ขา่ วประชาสัมพนั ธจ์ ากเสยี งไรส้ าย
เทศบาลตาบลโพตลาดแกว้
ประจาวนั พฤหสั บดที ี่ ๘ ธนั วาคม ๒๕๖๕
ขา่ วประชาสมั พันธเ์ รื่องท่ี ๑
ขา่ วประชาสมั พันธเ์ รื่องท่ี ๒
ขา่ วประชาสมั พันธเ์ รื่องท่ี ๓
ขา่ วประชาสมั พันธเ์ รื่องท่ี ๔
ข่าวประชาสัมพนั ธเ์ รอื่ งท่ี ๕
ประชาสมั พันธ์การชาระคา่ ธรรมเนียมการเก็บและขนมูลฝอยทวั่ ไป
ตามเทศบัญญัติเทศบาลตาบลโพตลาดแก้ว การจัดการมูลฝอยทั่วไป พ.ศ. ๒๕๖๕ อาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม,
พระราชบัญญัติรักษา ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม และ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕
เทศบัญญตั นิ ้ีใชบ้ ังคับในเขตเทศบาลตาบลโพตลาดแก้ว โดยกาหนดให้เทศบาลตาบลโพตลาดแก้วมีหน้าท่ีและอานาจ ในการจัดการมูลฝอยท่ัวไปในเข ตเทศบาล ตาบล
โพตลาดแก้ว รวมถงึ การเรียกเก็บคา่ ธรรมเนยี มการเก็บ ขน และกาจัดมูลฝอยและคา่ ธรรมเนยี ม การออกใบอนญุ าต ตามอัตราท่กี าหนดไวท้ า้ ยเทศบัญญัติ
เทศบาลตาบลโพตลาดแกว้ จึงประชาสมั พันธข์ อความร่วมมอื ในการชาระค่าธรรมเนียมเก็บ และขนมูลฝอยท่ัวไป ตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๖๕ เป็นต้นไป ในอัตรา
ค่าธรรมเนียม ดงั นี้
1. อาคาร บ้านพกั อาศยั ทมี่ ีปริมาณมลู ฝอยทั่วไป วนั ละไมเ่ กิน ๒๐ ลติ ร อัตราค่าธรรมเนยี ม ๔๐ บาทตอ่ เดอื น หรอื อัตรา ๔๘๐ บาท ตอ่ ปี
๒. อาคาร ร้านคา้ หอ้ งเชา่ สถานประกอบการ โรงเรยี น ฯลฯ เทศบาลฯ จะพจิ ารณา ประเมินค่าธรรมเนียมตามปริมาณขยะมูลฝอย คือ วันละต้ังแต่ ๒๐ ลิตร ข้ึน
ไป จะเกบ็ อตั ราคา่ ธรรมเนียมตาม ปริมาณจรงิ รายละเอียดท้ายเทศบญั ญตั เิ ทศบาลตาบลโพตลาดแกว้ การจัดการมูลฝอยท่ัวไป พ.ศ. ๒๕๖๕
ดงั นัน้ ทา่ นสามารถชาระกับเจ้าหน้าท่ี ทอ่ี อกบรกิ ารรบั ชาระ หรือชาระดว้ ยตนเองได้ท่ี กองคลงั เทศบาลตาบลโพตลาดแก้ว อาเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี ในวันและ
เวลาราชการหรอื สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเตมิ หมายเลขโทรศพั ท์ ๐ ๓๖๔๑ ๓๑๐๙
การทที่ ่านได้ชาระเงนิ คา่ ธรรมเนียมเก็บและขนมูลฝอยท่วั ไป เปน็ รายเดอื นหรอื รายปีน้ัน เทศบาลตาบลโพตลาดแก้วขอขอบพระคุณ ที่ท่านให้ความร่วมมือในการ
ปฏบิ ตั ิตามเทศบัญญตั เิ ทศบาลฯ และถอื เป็นรายได้ของเทศบาลฯ เพือ่ นาไปใชใ้ นการพฒั นาท้องถิ่นรวมถงึ นาไปบริหารจัดการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพ การบริหารจดั การขยะมูล
ฝอย เพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน สาหรับผู้ที่ไม่ชาระค่าธรรมเนียม ถือว่าไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมายท้องถิ่นกาหนดไว้ จึงถือว่า “ท่านเป็นหนี้ค้างค่าธรรมเนียมขยะมูล
