนินงานการ

จัดการความรู้

2. การสร้างและ -การศึกษาขอ้ มูล กุมภาพันธ์ - ทีมงานฝ่าย

แ ส ว ง ห า 1. ข้อมลู พนื้ ฐาน มีนาคม 2564 บริหารงาน

ความรู้ 2. แนวคิดที่นำมาใช้ ณ หอ้ งประชุม ทว่ั ไป

3. เอกสารอ่ืน ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง พมจ.ชม.

4. เว็ปไซต์แหล่งข่าวต่าง ๆ คลิป

ขา่ ว

การจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดุ 5.

หัวข้อ/ข้อมูล

ท่ี กระบวนการ ร ะ ย ะ เ ว ล า ในการสืบค้น ผู้รบั ผดิ ชอบ หมายเหตุ

กิจกรรม/วิธกี ารสคู่ วามสำเรจ็ ดำเนนิ การ ข ้ อ ม มู ล

เพิม่ เตมิ

3. การประมวล - การประมวลและกลั่นกรอง เ ม ษ า ย น - ทีมงานฝ่าย

และกลน่ั กรอง การจัดการความรู้ พฤษภาคม บริหารงาน

- การจัดทำและปรับปรุงเนื้อหา 2564 ทั่วไป

ข้อมูล ณ ห้องประชุม

พมจ.ชม.

4. ก า ร จ ั ด ก า ร - การออกแบบรูปแบบการจดั เก็บ ม ิ ถ ุ น า ย น - ทีมงานฝ่าย

ความรู้ให้เป็น ข้อมูล เช่น การจัดทำเป็นหนังสือ ก ร ก ฎ า ค ม บริหารงาน

ระบบ แผน่ พบั E-book / Website 2564 ทวั่ ไป

-การจดั ขอ้ มูลใหเ้ ปน็ หมวดหมู่ ณ หอ้ งประชุม

พมจ.ชม.

5. ก า ร เ ข ้ า ถึ ง กิจกรรมการจัดช่องทางเผยแพร่ ก ร ก ฎ า ค ม ทีมงานฝ่าย

ความรู้ ความรู้โดยการจัดประชาสัมพันธ์ 2564 บริหารงาน

ทาง Social Media เชน่ E- ณ หอ้ งประชุม ทั่วไป

book Website Facebook พมจ.ชม.

เอกสารเผยแพร่ความรู้ (รายงาน

/ แผ่นพับ / คู่มือ / วีซีดี /

Infographic / จดหมายข่าว /

QR Code)

6. การแบง่ ปัน -การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ สิงหาคม ทีมงานฝ่าย

และ -ขับเคลื่อนการนําผลการจัดการ 2564 บริหารงาน

แลกเปลยี่ น ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ณ หอ้ งประชุม ทวั่ ไป

ความรู้ พมจ.ชม.

7. การเรียนรู้/ -สง่ เสริมการเรียนรู้ให้บุคลากรท้ัง กนั ยายน ทีมงานฝ่าย

การขยายผล ในและนอกหน่วยงาน 2564 บริหารงาน

-ส่งเสริมให้หน่วยงาน พม. นำ ณ ห้องประชุม ทั่วไป

องคค์ วามรู้ไปขยายผล พมจ.ชม.

การจดั จ้างและการบริหารพัสดุ 6.

“ การบริหารพสั ดภุ ายใต้พระราชบญั ญตั ิการจดั ซื้อจดั จา้ งและการบริหารพสั ดภุ าครฐั ”

๑. วัตถุประสงค์ของการจดั ทำแผนการบริหารงานพัสดุภายใต้พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐

• เพื่อให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
ที่ได้รับมอบหมายงานด้านพัสดุ ในการร่วมเป็น คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง ได้รับทราบพระราชบัญญัติการ
จัดซื้อจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ และกฎหมายต่างๆ ท่เี กยี่ วข้อง

• เพื่อให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับ
มอบหมายงานด้านพัสดุ ในการรว่ มเปน็ คณะกรรมการจดั ซือ้ จดั จ้าง ได้รับทราบขัน้ ตอนการบันทึกข้อมูลการ
จัดซื้อจัดจ้างวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Gp) โดยแยกออกเป็นวิธีการจัดซื้อจัดจ้างต่างๆได้อย่างถูกต้องและ
สอดคลอ้ งกบั ระเบยี บกฎหมาย

• เพื่อให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับ
มอบหมายงานด้านพสั ดุ ในการร่วมเป็น คณะกรรมการจัดซ้ือจดั จา้ ง ได้ทราบถึงบทบาทหน้าท่ีและเทคนิคใน
การปฏิบัติงานตลอดจนการแลกเปลีย่ น สอบถามประเดน็ ปญั หาตา่ งๆ ที่เกิดขึ้น เพื่อให้สามารถปฏิบัติหนา้ ที่
ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล

• เพื่อให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ที่ได้รับ
มอบหมายงานด้านพัสดุ ในการร่วมเป็น คณะกรรมการจัดซื้อจัดจา้ งมีความเขา้ ในแนวทางการตรวจสอบของ
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติและสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินภายใต้
กฎหมาย ระเบยี บและหนงั สือส่งั การท่ีเก่ียวข้อง

ผลลัพธ์ของการจัดทำการบริหารงานพัสดุภายใต้ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บรหิ าร พัสดุภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐

• ทำใหไ้ ด้รบั ทราบหลกั การและวธิ ีปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบัญญัติการจดั ซอ้ื จัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ

• ทำให้มีความรู้ความเข้าใจแนวทางปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการ
บริหารพัสดภุ ารรฐั พ.ศ. ๒๕๖๐

• ทำให้มีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนวิธีการปฏิบัติในการจัดหาพัสดุด้วยระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
(e-Gp) กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market) กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธี
ประกวดราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-bidding)

การจดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดุ 7.

• ทำให้การดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุของเพื่อให้ข้าราชการและเจ้าหน้าท่ี
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จงั หวัดเชียงใหม่เป็นไปอยา่ งถูกต้อง มีประสิทธิภาพและถือ
ปฏิบตั ิเป็นไปในแนวทางเดยี วกัน

• ทำให้เข้าใจแนวทางการตรวจสอบของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ ทุจริตแห่งชาติ
และสำนกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดินภายใตก้ ฎหมาย ระเบยี บ และหนงั สือสง่ั การทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

องค์ความรู้การบริหารงานพสั ดุภายใตพ้ ระราชบญั ญตั กิ ารจดั ซื้อจดั จา้ งและการบริหารพัสดุ
ภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐

การจัดซื้อจัดจ้าง หมายความว่า การดำเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดโุ ดยการ ซื้อ จ้าง
เชา่ แลกเปล่ยี น หรอื โดยนติ ิกรรมอนื่ ตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง

พัสดุ หมายความว่า สินค้า งานบริการ งานก่อสร้าง งานจ้างที่ปรึกษาและงานจ้างออกแบบ
หรอื ควบคมุ งานกอ่ สร้างรวมท้งั การดำเนินการอืน่ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

สินคา้ หมายความวา่ วสั ดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน ส่ิงปลูกสรา้ ง และทรัพยส์ ินอนื่ ใด
รวมทั้งงานบริการท่ี รวมอยู่ในสินค้านั้นด้วย แต่มูลค่าของานบริการต้องไม่สูงกว่า
มูลคา่ ของสินคา้ น้นั

งานบริการ หมายความวา่ งานจา้ งบรกิ าร งานจ้างเหมาบรกิ าร งานจา้ งทำขอ
และการรับขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จากบุคคลธรรมดาหรือนิติ
บุคคล แต่ไม่หมายความรวมถึงการจ้างลูกจ้างของ หน่วยงานของรัฐ การรับขนใน
การเดินทางไปราชการหรือไปปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐ งานจ้างที่ปรึกษา
งานจา้ งออกแบบหรอื ควบคมุ งานก่อสร้างและการจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์

งานก่อสร้าง หมายความว่า งานก่อสร้างอาคาร งานก่อสร้างสาธารณูปโภค หรือส่ิง
ปลูกสร้างอื่นใดและ การซ่อมแซม ต่อเติม ปรับปรุง รื้อถอน หรือการกระทำอื่นทีม่ ี
ลักษณะทํานองเดียวกันต่ออาคารสาธารณูปโภค หรือสิ่งปลูกสร้างดังกล่าว รวมทั้ง
งานบริการที่รวมอยู่ในงานก่อสร้างนั้นด้วย แต่มูลค่าของงานบริการต้องไม่สูงกว่า
มลู คา่ ของงานก่อสรา้ งน้ัน

การจดั จ้างและการบริหารพสั ดุ8.

