The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจงานแปลมัทธิว 15

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by P. Tads, 2021-06-06 09:22:19

15 มัทธิว 15:1-20

ตรวจงานแปลมัทธิว 15

มทั ธวิ 15:1-20 ความเป็นมลทนิ – ตามธรรมเนยี มและในความเป็นจรงิ

ขนบธรรมเนียมของชาวฟาริสี
1 เวลานัน้ ชาวฟารสิ แี ละธรรมาจารย์จากกรุงเยรซู าเลม็ มาเฝ้าพระเยซูเจา้ ทูลถามว่า 2 “ทาไมศษิ ย์ของท่านละเลยขนบ

ธรรมเนียมของบรรพบรุ ุษ เขาไมล่ า้ งมอื เม่อื กนิ อาหาร 3 พระองคต์ รสั ตอบวา่ “แลว้ ท่านละ่ ทาไมจงึ ละเมดิ บทบญั ญตั ขิ องพระเจา้
เพ่อื ปฏบิ ตั ติ ามขนบธรรมเนียมของท่าน” 4 เช่น พระเจา้ ตรสั ว่า ‘จงนับถือบิดามารดา’ และ ‘ใครสาปแช่งบิดามารดา ต้องมี
โทษถึงตาย’ 5 แต่ท่านสอนว่า ‘ผูใ้ ดบอกบดิ ามารดาว่า สงิ่ ท่ลี ูกจะนามาช่วยพ่อแม่ได้นัน้ ลูกได้ถวายพระเสยี แล้ว 6 ผูน้ ัน้ ก็ไม่
จาเป็นจะตอ้ งชว่ ยเหลอื บดิ ามารดาอกี ตอ่ ไป’

“ดว้ ยเหตุน้ี ท่านทงั้ หลายทาใหพ้ ระวาจาของพระเจา้ เป็นโมฆะเพ่อื ปฏบิ ตั ติ ามขนบธรรมเนียมของท่าน 7 คนหน้าซ่อื ใจคด
เอ๋ย ประกาศกอสิ ยาหไ์ ดก้ ลา่ วไวอ้ ยา่ งถูกตอ้ งถงึ ท่านทงั้ หลายวา่

8 ประชาชนเหล่าน้ี ให้เกียรติเราแต่ปาก
แต่ใจของเขาอย่หู ่างไกลจากเรา
9 เขานมสั การเราอย่างไรค้ วามหมาย
เขาสงั่ สอนบญั ญตั ิของมนุษยเ์ หมือนกบั เป็นสจั ธรรม
สิ่งที่บริสุทธ์ิ และส่ิงท่ีเป็ นมลทิ น
10 พระเยซูเจา้ ทรงเรยี กประชาชนเขา้ มา ตรสั ว่า “จงฟังและเขา้ ใจเถดิ 11 สงิ่ ทเ่ี ขา้ ไปทางปากไมท่ าใหม้ นุษยม์ มี ลทนิ แต่สงิ่
ทอ่ี อกมาจากปากต่างหากทาใหม้ นุษยม์ มี ลทนิ ”
12 บรรดาศษิ ยจ์ งึ เขา้ มาทลู ถามพระองคว์ า่ “พระองคท์ รงทราบหรอื ไมว่ า่ พวกฟารสิ ไี มพ่ อใจเมอ่ื ไดย้ นิ คาน้ี” 13 พระองคท์ รง
ตอบว่า “ตน้ ไมท้ ุกตน้ ทพ่ี ระบดิ าของเราผูส้ ถติ ในสวรรค์มไิ ดท้ รงปลูกไว้ จะถูกถอนท้งิ เสยี 14 ปล่อยเขาเถดิ เขาเป็นคนตาบอดท่ี
นาทางคนตาบอดดว้ ยกนั ถา้ คนตาบอดนาทางคนตาบอด ทงั้ สองคนกจ็ ะตกลงไปในค”ู
15 เปโตรทลู พระองคว์ ่า “โปรดอธบิ ายขอ้ ความทเ่ี ป็นปรศิ นาน้ีเถดิ ” 16 พระเยซูเจา้ ทรงตอบว่า “ท่านกไ็ ม่เขา้ ใจดว้ ยหรอื 17
ทา่ นไมเ่ ขา้ ใจหรอื วา่ สง่ิ ต่างๆ ทเ่ี ขา้ ไปในปากยอ่ มลงไปในทอ้ ง แลว้ ออกไปจากร่างกาย 18 แต่สงิ่ ทอ่ี อกมาจากปากนนั้ ออกมาจาก
ใจ สง่ิ เหล่าน้ีแหละ ทาใหม้ นุษยม์ มี ลทนิ 19 ใจเป็นทเ่ี กดิ ของความคดิ ชวั่ รา้ ย การฆา่ คน การประพฤตผิ ดิ ทางเพศ การผดิ ประเวณี
การลกั ขโมย การเป็นพยานเทจ็ การใส่รา้ ย 20 การกระทาเหลา่ น้ีทาใหม้ นุษยม์ มี ลทนิ ส่วนการกนิ โดยไมล่ า้ งมอื ไมท่ าใหม้ นุษยม์ ี
มลทนิ ”