ฝอย” เทศบาลฯ จะได้ รวบรวมเรอ่ื งเพือ่ ดาเนินการตามขอ้ ระเบยี บ กฎหมายต่อไป
จึงประกาศใหท้ ราบโดยท่ัวกัน
ขา่ วประชาสมั พันธ์เรอ่ื งที่ ๖
ปญั หาภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (อังกฤษ: global warming) หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉล่ียของอากาศใกล้พ้ืนผิวโลกและน้าในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงคร่ึงหลังของ
ครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20และมีการคาดการณว์ า่ อณุ หภมู ิเฉลยี่ จะเพ่มิ ขึน้ อยา่ งต่อเนือ่ ง ในชว่ ง 100ปีทผ่ี ่านมา นับถงึ พ.ศ. 2548อากาศใกลผ้ วิ ดนิ ทัว่ โลกโดยเฉลีย่ มีค่าสูงข้ึน
0.74±0.18 องศาเซลเซียส ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC)
ของสหประชาชาตไิ ด้สรปุ ไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพ่ิมอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20(ประมาณต้ังแต่ พ.ศ. 2490)ค่อนข้าง
แน่ชดั ว่าเกิดจากการเพิม่ ความเข้มของแกส๊ เรือนกระจกท่ีเกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ท่ีเป็นผลในรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง
เชน่ ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพ่ิมอุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490
และมีผลเพยี งเลก็ น้อยตอ่ การลดอุณหภูมหิ ลังจากปี 2490เป็นตน้ มา
ข้อสรุปพ้ืนฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 30แห่ง รวมท้ังราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์
ระดับชาติท่ีสาคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCCอยู่บ้าง แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่
ทางานด้านการเปล่ียนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยตรงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ แบบจาลองการคาดคะเนภูมิอากาศท่ีสรุปโดย IPCCบ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉล่ียที่ผิว
โลกจะเพ่ิมข้ึน 1.1 ถึง 6.4องศาเซลเซียส ในช่วงครสิ ต์ศตวรรษท่ี 21(พ.ศ. 2544–2643) ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจาลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ ของการแผ่
ขยายแกส๊ เรอื นกระจกในอนาคต รวมถงึ การจาลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปท่ีช่วงเวลาถึงเพียงปี พ.ศ. 2643 แต่
ความร้อนจะยังคงเพ่ิมข้ึนและระดับน้าทะเลก็จะสูงข้ึนต่อเน่ืองไปอีกหลายสหัสวรรษ แม้ว่าระดับของแก๊สเรือนกระจกจะเข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การที่อุณหภูมิและ