อาคาร หมายความว่า สิ่งปลูกสร้างถาวรที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือใช้สอยได้ เช่น
อาคารที่ทำการ โรงพยาบาล โรงเรียน สนามกีฬา หรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่นที่มี
ลักษณะทํานองเดียวกัน รวมทั้งสิ่งก่อสร้างอื่นๆซึ่ง สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอย
สำหรับอาคารนั้นๆ เช่น เสาธง รั้ว ท่อระบายน้ำ หอถังน้ำ ถนน ประปา ไฟฟ้า หรือ
สิ่งอื่นๆซึ่งเป็นส่วนประกอบของตัวอาคาร เช่น เครื่องปรับอากาศ ลิฟท์ หรือเครื่อง
เรือน

สาธารณปู โภค หมายความวา่ งานอนั เก่ียวกบั การประปา การไฟฟ้า การส่อื สาร การ
โทรคมนาคม การระบายน้ำ การขนส่งทางท่อ ทางน้ำ ทางบก ทางอากาศ หรือทาง
ราง หรือการอนื่ ที่เก่ยี วขอ้ งซึง่ ดำเนนิ การ ในระดบั พนื้ ดิน ใตพ้ ้ืนดนิ หรอื เหนือพื้นดิน

งานจ้างท่ีปรกึ ษา หมายความวา่ งานจ้างบรกิ ารจากบุคคลธรรมดาหรอื นติ ิบุคคลเพื่อ
เปน็ ผู้ใหค้ ำปรกึ ษาหรอื แนะนําแกห่ นว่ ยงานของรฐั ในด้านวศิ วกรร
สถาปัตยกรรม ผังเมือง กฎหมาย เศรษฐศาสตร์ การเงิน การ คลัง สิ่งแวดล้อม
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สาธารณสุข ศิลปะวฒั นธรรม การศกึ ษาวจิ ัย หรือด้านอื่นที่
อยใู่ นภารกจิ ของรัฐหรอื ของหนว่ ยงานของรัฐ

การจ้างออกแบบหรอื ควบคมุ งานกอ่ สรา้ ง หมายความว่า งานจ้างบรกิ ารจากบุคคล
ธรรมดาหรือนิติบุคคล เพอ่ื ออกแบบหรือควบคมุ งานก่อสร้าง
การบริหารพัสดุ หมายความว่า การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การ
ตรวจสอบ การ บำรุงรักษา และการจําหนา่ ยพัสดุ

ราคากลาง หมายความว่า ราคาเพื่อเป็นฐานสำหรับเปรียบเทยี บราคาที่ผูย้ ื่นข้อเสนอได้
ย่ื น ยืน่ เสนอไว้ซง่ึ สามารถจดั ซ้ือจดั จา้ งได้จริงตามลำดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑. ราคาท่ีได้มาจากการคาํ นวณตามหลกั เกณฑท์ คี่ ณะกรรมการราคากลางกำหนด
๒. ราคาที่ได้มาจากฐานขอ้ มูลราคาอา้ งอิงของพสั ดุทีก่ รมบญั ชกี ลางจัดทำ
๓. ราคามาตรฐานท่ีสำนักงบประมาณหรอื หนว่ ยงานกลางอ่ืนกำหนด
๔. ราคาที่ได้มาจากการสบื ราคาจากท้องตลาด
๕. ราคาที่เคยซื้อหรอื จ้างครั้งหลงั สดุ ภายในระยะเวลาสองปงี บประมาณ

การจดั จ้างและการบริหารพัสดุ 9.

๖. ราคาอ่ืนใดตามหลกั เกณฑ์ วิธกี าร หรือแนวทางปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานของรฐั น้นั ๆ

เงินงบประมาณ หมายความว่า เงินงบประมาณตามกฎหมายว่าด้วยงบประมาณ
รายจ่าย กฎหมายว่า ด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายเกี่ยวด้วยการโอน
งบประมาณ เงินซึ่งหน่วยงานของรัฐได้รับโดยได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีให้ไม่ต้อง
นําส่งคลงั ตามกฎหมายว่าด้วยวิธกี ารงบประมาณหรือกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง เงิน
ซึ่ง หน่วยงานของรับได้รับไว้โดยไม่ต้องนําส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินตามกฎหมาย
และเงินภาษอี ากร ค่าธรรมเนียม หรือผลประโยชนอ์ น่ื ใดทต่ี กเป็นรายได้ของราชการ
ส่วนท้องถิ่นตามกฎหมายหรือทาชการส่วนท้องถิ่นมีอำนาจเรียก เก็บตามกฎหมาย
และให้หมายความรวมถึงเงินกู้ เงินช่วยเหลือ และเงินอื่นตามที่กำหนดใน
กฎกระทรวง

หนว่ ยงานของรัฐ หมายความวา่ ราชการสว่ นกลาง ราชการส่วนภมู ิภาค ราชกาล
สว่ นท้องถ่ิน รัฐวิสาหกจิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณ องค์การมหาชน
องค์กรอสิ ระ องคก์ รตามรัฐธรรมนญู หนว่ ย ธุรการของศาล มหาวทิ ยาลยั ในกำกบั
ของรฐั หนว่ ยงานสังกดั รัฐสภาหรอื ในกำกบั ของรบั สภา หน่วยงานอสิ ระของ รัฐ และ
หน่วยงานอื่นตามท่ีกำหนดในกฎกระทรวง

เจ้าหน้าท่ี หมายความว่า ผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุ
หรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ ับ มอบหมายจากผมู้ ีอำนาจใหป้ ฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการจดั ซ้ือจัดจ้างหรือ
การบรหิ ารพัสดขุ องหน่วยงานของรฐั

การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุของหน่วยงานของรัฐต้องก่อใ ห้เกิดประโยชน์
สงู สุดแกห่ นว่ ยงานของ รฐั และต้องสอดคล้องกับหลักการ ดังต่อไปนี้

(๑) คุ้มค่า โดยพัสดุที่จัดซื้อจัดจ้างต้องมีคุณภาพหรือคุณลักษณะที่ตอบสนอง
วัตถุประสงค์ ในการใช้งาน ของหน่วยงานของรัฐ มีราคาที่เหมาะสม และมีแผนการบริหารพัสดุ
ท่ีเหมาะสมและชดั เจน

(๒) โปร่งใส โดยการจัดซอื้ จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุต้องกระทำโดยเปิดเผย เปิดโอกาสให้
มี การแข่งขัน อย่างเป็นธรรม มีการปฏิบัติต่อผู้ประกอบการทุกรายโดยเท่าเทียมกัน มีระยะเวลาท่ี

การจดั จ้างและการบริหารพัสดุ10.