ข้อศึกษาวิพากษ์
เร่อื งเล่าหน่วยย่อยน้ีเรม่ิ ต้นดว้ ยการมาถงึ ของชาวฟารสิ แี ละธรรมาจารยจ์ ากเยรูซาเลม็ และต่อเน่ืองไป

จนถงึ ตอนทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงปลกี ตวั จากไปใน 15:21 มคี าถามในวรรคท่ี 1 เป็นกรอบ โดยพระเยซูเจา้ จะกลบั เขา้
มาอกี ครงั้ เฉพาะในประโยคปิดของวรรคท่ี 20 ดงั นัน้ จงึ มกี ารเปลย่ี นผูฟ้ ังสองครงั้ และแบ่งฉากเหตุการณ์น้ีให้

367

กลายเป็นสามส่วน (ว. 1-9 คุยกบั ชาวฟารสิ แี ละธรรมาจารย์ ว. 10-11 คุยกบั ฝงู ชน ว. 12-20 คุยกบั บรรดาศษิ ย์) ตงั้ แต่วรรค 1-20 นัน้
ถอื เป็นหน่วยเดยี วทม่ี แี นวคดิ เดยี วกนั มบี ุคคลสองฝัง่ ทต่ี รงขา้ มกนั อย่างสน้ิ เชงิ คอื ชาวฟารสิ แี ละธรรมาจารย์ (ผู้
ต่อตา้ น) กบั บรรดาศษิ ย์ ส่วนฝงู ชนอย่ตู รงกลาง ซ่งึ พวกเขาอาจเลอื กไปขา้ งใดกไ็ ด้ (ชาวฟารสิ พี ยายามดงึ พวกเขามาเป็น
พวก แต่พระเยซูเจ้าก็ยงั คงตรสั กบั พวกเขาเหมอื นกบั ผู้ท่มี ศี กั ยภาพจะเป็นศิษย์) โดยทางการแล้ว เน้ือเร่อื งหน่วย 15:1-20 เป็น
เรอ่ื งราวความขดั แยง้ ทส่ี บื เน่ืองมาจากของเดมิ หลงั จากเหตุการณ์รกั ษาโรคและเล้ยี งอาหารผคู้ นเขา้ มาแทรกใน
14:13-36 ความขดั แยง้ ทม่ี มี อี ทิ ธพิ ลหลกั ใน 13:53-17:27 ไดก้ ลบั เขา้ มาอกี ครงั้

15:1-9 คอื ฉากทห่ี น่ึง เกย่ี วกบั ชาวฟารสิ แี ละธรรมาจารย์ แมว้ ่ามนั จะไม่ใช่ความจรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์
แต่การระบุว่าชาวฟารสิ แี ละธรรมาจารยเ์ หล่าน้ีมาจากเยรูซาเลม็ ไดช้ ่วยให้ผอู้ ่านคาดเดาได้ถงึ พระมหาทรมาน
ของพระองคท์ จ่ี ะเกดิ ขน้ึ ความขดั แยง้ น้ีจะสรุปจบดว้ ยกล่าวถงึ ความตายของพระเยซูเจา้ เช่นเดยี วกบั ทส่ี ะทอ้ น
อย่ใู น 2:3 ซง่ึ ทาใหเ้ ราคาดเดาไดถ้ งึ เรอ่ื งราวพระมหาทรมานเช่นกนั คาถามน้ีไม่ใช่เจาะจงเฉพาะโอกาสเหมอื น
ใน มก. 7:1-15 แต่สนั นิษฐานว่าการไม่ถอื ธรรมเนียมการลา้ งมอื เป็นแนวทางทช่ี าวครสิ ตป์ ฏบิ ตั อิ ย่แู ลว้ ในทน่ี ้ีก็
เหมอื นกบั ทอ่ี ่นื ๆ คอื ไมใ่ ช่เป็นบนั ทกึ ทางประวตั ศิ าสตร์ (แมว้ า่ จะมบี างองคป์ ระกอบทเ่ี ป็นชวี ติ ของพระเยซูเจา้ จรงิ ) แต่สะทอ้ น
ถงึ ความขดั แยง้ ในยุคสมยั ของนักบุญมทั ธวิ ระหว่างชาวยวิ ทเ่ี ป็นครสิ ต์ในชุมชนของท่านกบั กลุ่มผูน้ าชาวยวิ ท่ี
กาลงั กอ่ ตวั ขน้ึ (ดู บทนา)