ระดับน้าทะเลเข้าสสู่ ภาวะดุลยภาพไดช้ า้ เป็นเหตมุ าจากความจุความร้อนของนา้ ในมหาสมทุ รซึ่งมีค่าสงู มาก
การท่ีอุณหภูมิของโลกเพ่ิมสูงขึ้นทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทาให้เกิดภาวะลมฟ้าอากาศสุดโต่ง (extreme weather) ท่ีรุนแรงมากขึ้น ปริมาณและ
รูปแบบการเกิดหยาดน้าฟ้าจะเปลีย่ นแปลงไป ผลกระทบอ่นื ๆ ของภาวะโลกรอ้ นไดแ้ ก่ การเปล่ียนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธารน้าแข็ง การสูญ
พันธุ์พชื -สตั ว์ตา่ ง ๆ รวมทง้ั การกลายพันธแ์ุ ละแพรข่ ยายโรคต่าง ๆ เพมิ่ มากขึน้ แตย่ งั คงมคี วามไมแ่ น่นอนทางวิทยาศาสตรอ์ ยบู่ า้ ง ได้แก่ปริมาณของความร้อนที่คาดว่า
จะเพิ่มในอนาคต ผลของความรอ้ นที่เพม่ิ ขึน้ และผลกระทบอ่ืน ๆ ท่จี ะเกดิ กบั แต่ละภมู ภิ าคบนโลกวา่ จะแตกต่างกันอย่างไร รฐั บาลของประเทศต่าง ๆ แทบทุกประเทศได้
ลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต ซึ่งมุ่งประเด็นไปท่ีการลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจก แต่ยังคงมีการโต้เถียงกันทางการเมืองและการโต้วาทีสาธารณะไปทั่วทั้ง
โลกเก่ยี วกับมาตรการวา่ ควรเปน็ อยา่ งไร จึงจะลดหรือยอ้ นกลับความร้อนที่เพ่มิ ข้ึนของโลกในอนาคต หรือจะปรับตัวกันอย่างไรต่อผลกระทบของภาวะโลกร้อนท่ีคาดว่า
จะต้องเกดิ ข้ึน
การแกป้ ัญหาภาวะโลกรอ้ นจากนติ ยสาร Time
1. ใชพ้ ลงั งานชีวภาพ เช่น ไบโอดีเซล์ เอธานอล ใหม้ ากขึ้น
2. ลดการใชพ้ ลงั งานในบา้ น (การใช้ไฟฟา้ ในท่ีพักอาศยั มีส่วนทาให้เกดิ ก๊าซ เรือนกระจก ถงึ 16% )
3. เปล่ยี นหลอดไฟเปน็ หลอดไฟแบบขด compact fluorescent lightbulb (CFL) จะใช้ไฟเพยี ง 1 ใน 4 ของปกติ
4. การเปลี่ยนไปใชไ้ ฟแบบหลอด LED จะไดไ้ ฟที่สว่างกวา่ และประหยัดไฟฟา้ กวา่ หลอดปกติ 40 %
5. ในอเมรกิ าได้มีการรณรงคใ์ ห้เก็บ ภาษีคาร์บอน จากโรงงานอตุ สาหกรรม ซ่ึงจะช่วยลดปริมาณการปลอ่ ย CO2 ลงราว 5%
6. บ้านหลงั ใหญก่ ินไฟกว่าการอยู่บา้ นหลังใหญ่เกนิ ความจาเป็น ส่งผลให้มีการใช้พลังงานมากกวา่ ทีต่ อ้ งการได้
7. ไมซ่ ักผ้าในน้าอุ่น ตากผ้าแทนทจี่ ะใชเ้ คร่อื งอบผา้ ผลการวจิ ัยบอกว่า ตลอดอายุการใชง้ านของเสือ้ 1 ตัวจะปลอ่ ย CO2 จากการซกั รดี อบแห้ง ประมาณตวั ละ 9
ปอนด์
8. รไี ซเคิลเสือ้ ในบางบริษัทมีการรบั บริจาคเสอื้ ท่ีใชแ้ ลว้ จะนาไปหลอมมาทาเปน็ เส้นใยใหม่อกี ครั้ง ซึง่ จะชว่ ยลดก๊าซ เรอื นกระจก ไดถ้ ึง 71%
9. สร้างตึกสีเขยี ว ในการก่อสรา้ งบางตกึ จะผสมคอนกรตี เข้ากับ slug (ของเสยี ทไี่ ดจ้ ากเหมอื ง) ซง่ึ จะทาใหแ้ ขง็ แรงขึ้น ลดการใช้พลงั งานไดม้ ากข้ึน