เหมาะสม และเพียงพอต่อการ ยื่นข้อเสนอ มีหลักฐานการดําเนินงานชัดเจน และมีการเปิดเผย
ข้อมูลการจดั ซอื้ จัดจ้าง และการบรหิ ารพัสดใุ นทกุ ขน้ั ตอน

(๓) มีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล โดยตอ้ งมีการวางแผนการจัดซื้อจดั จา้ งและการบริหาร
พัสดุ ลว่ งหน้า เพอื่ ใหก้ ารจดั ซื้อจัดจ้างและการบริหารพสั ดุเปน็ ไปอย่างต่อเนื่องและมีกําหนดเวลาท่ี
เหมาะสม โดยมกี ารประเมิน และเปดิ เผยผลสัมฤทธ์ิของการจดั ซือ้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดุ

(๔) ตรวจสอบได้ โดยมีการเก็บข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุอย่างเป็นระบบ
เพื่อประโยชน์ ในการตรวจสอบ ให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการตามวรรคหนึ่งเพื่อเป็นแนวทางใน
การปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดซื้อจัด จ้าง และการบริหารพัสดุ หากการจัดซื้อจัดจ้างไม่เป็นไปตาม
หลักการดังกล่าว แต่ไม่มีผลต่อการจัดซื้อจัดจ้าง อย่างมีนัยสําคัญ หรือเกิดจากกรณีเร่งด่วน หรือมี
เหตุผลหรือความจําเป็นอื่น การจัดซื้อจัดจ้างนั้นย่อมไม่เสียไป หน้า ๑๘ เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๒๔ ก
ราชกิจจานุเบกษา ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐ ให้ใช้หลักการตามวรรคหนึ่งเป็นแนวทางในการปฏิบัติ
ตามอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการนโยบาย คณะกรรมการวินิจฉัยคณะกรรมการ
ราคากลางคณะกรรมการ ค.ป.ท.และคณะกรรมการพจิ ารณาอุทธรณ์ โดยอนุโลม

หัวหนา้ หน่วยงานของรฐั

ราชการส่วนท้องถิ่น หมายถึง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
นายกเทศมนตรี นายกองค์การ บริหารส่วนตำบล ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นายกเมืองพัทยา
หรือดำรงตำแหนง่ ทีเ่ รยี นชื่อย่างอื่นทม่ี ฐี านะ เทยี บเทา่

การมอบอำนาจ
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือผู้มีอำนาจสั่งซื้อสั่งจ้างจะมอบอำนาจเป็นหนังสือให้แก่ผู้ดำรง

ตำแหน่ง ใดก็ได้ซึ่งสังกัดหน่วยงานของรัฐเดียวกัน โดยให้คํานึกถึงระดับตำแหน่ง หน้าที่และความ
รบั ผดิ ชอบของผู้ที่ไดร้ ับมอบ อำนาจเป็นสำคญั (ผ้รู บั มอบอำนาจจะมอบอำนาจใหแ้ กผ่ ู้ดำรงตำแหน่ง
อื่นต่อไปไมไ่ ด้) เพ่อื ความคลอ่ งตัวในการจดั ซอ้ื จดั จา้ งให้หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐมอบอำนาจในการ
ส่งั การและดำเนินการจัดซื้อจดั จ้างให้แก่ ผดู้ ำรงตำแหนง่ รองลงไป เป็นลำดับ

การดำเนนิ การด้วยวธิ ีการทางอเิ ล็กทรอนิกส์
๑. การดำเนนิ การจัดซ้อื จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดตุ ามระเบียบน้ี ด ้ ว ย ว ิ ธ ี ก า ร ท า ง
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ให้ หน่วยงานของรฐั ดำเนินการในระบบเครอื ข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางผ่าน

การจัดจา้ งและการบริหารพสั ด1ุ 1.

ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e-GP)
ตามวิธีการที่กรมบญั ชกี ลางกำหนด

๒. ให้หน่วยงานของรัฐใช้เอกสารที่จัดพิมพ์จากระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วย
อิเล็กทรอนกิ สเ์ ป็นเอกสาร ประกอบการดำเนนิ การจดั ซือ้ จดั จา้ ง

หลักเกณฑ์การปฏิบัติในการเปิดเผยราคากลางและการคํานวณราคากลางการเปิดเผยราคา
กลางและ การคํานวณราคากลางของการจัดซ้ือจัดจา้ ง ๗ ประเภท

๑. การจา้ งงานกอ่ สร้าง
๒. การจ้างควบคุมงาน
๓. การจ้างออกแบบ
๔. การจา้ งที่ปรึกษา
๕. การจ้างงานวิจยั หรอื เงินสนบั สนนุ ให้ทุนการวจิ ัย
๖. การจา้ งพฒั นาระบบคอมพิวเตอร์
๗. การจดั ซอื้ จัดจ้างทม่ี ใิ ชง่ านก่อสร้าง

ขั้นตอนการซื้อหรอื จา้ ง

๑. แผนการจัดซื้อจัดจ้าง เมอื่ หวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐ เห็นชอบประกาศเผยแพรแ่ ผนฯ
๒. ทำรายงานขอซื้อ/จา้ ง
๓. ดำเนินการจัด วิธีการจัดจ้างทั่วไป ๓ วิธี คือ วิธีประกาศเชิญชวน วิธีคัดเลือก
วิธีเฉพาะเจาะจง
๔. ขออนุมัติสั่งซื้อ/จ้าง ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อหรือสั่งจ้าง หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ,
ผู้มอี ำนาจเหนือขึ้นไป ๑ ขนั้ ตอน
๕. การทำสัญญา หัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั
๖. การตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ
๖. การตรวจรบั พัสดุ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
๗. จดั ทำบนั ทกึ รายงานผลการพิจารณาจดั เกบ็ เอกสารเพอื่ รอการตรวจสอบของหน่วยตรวจสอบ
๘. การเกบ็ การบนั ทกึ การเบกิ จา่ ยพสั ดุ การบรหิ ารพสั ดุ
๙. การตรวจสอบพสั ดปุ ระจำปีกอ่ นส้นิ เดือนกนั ยายนของทกุ ปี หวั หน้าหนว่ ยงานของรฐั แต่งตงั้

การจดั จ้างและการบริหารพสั ดุ12.

๑๐. ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุ ที่มิใช่เป็นเจ้าหน้าที่พัสดุ ให้เริ่มตรวจเปิดวันทำการ
แรกของเดอื นตลุ าคม ตรวจให้ แลว้ เสร็จ แล้วเสนอรายงานผลภายใน ๓๐ วันทำการนบั จากตรวจ

๑๑. การจาํ หนา่ ยพสั ดุ ขาย ขายทอดตลาด แลกเปลี่ยน โอน แปรสภาพหรอื ทำลาย

วธิ กี ารซ้อื หรอื จ้าง มี ๓ วิธี
๑. วิธีประกาศเชญิ ชวนท่วั ไป เชญิ ชวนใหผ้ ู้ประกอบการท่ัวไป ทีม่ คี ณุ สมบัติตรงตามเงื่อนไข
ท่ีกำหนดเข้าย่ืน ข้อเสนอ
๒. วิธีคัดเลือก เชิญชวนเฉพาะผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรงตามที่กำหนดซึ่งต้องไม่น้อย
กวา่ ๓ ราย ใหเ้ ข้า ย่ืนข้อ เสนอ เวน้ แต่ผ้ปู ระกอบการทม่ี คี ณุ สมบตั ิตรงตามกำหนดน้อยกว่า ๓ ราย
๓. วิธีเฉพาะเจาะจง หน่วยงานภาครฐั เชิญชวนผูป้ ระกอบการที่มีคณุ สมบตั ติ รงตามท่ีกำหนด
รายใดรายหนึ่ง ให้เข้ายื่นข้อเสนอหรือให้เขา้ มาเจรจาต่อรองราคากบั หน่วยงานของรัฐ
โดยตรง

วิธสี อบราคา

ได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน ๕๐0,000 บาท แต่ไม่เกิน ๕,000,000
บาท ให้กระทำได้เฉพาะกรณีที่หน่วยงานของรัฐตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีข้อจํากัดในการใช้สัญญาณ
อนิ เตอร์เน็ตทั้งนี้ เจ้าหน้าท่ี ต้องระบเุ หตผุ ลความจําเป็นท่ีไม่อาจดำเนินการด้วยวิธี e-market หรือ
วธิ ี e-bidding ไวใ้ นรายงานขอซอื้ ขอจา้ งดว้ ย

การดำเนินการโดยวิธสี อบราคา
- วิธีสอบราคา คือ การซื้อหรือจ้างครั้งหนึ่งเกิน ๕๐0,000 บาท แต่ไม่เกิน ๕,000,000
บาท
- ให้กระทำได้ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐนั้นตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีข้อจํากัดในการใช้สัญญาณ
อินเตอร์เน็ต ทำให้ไม่ สามารถดำเนินการผ่านระบบตลาดอิเล็กทรอนิกส์หรือระบบประกวดราคา
อิเล็กทรอนิกส์ได้ทั้งน้ีให้เจ้าหน้าที่ระบุเหตุผลความจำเป็นที่ไม่อาจดำเนินการซื้อหรือจ้างด้วยวิธี
ตลาดอิเล็กทรอนกิ ส์หรือวิธี ประกวดราคาอเิ ล็กทรอนกิ ส์ไว้ในรายงานขอซ้อื ขอจ้างดว้ ย

วิธีคัดเลือก ให้คณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีคัดเลือกเชิญชวนผู้ประกอบการที่มี
คุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขที่กำหนด ไม่น้อยกว่า ๓ ราย เว้นแต่ในงานนั้นมีผู้ประกอบการที่มี
คุณสมบัติตรงตามที่กำหนดนอ้ ยกวา่ ๓ ราย

การจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุ13.

การดำเนินการโดยวธิ คี ัดเลอื ก

ให้คณะกรรมการจดั ซื้อหรอื จดั จ้างโดย วธิ ีคดั เลอื ก ดำเนนิ การ

การยืน่ ซอง -ผยู้ ื่นขอ้ เสนอจะตอ้ งผลึกซองจ่าหน้าท่ีถึงประธานคณะกรรมการฯ
ส่งถึงหน่วยงานของรัฐโดยยื่นตรงต่อหน่วยงานของรัฐพร้อมรับซอง

เอกสารหลักฐานท่ียื่นมาพร้อมกับซองใบเสนอราคาวา่ เอกสารดังกล่าวถูกต้องและเป็นความ

จรงิ ทกุ ประการ

การรับซอง -ลงรบั โดยไมเ่ ปดิ ซอง
-ระบุวนั และเวลาท่รี บั ซอง

-ออกใบรับใหแ้ กผ่ ้ยู ่ืนซอง

-ส่งมอบซองเสนอราคาและเอกสารหลักฐานต่างๆ ต่อคณะกรรมการฯ

เพ่ือดำเนนิ การต่อไป

การจัดจา้ งและการบริหารพสั ด1ุ 4.

หน้าทค่ี ณะกรรมการจัดซ้อื หรือ
จ้างโดยวธิ ีคัดเลือก

- จดั ทำหนงั สอื เชิญชวนไปยังผ้ปู ระกอบการทมี่ ีคุณสมบัตติ รงตามทก่ี ำหนด
- รับซองข้อเสนอของผ้ปู ระกอบการ เฉพาะรายท่ีมีหนงั สอื เชญิ ชวนเทา่ นัน้ พร้อมจดั ทำบัญชี
รายชื่อผู้มายื่นข้อเสนอ (เมื่อพ้นกำหนดเวลายื่นซองข้อเสนอ ห้ามรับเอกสารหลักฐานต่างๆ
และพัสด)ุ
- เม่ือถงึ กำหนดวนั เวลาการเปิดซองข้อเสนอ ใหก้ รรมการเปิดซองผูย้ นื่ เสนอราคาทุกราย
และ ตรวจสอบเอกสารหลักฐานพร้อมจัดทำบัญชีรายการเอกสารหลักฐานต่างๆของผู้รับข้อเสนอ+
กรรมการทุกคนลง ลายมือช่ือกำกบั เอกสารทุกแผ่น
- ตรวจสอบคุณสมบัติของผยู้ นื่ เสนอราคาใหถ้ ูกตอ้ งตามเง่ือนไขทีก่ ำหนด
- พิจารณาคัดเลือกพัสดุที่จะซื้อหรือจ้างผู้ยื่นขอ้ เสนอ ที่ถูกต้องตามกำหนด แล้วให้เสนอซ้อื
หรอื จ้าง
- จากผู้ยื่นข้อเสนอรายที่ได้รับคัดเลือกไว้ ซึ่งเสนอราคาต่ำสุด หรือได้คะแนนรวมสูงสุดตาม
เกณฑก์ ารพจิ ารณาผลที่ หน่วยงานของรัฐกำหนดไว้ในเอกสารเชญิ ชวน

-จัดทำรายงานผลการพิจารณาเสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่
ประกอบด้วย รายการพัสดุ-รายชื่อผู้ยื่นขอ้ เสนอราคาที่เสนอทุกราย-ผู้ผ่านการคัดเลือก-หลกั เกณฑ์
การพิจารณา-ผลการพจิ ารณา

การจดั จ้างและการบริหารพสั ด1ุ 5.

การพจิ ารณาผลการเสนอราคา

หากปรากฏว่า มีผู้ยื่นข้อเสนอเพียงรายเดียว หรือมีผู้ยื่นข้อเสนอหลายราย แต่ถูกต้องตรง
ตามเงื่อนไขที่ กำหนดในหนังสือเชิญชวนเพียงรายเดียว ให้กรรมการฯ ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงาน
ของรัฐ ผ่านหัวหน้าเจ้าหน้าที่เพื่อ ยกเลิกการคัดเลือกครั้งนั้น แต่ถ้าคณะกรรมการเห็นว่ามีเหตุผล
สมควรที่จะดำเนินการต่อไปโดยไม่ต้องยกเลิกให้คณะ กรรมการฯต่อรองราคากับผู้ยื่นข้อเสนอราย
น้นั แล้วเสนอความเห็นตอ่ หวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐต่อไป

กรณไี ม่มผี ้เู สนอราคาหรือมีแต่ไมถ่ กู ตอ้ งตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดในหนังสือเชญิ ชวนให้เสนอ
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐผ่านหัวหนา้ เจ้าหน้าท่ีเพื่อยกเลิกการคัดเลอื กในครั้งนัน้ และดำเนินการใหม่
โดยวธิ ีเฉพาะเจาะจง ตามมาตรา ๕๖(๒) (ก) ก็ได้

วิธเี ฉพาะเจาะจง

ให้คณะกรรมการซื้อหรือจ้างโดยวิธีเฉพาะเจาะจงเชิญชวนผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัติตรง
ตามเงอื่ นไขท่ีกำหนดรายใดรายหน่ึงเข้าย่ืนข้อเสนอหรอื เข้ามาเจรจาต่อรองราคาการดำเนินการโดย
วธิ เี ฉพาะเจาะจง

การจดั จ้างและการบรหิ ารพสั ด1ุ 6.