ปญั หาภาวะโลกรวน
“ภาวะโลกรวน” เกิดขึ้นจาก 2ปัจจัยหลักคือ ภาวะโลกร้อน และ สภาพภูมิอากาศท่ีเปล่ียนแปลงไปในช่วงระยะเวลาท่ียาวนาน การรวมตัวของทั้ง 2ปัจจัยทาให้
ปรากฏการณธ์ รรมชาตเิ กิดขึ้นแตกตา่ งไปจากเดิม รนุ แรงขน้ึ ถีข่ ึ้น คาดเดายากข้นึ
ตัวอย่างทอี่ าจจะได้เหน็ กันบ่อยขนึ้ คอื
1.นา้ ท่วม : ความร้อนทาให้นา้ แข็งทข่ี ้ัวโลกละลาย นา้ ทะเลขยายตวั ขนึ้ และยังมีเร่ืองของฝนทีใ่ นหลายพน้ื ทม่ี ีความรนุ แรงมากขน้ึ และถข่ี ึน้
2.แลง้ : ด้วยฝนท่ีไมต่ กตามฤดูหรอื ในหลายพนื้ ท่ที ่ีตกน้อยอยู่แลว้ กย็ งิ่ น้อยเข้าไปอีกนอกจากกระทบกบั ชวี ิตผูค้ นยงั กระทบกบั พชื ผลท่ีปลูกไม่ข้ึนในสภาพภูมศิ าสตร์แบบน้ี
3.ทะเลและสิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล : ท้ังอุณหภูมิที่สูงขึ้นและสารตัวหลักของ GHGคือ Carbon dioxide ท่ีมากเกินไป ทาให้เกิดปฏิกิริยา Ocean Acidification โดยปกติ
แล้วทะเลจะชว่ ยดดู ซบั CO2และทาปฏิกิรยิ าเปน็ กรด Carbonicอยู่แล้วแต่พอมีมากขึ้นก็ดูดซับมากข้ึนเป็นกรดมากขึ้น ทาให้สิ่งมีชีวิตใต้ทะเล ไม่ว่าจะเป็นสัตว์เปลือกแข็ง
จาพวกหอย ปะการงั เกิดการฟอกขาว หรอื ปลาหลากชนดิ อ่อนแอลง ซง่ึ จะทาใหจ้ านวนอาหารทะเลหรือแหล่งโปรตนี ของมนษุ ยก์ ล็ ดลงไปด้วย
4.อากาศท่ีร้อนขึ้น: ยิ่งในภูมิประเทศของเราอยู่ในเขตร้อนแถบเส้นศูนย์สูตร ย่ิงร้อนก็ยิ่งต้องเปิดแอร์ ไฟฟ้าในบ้านเรา ส่วนมากมีท่ีมาที่ปล่อย GHGสูง เช่น ถ่านหิน ก๊าซ
ธรรมชาติ ทาให้สถานการณ์ย่ิงแย่ข้ึนเร่ือย ๆ แถมยังมีการจัดการปัญหาโลกร้อนที่ยังไม่มากพอ เช่น พื้นที่สีเขียวน้อย ไม่ค่อยมีมาตรก ารที่ช่วยให้ผู้คนใช้ชีวิตแบบลด
ผลกระทบต่อโลก
แลว้ ควรทาอย่างไรเพื่อลด “โลกรอ้ น” เพือ่ ลดผลที่ตามมาคอื “ภาวะโลกรวน”
1.สาคัญท่ีสุด คือ ทาความเข้าใจว่า GHGเกิดขึ้นจากกิจกรรมในชีวิตประจาวันเราได้อย่างไรบ้าง เช่น การใช้ไฟฟ้า การใช้รถยนต์ หรือการเลือกซื้อของกิน ของใช้ใน
ชีวิตประจาวัน ซ่ึงมีให้พิจารณาต้ังแต่ต้นทาง-ปลายทาง (ลองหาได้จากการค้นหา Carbon footprint of … เช่น Food ก็จะเจอว่าเน้ือวัว ทาให้เกิด GHG มากท่ีสุด ซ่ึง
สบื เนื่องมาต้ังแต่การปลูก/ผลิตอาหารเลีย้ งวัว วิถีชีวิตของววั ตลอดท้งั ชีวิต เปน็ ตัน)
2.เรื่องเลก็ ๆ ที่เรมิ่ ทาไดก้ ่อน และแนะนาให้ทา คอื เรือ่ ง “ขยะ” เริม่ ด้วยการลดการใช้ ใช้ให้คุ้ม และแยกทิ้งใหถ้ กู ต้อง
1. โดยเฉพาะขยะเศษอาหาร ท่เี มื่อเกิดการหมกั หรอื เนา่ เสีย จะเกดิ แกส๊ มเี ทน ซง่ึ มีอาณุภาพของการเป็น GHG มากกว่า CO2 ถงึ 28 เทา่ -> วางแผนการกิน
ให้เหลือท้งิ น้อยท่ีสุด
2. เลือกใช้ของที่คมุ้ ค่ากับผลกระทบที่เกิดขน้ึ ในการผลติ สามารถใชซ้ า้ ไดด้ ี