การดำเนนิ การโดยวิธีเฉพาะเจาะจง ตามระเบียบฯ ขอ้ ๗๔ (๑)กรณีใช้วธิ ีตามมาตรา ๕๖ วรรค ๑
(๒) (ก) ใช้ทั้งวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปและวิธีคัดเลือก หรือวิธีคัดเลือก แล้วแต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ
หรือไม่ได้รับการคัดเลือกให้เชิญผู้ประกอบการที่มีอาชีพขายหรือรับจ้างนั้นโดยตรง หรือจากผู้ยื่น
ข้อเสนอในการใช้วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปหรือวิธีคัดเลือกซึ่งถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) มายื่นเสนอราคา
ทง้ั นีห้ ากเหน็ ว่า ผยู้ ่ืนขอ้ เสนอรายทีเ่ ห็นสมควรซ้ือ หรือจ้างเสนอราคาสูงกว่าราคาในทอ้ งตลาด หรือ
ราคาที่ประมาณได้ หรือราคาทค่ี ณะกรรมการเหน็ สมควรให้ต่อรอง ราคาลงเท่าที่จะทำได้

การจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดุ17.

กรณีใช้วธิ ีตามมาตรา ๕๖ วรรค ๑ (๒) (ค) พัสดุนั้นมีผปู้ ระกอบการท่ีคุณสมบตั โิ ดยตรงเพียง
รายเดียว (ง) กรณีที่เป็นพัสดุที่มีความจำเป็นต้องใช้โดยฉุกเฉินเนื่องจากอุบัติหรือภัยธรรมชาติหรือ
เกดิ โรคตดิ ต่ออนั ตราย และ การดำเนนิ การโดยวิธปี ระกาศเชิญชวนท่ัวไปหรือวิธคี ดั เลือกอาจ

กอ่ ใหเ้ กดิ ความลา่ ช้าหรือเสียหาย

การจดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดุ18.

การบรหิ ารสัญญาและการตรวจ
รบั พัสดุ

คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
งานซือ้ หรืองานจา้ ง ระเบยี บฯ ขอ้ ๑๗๕
งานจ้างกอ่ สรา้ ง ระเบยี บฯ ข้อ ๑๗๖
งานจ้างท่ปี รึกษา ระเบยี บฯ ขอ้ ๑๗๙
งานจา้ งออกแบบควบคุมงานกอ่ สร้าง ระเบียบฯ ขอ้ ๑๘

การจดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดุ19.

หน้าทขี่ องคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ งานซ้ือหรอื งานจา้ ง ตามระเบยี บฯ ข้อ ๑๗๕

(๑) ตรวจรับพัสดุ ณ ที่ทำการของผู้ใช้พัสดุนั้น หรือสถานที่ซึ่งกำหนดไว้ในสัญญาหรือ
ข้อตกลง การตรวจรบั พสั ดุ ณ สถานทอ่ี ่นื ในกรณที ่ไี ม่มสี ญั ญาหรอื ข้อตกลง จะต้องไดร้ บั อนุมตั จิ าก
หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐกอ่ น

(๒) ตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้วนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้ สำหรับกรณีที่มีการทดลอง
หรือตรวจสอบในทางเทคนิคหรือทางวิทยาศาสตร์จะเชิญผู้ชำนาญการหรือผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับ
พสั ดุนั้น มาให้คำปรกึ ษา หรอื ส่ง พสั ดนุ ัน้ ไปทดลองหรอื ตรวจสอบ ณ สถานทขี่ องผู้ชำนาญการหรือ
ผทู้ รงคณุ วุฒินน้ั ๆ กไ็ ด้ ในกรณีจำเปน็ ทไี่ มส่ ามารถ ตรวจนับเป็นจำนวนหนว่ ยทง้ั หมดได้ ให้ตรวจรับ
ตามหลักวชิ าการสถิติ

(๓) ใหต้ รวจรบั พสั ดุในวันทผี่ ูข้ ายหรอื ผูร้ บั จ้างนำพสั ดมุ าสง่ และใหด้ ำเนินการใหเ้ สรจ็ สิ้น
โดยเรว็ ทสี่ ุด

(๔) เมื่อตรวจถูกต้องครบถว้ นแลว้ ให้รับพัสดุไว้และถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างได้ส่งมอบพัสดุ
ถูกตอ้ งครบถ้วน ตัง้ แตว่ นั ทผี่ ู้ขายหรอื ผ้รู ับจ้างนำพสั ดุน้ันมาสง่ แล้วมอบแก่เจา้ หน้าที่พร้อมกับทำใบ
ตรวจรับ โดยลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน อย่างน้อย ๒ ฉบับ มอบแก่ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ๑ ฉบับ และ
เจ้าหน้าที่ ๑ ฉบับ เพื่อดำเนินการเบิกจ่ายเงินตามระเบียบ ของหน่วยงานของรัฐและรายงานให้
หัวหน้าหนว่ ยงานของรฐั ทราบ

ในกรณีที่เห็นว่าพัสดุที่ส่งมอบ มีรายละเอียดไม่เป็นไปตามข้อกำหนดในสัญญาหรือ
ข้อตกลง ให้รายงาน หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐผา่ นหัวหนา้ เจ้าหน้าท่ี เพื่อทราบและสง่ั การ

(๕) ในกรณีที่ผู้ขายหรือผู้รับจ้างส่งมอบพัสดุถูกต้องแต่ไม่ครบจำนวน หรือส่งมอบครบ
จำนวน แต่ไมถ่ ูกต้องทั้งหมด ถ้าสญั ญาหรอื ข้อตกลงมิไดก้ ำหนดไวเ้ ป็นอยา่ งอ่ืน ให้ตรวจรับไว้เฉพาะ
จำนวน ที่ถูกต้อง โดยถือปฏิบัติตาม (๔) และให้รีบรายงานหัวหน้าหน่วยงานของรัฐผ่านหัวหน้า
เจ้าหน้าที่ เพื่อแจ้งให้ผู้ขายหรือผู้รับจ้างทราบภายใน 7 วันทำ การ นับถัดจากวันตรวจพบ แต่ทั้งน้ี
ไม่ตัดสิทธิ์ หน่วยงานของรัฐที่จะปรับผู้ขายหรือผู้รับจ้างในจำนวนที่ส่งมอบไม่ ครบถ้วนหรือไม่
ถูกต้องน้นั

(๖) การตรวจรบั พสั ดทุ ปี่ ระกอบกันเปน็ ชุดหรอื หนว่ ย ถ้าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหน่ึง
ไปแล้วจะไม่สามารถใช้การได้โดยสมบูรณ์ ให้ถือว่าผู้ขายหรือผู้รับจ้างยังมิได้ส่งมอบพัสดุนั้น และ
โดยปกติใหร้ บี รายงานหวั หน้าหน่วยงานของรัฐเพื่อแจง้ ใหผ้ ู้ขายหรือผู้รับจ้างรายภายใน 7 วนั ทำการ
นบั จากวันท่ีตรวจพบ

การจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดุ20.

(๗) ถ้ากรรมการ ตรวจรับพสั ดุบางคนไมย่ อมรับพสั ดโุ ดยทำความเหน็ แย้งไว้ให้เสนอหัวหน้า
หน่วยงานของรัฐเพื่อพิจารณาสั่งการ ถ้า หัวหน้าหน่วยงานของรัฐสั่งการให้รับพัสดุนั้นไว้ จึง
ดำเนนิ การ ตาม (๔) หรือ (๕) แล้วแตก่ รณี
หน้าที่ของคณะกรรมการตรวจรับพัสดุงานจ้างก่อสร้าง ตามระเบียบฯ ขอ้ ๑๗๖

(๑) ตรวจสอบคุณวุฒิของผูค้ วบคุมงานก่อสร้างของผู้รับจ้างให้เป็นไปตาม
กฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ อาคาร

(๒) ตรวจสอบรายงานการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างและเหตุการณ์แวดล้อม
ที่ผู้ควบคุมงานของหน่วยงาน ของรัฐรายงาน โดยตรวจสอบกับแบบรูปรายการละเอียดและ
ข้อกำหนดในสัญญาหรือข้อตกลงทกุ สัปดาห์ รวมทั้ง รับทราบหรือพิจารณาการส่ังหยุดงาน หรือพัก
งานของผู้ควบคมุ งาน แล้วรายงานหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเพ่ือพจิ ารณา สั่งการตอ่ ไป

(3) ใหค้ ณะกรรมการตรวจรบั พัสดหุ รือกรรมการทีไ่ ด้รับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจ
รับพัสดุ ออก ตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่กำหนดไว้ในสัญญาหรือที่ตกลงให้ทำงานจ้างนั้น ๆ
ตามเวลาที่เหมาะสม และเห็นสมควร และจัดทำบันทึกผลการออกตรวจงานจ้างนั้นไว้เพื่อ
เปน็ หลักฐานด้วย

(4) นอกจากการดำเนนิ การตาม (๑) และ (๒) ในกรณมี ขี ้อสงสยั หรอื มีกรณที เ่ี ห็นวา่ แบบรูป
รายการละเอียดและข้อกำหนดในสัญญาหรือมีข้อตกลงมีข้อความคลาดเคลื่อนเล็กน้อย หรือไม่
เป็นไปตามหลักวิชาการช่างใหม้ ี อำนาจสั่งเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติม หรือตัดทอนงานจ้างได้ตามที่
เห็นสมควร และตามหลักวิชาการช่าง เพื่อให้เป็นไป ตามแบบรูปรายการละเอียด โดยปกติให้ตรวจ
ผลงานทผ่ี ู้รับจ้างสง่ มอบภายใน ๓ วันทำการ นับแต่วันทป่ี ระธานกรรมการ ไดร้ ับ ทราบการส่งมอบ
งาน และให้ทำการตรวจรบั ให้เสรจ็ สนิ้ ไปโดยเร็วท่ีสดุ

การบริหารพสั ดุ

การเกบ็ การบันทึก การเบิกจา่ ย
ข้อ ๒๐๒ การบริหารพัสดุของหน่วยงานของรัฐให้ดำเนินการตามหมวดนี้ เว้นแต่มีระเบียบ
ของทางราชการ หรือกฎหมายกำหนดไว้เป็นอย่างอ่นื การบริหารพัสดุในหมวดนี้ ไม่ใชบ้ ังคบั
กับงานบริการ งานก่อสร้าง งานจ้างที่ ปรึกษา และงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงาน
กอ่ สร้าง

การจัดจ้างและการบริหารพัสดุ21.

การเกบ็ และการบันทึก
ข้อ ๒๐๓ เม่ือเจา้ หน้าท่ไี ดร้ บั มอบพัสดุแลว้ ใหด้ ำเนนิ การ ดังต่อไปน้ี
(๑) ลงบญั ชีหรอื ทะเบียนเพือ่ ควบคมุ พัสดุ แลว้ แตก่ รณี แยกเป็นชนิด และแสดงรายการ

ตามตัวอย่างที่ คณะกรรมการนโยบายกำหนด โดยให้มีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้
ประกอบ รายการด้วย สำหรับพัสดุ ประเภทอาหารสด จะลงรายการอาหารสดทุกชนิดในบัญชี
เดยี วกนั กไ็ ด้

(๒) เก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัย และให้ครบถ้วนถูกต้องตรงตามบัญชี
หรอื ทะเบยี น

การจดั จ้างและการบริหารพสั ดุ22.

การเบกิ จ่ายพัสดุ
ข้อ ๒๐๔ การเบิกพัสดุจากหน่วยพัสดุของหน่วยงานของรัฐ ให้หัวหน้างานที่ต้องใช้พัสดุน้นั

เปน็ ผ้เู บิก
ข้อ ๒๐๕ การจ่ายพสั ดุ ให้หวั หนา้ หนว่ ยพสั ดุที่มหี นา้ ที่เกี่ยวกับการควบคุมพัสดหุ รือผู้ที่ได้รับ

มอบหมายจาก หัวหน้าหน่วยงานของรัฐเป็นหัวหน้าหน่วยพัสดุ เป็นผู้สั่งจ่ายพัสดุ ผู้จ่ายพัสดุต้อง
ตรวจสอบความถูกต้องของใบเบิก และเอกสารประกอบ (ถ้าม)ี แลว้ ลงบัญชี หรือทะเบียนทกุ ครั้งที่มี
การจ่าย และเก็บใบเบิกจ่ายไว้เป็นหลักฐานด้วย ข้อ ๒๐๖ หน่วยงานของรัฐใดมีความจำเป็นจะ
กำหนดวิธีการเบิกจ่ายพัสดเุ ป็นอยา่ งอ่ืนให้อยู่ ในดุลพินจิ ของหัวหน้า หน่วยงานของ
รัฐนั้น โดยให้รายงานคณะกรรมการวินิจฉัยและสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน
ทราบดว้ ย

การยมื
ข้อ ๒๐๗ การให้ยืม หรือนําพัสดุไปใช้ในกิจการ ซึ่งมิใช่เพื่อประโยชน์ของทางราชการ

จะกระทำมิได้
ข้อ ๒๐๘ การยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ให้ผู้ยืมทำหลักฐานการยืมเป็นลายลักษณ์อักษร

แสดงเหตผุ ลและ กำหนดวันสง่ คนื โดยมีหลกั เกณฑ์ ดังตอ่ ไปน้ี
(๑) การยมื ระหวา่ งหนว่ ยงานของรัฐ จะตอ้ งได้รับอนุมัตจิ ากหวั หนา้ หน่วยงานของรัฐผู้ให้ยืม
(๒) การให้บุคคลยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน จะต้องได้รับอนุมตั ิ จาก

หัวหน้า หน่วยงานซึ่งรับผิดชอบพัสดุนั้น แต่ถ้ายืมไปใช้นอกสถานที่ของหน่วยงานของรัฐ จะต้อง
ได้รับอนมุ ตั ิจากหัวหนา้ หน่วยงานของรฐั

ข้อ ๒๐๙ ผู้ยืมพัสดุประเภทใช้คงรูปจะต้องนำพัสดุนั้นมาส่งคืนให้ในสภาพที่ใช้การได้
เรยี บรอ้ ย หากเกดิ ชำรุดเสยี หาย หรอื ใชก้ ารไมไ่ ด้ หรอื สญู หายไป ใหผ้ ู้ยมื จัดการแก้ไขซอ่ มแซมให้คง
สภาพเดิม โดยเสียค่าใช้จ่ายของ ตนเอง หรือชดใช้เป็นพัสดุประเภท ชนิด ขนาด ลักษณะและ
คุณภาพ อยา่ งเดียวกัน หรอื ชดใชเ้ ปน็ เงนิ ตามราคาท่ี เปน็ อยใู่ นขณะยมื โดยมหี ลกั เกณฑ์ ดังน้ี

(๑) ราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภมู ภิ าค ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทีก่ ระทรวงการคลัง
กำหนด

(๒) ราชการส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร
หรอื เมืองพัทยา แล้วแต่กรณกี ำหนด

(๓) หน่วยงานของรัฐอื่น ให้เปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ี่หนว่ ยงานของรฐั น้ันกำหนด

การจัดจ้างและการบริหารพสั ดุ23.