3. เมือ่ ไมใ่ ชแ้ ล้ว แยกขยะใหเ้ กิดการรีไซเคิลมากที่สดุ
4. หากลองตงั้ ใจแยกแล้วจะพบข้อสงสัยอกี มากวา่ ทาไมวสั ดชุ ้นิ นค้ี วรจะรไี ซเคิลได้ ถ้าท้งิ เป็นขยะท่ัวไป กจ็ ะไปปะปนในบอ่ ขยะ แต่ขายใหซ้ าเล้งไม่ได้ -> ควร
จะเรยี กร้องให้ถึงผผู้ ลติ เพือ่ คิดถงึ เรอื่ งการรบั ผิดชอบกบั สินค้าของตัวเองใหม้ ากข้นึ โดยใชห้ ลกั Extended Producer Responsibility (EPR)
3.บางครง้ั เราจะต้องคิดถึงผลกระทบหลายด้านเพอื่ หาวิธีการจัดการทเี่ หมาะสมท่สี ดุ เชน่ เรอื่ งของถุงผา้ ถุงพลาสติก และถงุ กระดาษ
1. หากใช้เพียงครั้งเดยี ว การปลอ่ ย CO2: ถงุ ผ้า > ถงุ กระดาษ > ถุงพลาสตกิ (ถุงผ้าไมไ่ ดล้ ดโลกร้อน ถ้าใช้คร้งั เดยี ว)
2. แตถ่ ้าในเรือ่ งของปญั หาไมโครพลาสตกิ (ย่อยสลายไม่ได้/ยาก): ถุงพลาสตกิ > ถงุ ผ้า > ถุงกระดาษ
3. ความทนทาน สามารถซักได้: ถุงผา้ > ถงุ พลาสติก > ถุงกระดาษ
4. ดังนั้นเราควรจะใช้อะไร? ถงุ ท่ดี ีท่ีสุดคือ “ถงุ ที่มอี ยแู่ ลว้ ” บางคนอาจชอบถุงผา้ เพราะซกั ง่าย บางคนอาจชอบใชถ้ งุ พลาสติกซ้า ๆ เพราะกันนา้ ไดด้ ี
5. หากไดร้ ับมาใหมอ่ ยา่ งไม่ต้งั ใจ ให้ใชซ้ ้าใหค้ ้มุ และทิ้งใหถ้ ูกต้องตามสภาพ เช่น ถุงกระดาษท่ีไม่เป้ือน จะรวบรวมขายกับซาเล้งได้ ถุงพลาสติก หากสะอาด
สามารถแยกทิง้ ในจุดรบั ทง้ิ พลาสตกิ ยืด ส่วนถงุ ผา้ ถุงพลาสติก หรอื ถงุ อ่ืน ๆ ทีข่ ายไมไ่ ด้ ให้สง่ เผาทาเชอ้ื เพลิง
6. อย่างไรก็ตาม ไม่แนะนา ถุงสปันจ์บอนด์ เพราะเป็นพลาสติกชนิดที่เหมือนผ้า แต่มีคุณสมบัติในการแตกตัวไว ไม่ย่อยสลาย อายุการใช้งานสั้น
เพราะไมท่ นทาน
ขา่ วประชาสัมพนั ธ์เร่ืองที่ ๗
ตามนโยบายของรัฐบาล ในการดาเนินงานด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อบรรลุเป้าหมายการลดก๊าซ
เรือนกระจก และการดาเนินงานด้านการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศ โดยการขึ้นทะเบยี นของโครงการ ถังขยะ
เปียก ลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามโครงการลดก๊าซเรือนกระจก ภาคสมัครใจตามมาตรฐานของประเทศ
ไทย (T-VER)รวมถึงการดาเนินการในกระบวนการรับรองและซ้ือขายคาร์บอนเครดิต เป็นการบูรณาการทั้ง ส่วนกลาง ส่วน
ภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น ตลอดจนกระตุ้น ส่งเสริม สนับสนุนประชาชน ให้มีความตื่นตัว และ ตระหนักในการแก้ไขปัญหา
ขยะและปัญหาโลกรอ้ น
เทศบาลตาบลโพตลาดแก้ว จึงขอเชิญชวนประชาชนทุกครัวเรือนร่วมจัดทาถังขยะเปียกลดโลกร้อนเพื่อกาจัดขยะ
อินทรียใ์ นครัวเรือนตามนโยบายดงั กล่าวข้างตน้
ขา่ วประชาสมั พันธเ์ รื่องท่ี ๘
เทศบาลตาบลโพตลาดแกว้
ขอขอบคณุ ทุกท่านท่ีติดตามขา่ วสาร
ของทางเทศบาลฯ ด้วยดเี สมอมา