ข้อ ๒๑๐ การยืมพัสดุ ประเภทใช้สิ้นเปลืองระหว่างหน่วยงานของรัฐ ให้กระทำได้เฉพาะ
เมื่อ หน่วยงานของรัฐผู้ยืมมีความจำเป็นต้องใช้พัสดุ นั้นเป็นการรีบด่วน จะดำเนินการจัดหาได้
ไม่ทันการ และหน่วยงานของรัฐผู้ให้ยืมมีพัสดุนั้น ๆ พอที่จะให้ยืมได้โดยไม่ เป็นการเสียหายแก่
หน่วยงานของรัฐ ของตน และให้มีหลักฐานการยืมเป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งนี้ โดยปกติหน่วยงาน
ของรัฐผู้ยืมจะต้อง จัดหาพัสดุเป็นประเภท ชนิด และปริมาณเช่นเดียวกันส่งคืนให้หน่วยงานของรฐั
ผ้ใู หย้ มื

ข้อ ๒๑๑ เมื่อครบกำหนดยืม ให้ผู้ให้ยืมหรือผู้รับหน้าที่แทนมีหน้าที่ติดตามทวงพัสดุ
ท่ใี ห้ยืมไป คนื ภายใน ๗ วัน นบั แต่วันครบกำหนด

การบำรุงรกั ษา และการตรวจสอบ

การบำรงุ รักษา
ข้อ ๒๑๒ ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีผู้ควบคุมดูแลพัสดุที่อยู่ในความครอบครองให้อยู่ใน

สภาพ ที่พร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา โดยให้มีการจัดทำแผนการซ่อมบำรุงที่เหมาะสมและระยะเวลา
ในการ ซ่อมบำรุงดว้ ย

ในกรณีที่ พัสดุเกิดการชำรุด ให้หน่วยงานของรัฐดำเนินการซ่อมแซมให้กลับมาอยู่ในสภาพ
พร้อมใชง้ านโดยเร็ว
การตรวจสอบ พัสดปุ ระจำปี

ข้อ ๒๑๓ ภายในเดอื นสุดทา้ ยกอ่ นส้ินปงี บประมาณของทุก
ปี ใหห้ วั หนา้ หน่วยงานของรัฐ หรือหวั หนา้
หน่วยพัสดุตามข้อ ๒๐๕ แต่งตั้งผู้รบั ผิดชอบในการตรวจสอบพสั ดุ
ซึ่งมใิ ชเ่ ป็นเจ้าหนา้ ท่ี ตามความจำเป็น เพอ่ื ตรวจสอบการรับจา่ ยพสั ดุในงวด ๑ ปี ทีผ่ ่านมา และ
ตรวจนบั พัสดปุ ระเภททคี่ งเหลอื อยู่ เพยี งวันสน้ิ งวดนนั้

ในการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่มดำเนินการตรวจสอบพัสดุในวันเปิดทำการวันแรก
ของปีงบประมาณเป็นต้นไป ว่าการรับจ่ายถูกต้องหรือไม่ พัสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบัญชี หรือ
ทะเบียนหรือไม่ มีพัสดใุ ดชำรุด เสอ่ื มคณุ ภาพ หรอื สูญไปเพราะเหตใุ ด หรือพสั ดุใดไมจ่ ำเป็น ต้องใช้
ในหน่วยงานของรฐั ต่อไป แล้วใหเ้ สนอรายงานผลการตรวจสอบ ดังกลา่ วต่อผแู้ ตง่ ตง้ั ภายใน ๓๐ วัน
ทำการ นบั แต่วนั เร่มิ ดำเนนิ การตรวจสอบพสั ดนุ ัน้

การจดั จา้ งและการบริหารพสั ดุ24.

เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับรายงานจาก ผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุแล้ว ให้เสนอหัวหน้า
หน่วยงานของรฐั ๑ ชุด และส่งสำเนารายงานไปยังสำนักงาน การตรวจเงินแผ่นดนิ ๑ ชุด พร้อมท้ัง
สง่ สำเนารายงาน ไปยงั หน่วยงานต้นสงั กดั (ถ้ามี) ๑ ชุด ด้วย

ขอ้ ๒๑๔ เมื่อผู้แตง่ ตงั้ ไดร้ บั รายงานจากผ้รู ับผดิ ชอบในการตรวจสอบพสั ดตุ ามข้อ ๒๑๓ และ
ปรากฏว่ามี พัสดุชำรุด เสื่อมสภาพ หรือสูญไป หรือไม่จำเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไป ก็ให้
แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหา ข้อเท็จจริงขึ้นคณะหนึ่ง โดยให้นำความในข้อ ๒๖ และข้อ ๒๗ มาใช้
บังคับ โดยอนุโลม เว้นแต่กรณีที่เห็นได้อย่าง ชัดเจนว่า เป็นการเสื่อมสภาพเนื่องมาจากการใช้งาน
ตามปกติ หรือสูญไปตามธรรมชาติให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ พิจารณาสั่งการให้ดำเนินการ
จำหน่ายตอ่ ไปได้

ถ้าผลการพิจารณาปรากฏว่า จะต้องหาตัวผู้รับผิดด้วย ให้หัวหน้า หน่วยงานของรัฐ
ดำเนินการ ตามกฎหมายและระเบยี บทีเ่ กยี่ วขอ้ งของทางราชการหรือของหน่วยงานของรัฐนั้นตอ่ ไป

การจำหน่วยพัสดุ

ข้อ ๒๑๕ หลังจากการตรวจสอบแล้ว พัสดุใดหมดความจำเป็นหรือหากใช้ในหน่วยงานของ
รัฐ ต่อไปจะ สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ให้เจ้าหน้าที่เสนอรายงานต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
เพอื่ พิจารณา ส่งั ใหด้ ำเนินการตาม วิธกี ารอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ดงั ต่อไปน้ี

(๑) ขายให้ดำเนินการขายโดยวิธีทอดตลาดก่อน แต่ถ้าขายโดยวิธีทอดตลาดแล้วไม่ได้ผลดี
ให้นำวิธีที่ กำหนดเกย่ี วกับการซื้อมาใช้โดยอนุโลม เวน้ แต่กรณี ดังต่อไปน้ี

(ก) การขายพสั ดคุ รัง้ หน่ึงซ่งึ มรี าคาซอื้ หรือไดม้ ารวมกันไม่เกิน ๕๐๐,000 บาท จะขาย
โดยวธิ ี เฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากันโดยไม่ตอ้ งทอดตลาดกอ่ นกไ็ ด้

(ข) การขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรอื องค์การสถานสาธารณกศุ ลตามมาตรา ๔๗ (๗)
แหง่ ประมวลรษั ฎากร ให้ขายโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากัน

(ค) การขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ แท็บเล็ต ให้แก่เจ้าหน้าท่ี
ของรัฐที่ หน่วยงานของรัฐมอบให้ไว้ใช้งานในหน้าที่ เมื่อบุคคลดังกล่าวพ้นจากหน้าที่หรือ
อุปกรณ์ดังกล่าว พ้นระยะเวลาการใช้ งานแล้ว ให้ขายให้แก่บุคคลดังกล่าวโดยวิธี
เฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากัน

การจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุ25.

การขายโดยวิธีทอดตลาดให้ถือปฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยให้ผู้ที่
ได้รับ มอบหมายทำการประเมินราคาทรัพย์สนิ ก่อนการประกาศขายทอดตลาด กรณีที่เป็นพัสดุทีม่ ี
การจำหน่าย เป็นการทั่วไปให้ พิจารณาราคาที่ซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่น
ของสภาพปจั จุบนั ของพัสดุนนั้ ณ เวลาที่จะทำการ ขาย และควรมกี ารเปรียบเทียบราคาตามความ
เหมาะสม กรณีที่เป็นพัสดุ ที่ไม่มีการจำหน่ายทั่วไป ให้พิจารณาราคา ตามลักษณะ ประเภท ชนิด
ของพัสดุ และอายุการใช้งาน รวมทั้งสภาพและสถานที่ตั้งของพัสดุด้วย ทั้งนี้ ให้เสนอ หัวหน้า
หน่วยงานของรัฐพิจารณาให้ความเห็นชอบ ราคาประเมินดังกล่าวโดยคำนึงถึงประโยชน์ของ
หน่วยงานของรัฐ ด้วย หน่วยงานของรัฐจะจ้างผู้ประกอบการที่ให้บริการขายทอดตลาดเป็น
ผดู้ ำเนนิ การกไ็ ด้

(๒) แลกเปลีย่ น ใหด้ ำเนินการตามวิธีการแลกเปล่ยี นท่กี ำหนดไว้ในระเบียบน้ี
(๓) โอน ให้โอนแก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา ๔๗ (๒)
แห่งประมวล รษั ฎากร ทง้ั น้ี ใหม้ หี ลกั ฐานการส่งมอบไว้ตอ่ กันดว้ ย
(๔) แปรสภาพหรือทำลาย ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่หน่วยงานของรัฐกำหนด การ
ดำเนินการตามวรรค หนึ่ง โดยปกติให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน นับถัดจากวันที่หัวหน้า หน่วยงาน
ของรฐั สงั่ การ
ข้อ ๒๑๖ เงินทไ่ี ดจ้ ากการจำหน่ายพัสดุ ให้ถอื ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องทางการเงินของหน่วยงานของรัฐนั้น หรือข้อตกลงในส่วนที่ใช้เงินกู้ หรือ
เงนิ ช่วยเหลอื แล้วแตก่ รณี การ จำหน่ายเป็นสญู
ข้อ ๒๑๗ ในกรณที พี่ ัสดสุ ญู ไปโดยไมป่ รากฏตวั ผรู้ บั ผิดหรือมตี ัวผ้รู บั ผดิ แต่ไมส่ ามารถชดใช้ได้
หรือมีตัว พัสดุอยู่แต่ไม่สมควรดำเนินการตามข้อ ๒๑๕ ให้จำหน่ายพัสดุนั้นเป็นสูญ ตามหลักเกณฑ์
ดังตอ่ ไปนี้
(๑) ถา้ พัสดนุ น้ั มีราคาซื้อ หรอื ได้มารวมกนั ไมเ่ กิน 9,000,000 บาท ให้หัวหนา้ หน่วยงานของ
รฐั เปน็ ผู้ พิจารณาอนุมัติ
(๒) ถ้าพสั ดุนน้ั มีราคาซือ้ หรือไดม้ ารวมกนั เกิน ๑,000,000 บาท ใหด้ ำเนินการดงั น้ี

(ก) ราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมภิ าคให้อยูใ่ นอำนาจของกระทรวงการคลงั เป็น
ผู้อนมุ ัติ

(ข) ราชการส่วนท้องถน่ิ ให้อยู่ในอำนาจของผวู้ า่ ราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการ
กรงุ เทพมหานครหรือนายกเมืองพัทยา แลว้ แต่กรณี เปน็ ผู้อนุมตั ิ

การจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดุ26.

(ค) หน่วยงานของรัฐอื่น ผู้ใดจะเป็นผู้มีอำนาจอนุมัติให้เป็นไปตามที่หน่วยงานของรัฐน้ัน
กำหนด รัฐวิสาหกิจใดมีความจำเป็นจะกำหนดวงเงินการจำหน่ายพัสดุเป็นสูญตามวรรคหน่ึง
แตกต่างไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบนีใ้ ห้เสนอต่อคณะกรรมการวินจิ ฉยั เพื่อขอความเห็นชอบและ
เม่อื ได้รับความเหน็ ชอบแลว้ ให้ รายงานสำนกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ ทราบดว้ ย

การลงจ่ายออกจากบัญชีหรอื ทะเบียน
ข้อ ๒๑๘ เมื่อได้ดำเนินการตามข้อ ๒๑๕ และข้อ ๒๑๗ แล้ว ให้เจ้าหน้าที่ลงจ่ายพัสดุนั้น
ออกจากบัญชีหรือ ทะเบียนทันที แล้วแจ้งให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ทราบภายใน ๓๐ วัน
นบั แตว่ ันลงจ่ายพัสดนุ ้ัน สำหรับพัสดุ ซง่ึ ต้องจดทะเบียนตามกฎหมายใหแ้ จง้ แก่นายทะเบียนภายใน
ระยะเวลาท่กี ฎหมาย กำหนดด้วย
ข้อ ๒๑๙ ในกรณีท่ีพัสดขุ องหนว่ ยงานของรัฐเกดิ การชำรดุ เสือ่ มคุณภาพ หรอื สญู ไป หรอื ไม่
จำเปน็ ต้องใช้ ในราชการต่อไป กอ่ นมกี ารตรวจสอบตามขอ้ ๒๑๓ และได้ดำเนินการตามกฎหมายว่า
ด้วยความรับผิดทางละเมิดของ เจ้าหน้าที่ หรือระเบียบนี้โดยอนุโลม แล้วแต่กรณี เสร็จสิ้นแล้ว ถ้า
ไมม่ ีระเบยี บอื่นใดกำหนดไวเ้ ป็นการเฉพาะ ให้ ดำเนินการตามขอ้ ๒๑๕ ขอ้ ๒๑๖ ขอ้ ๒๑๗ และข้อ
๒๑๘ โดยอนโุ ลม

จรรยาบรรณ คณุ ธรรมและ
จริยธรรมในการปฏิบตั งิ าน

จรรยาบรรณ คุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน ได้ยึดและปฏิบัติตามประมวล
จริยธรรมของ ข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๒ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ จรรยาบรรณต่อ
การปฏิบตั งิ านและหนว่ ยงาน
๑) การยึดมนั่ ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
๒) การยดึ มน่ั ในคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
๓) การมจี ติ สำนึกทด่ี ี ซ่ือสตั ย์ และรับผดิ ชอบ
๔) การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์
ทับซอ้ น
๕) การยืนหยัดทำในสง่ิ ท่ถี ูกตอ้ ง เปน็ ธรรม และถกู กฎหมาย
๖) การใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชนดว้ ยความรวดเรว็ มีอธั ยาศยั และไม่เลอื กปฏิบตั ิ

การจัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุ27.

๗) การใหข้ ้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถกู ตอ้ ง และไม่บดิ เบอื นขอ้ เท็จจริง
๘) การมุ่งผลสมั ฤทธข์ิ องงาน รักษามาตรฐาน มคี ณุ ภาพ โปรง่ ใส และตรวจสอบได้
๙) การยดึ มนั่ ในหลักจรรยาวชิ าชพี ขององค์กร
๑๐) การสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในท้องถิ่นประพฤติตนเป็นพลเมืองท่ีดีร่วมกันพัฒนา
ชุมชนให้นา่ อยูค่ ู่
คณุ ธรรมและดูแลสภาพส่งิ แวดล้อมใหส้ อดคล้องรัฐธรรมนูญฉบบั ปจั จุบนั

ระบบการติดตามประเมินผล
ดำเนินการตดิ ตามประเมินผลการบริหารงานพัสดภุ ายใต้ พระราชบัญญตั ิการจดั ซ้ือจดั จ้างใหม่ พ.ศ.
๒๕๖๐ ดังนี้
๑. การบริหารงานพัสดุ ต้องเป็นไปตาม พระราชบัญญัติฯ ระเบียบฯ ข้อบังคับ หนังสือสั่งการที่
เกี่ยวขอ้ ง อยา่ งเคร่งครัด
๒. การเปดิ เผยขอ้ มูลข่าวสารในการการบรหิ ารงานพสั ดุ
๓. มีการตรวจสอบโดยหน่วยงานตรวจสอบภายใน และหน่วยงาน
ของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นสำนักงานป้องกัน และปราบปรามการทุจริต
แหง่ ชาติ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดนิ


Click to View FlipBook Version