15:2 ประเดน็ เร่อื งการลา้ งมอื ไม่ใช่เร่อื งของอนามยั แต่เป็นความสะอาดบรสิ ุทธทิ ์ างพธิ กี รรม ซ่งึ เร่อื งน้ี
คนตะวนั ตกสมยั ใหมค่ งไม่อาจเขา้ ใจไดง้ า่ ยๆ แต่กไ็ มค่ วรมองวา่ เป็นเร่อื งไม่สลกั สาคญั หรอื เป็นบทบญั ญตั ทิ ม่ี แี ต่
เปลอื ก หรอื เป็นความเช่อื งมงายแบบโบราณ สง่ิ ท่ี “สะอาด” กบั สงิ่ ท่ี “มมี ลทนิ ” เป็นเร่อื งของการรกั ษาความ
บรสิ ุทธศิ ์ กั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ ซ่ึงประชากรของพระเป็นเจ้าถูกเรยี กร้องให้กระทาเช่นนัน้ โดยสอดคล้องกบั ความบรสิ ุทธิ ์
ศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องพระเป็นเจา้ พระคมั ภรี ฉ์ บบั พนั ธสญั ญาเดมิ ใสใ่ จจรงิ จงั มากกบั เร่อื งความศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ ความสะอาด/มี
มลทนิ และกลา่ วถงึ สง่ิ น้ไี วอ้ ยา่ งชดั เจนและพรรณนาอยา่ งละเอยี ดมาก

อย่างไรกต็ าม การลา้ งมอื ก่อนรบั ประทานอาหารเป็นบทบญั ญตั ทิ อ่ี ย่ใู นพระคมั ภรี เ์ ร่อื งความสะอาดทาง
พธิ กี รรม บทบญั ญตั ดิ งั กลา่ วสาหรบั ผทู้ ไ่ี ม่ใชน่ กั บวชมอี ยใู่ น ลนต. 15:11 เทา่ นนั้ โดยกล่าววา่ สงิ่ สกปรกทม่ี อี ยใู่ น
สารคดั หลงั่ ของร่างกายจะไม่ตดิ ต่อไปยงั ผอู้ ่นื หากบุคคลผมู้ มี ลทนิ นนั้ ลา้ งมอื ดว้ ยน้า ใน อพย. 30:17-21 มคี าสงั่
ในนกั บวชลา้ งมอื และเทา้ โดยเป็นสว่ นหน่ึงของการชาระตนใหส้ ะอาด ก่อนจะทาพธิ กี รรมในสถานทป่ี ระกอบพธิ ี
ถวายบูชา (ดู เทยี บ ลนต. 22:4-7) สงั เกตเหน็ ได้อย่างชดั ว่าชาวฟารสิ ี ซ่งึ เป็นขบวนการของผนู้ าท่แี ยกต่างหากจาก
พระวหิ ารซง่ึ เป็นสถานทส่ี าหรบั นกั บวชไดน้ ากจิ ของสงฆไ์ ปใชก้ บั ตนเองเพอ่ื แสดงออกถงึ ความเช่อื มนั่ ว่าชนชาติ
อิสราเอลทัง้ หมดคือ “อาณาจกั รของบรรดานักบวช” (อพย. 19:6) และพยายามนาส่ิงน้ีไปใช้เป็ นแนวปฏิบัติ
มาตรฐานในการสรา้ งศาสนายดู ายขน้ึ มาใหม่ หลงั จากเหตุการณ์ทาลายพระวหิ ารในสากลศกั ราชท่ี 70

ดงั นัน้ การปฏิบตั ิท่ีเรากาลงั ตงั้ ข้อสงสยั อยู่น้ีจงึ ไม่ใช่ส่วนหน่ึงในประมวลกฎหมายเร่อื งความบ รสิ ุทธิ ์
ปราศจากมลทนิ ในพระคมั ภรี ์ (อย่างวนั สบั บาโตหรอื การปรุงอาหารแบบโคเชอร)์ และไม่ใช่แนวปฏบิ ตั ทิ วั ่ ไปในศาสนายดู าย
แตเ่ ป็นธรรมเนยี มของชาวฟารสิ โี ดยเฉพาะ แต่ในมมุ มองของชาวฟารสิ ี “ขนบธรรมเนียมของผอู้ าวุโส” น้ีเป็นสงิ่ ท่ี
มมี าแต่โบราณ นบั ตงั้ แตก่ ารเผยแสดงของพระเป็นเจา้ บนภูเขาไซนาย และสอดคลอ้ งกบั ประมวลกฎหมายทเ่ี ป็น
ลายลกั ษณ์อกั ษรซ่งึ พระเป็นเจา้ ประทานให้ ณ ท่นี ัน้ จงึ เป็นขอ้ บงั คบั ทม่ี อี านาจ (Abot 1:1) แต่ใช่ว่าชาวยวิ ทุก
คนในสมยั พระเยซูเจา้ จะเหน็ ดว้ ยกบั มมุ มองเกย่ี วกบั ธรรมเนยี มทส่ี บื ทอดมาแบบปากตอ่ ปากน้ี แมแ้ ตใ่ นสมยั ของ

368

นกั บุญมทั ธวิ มุมมองฟารสิ อี าจจะไมไ่ ดม้ อี ทิ ธพิ ลสงู สดุ แตก่ เ็ ป็นแนวคดิ ทแ่ี ขง่ ขนั กบั กลุ่มอ่นื ๆ ในเรอ่ื งการระบอุ ตั
ลกั ษณ์ว่าความเป็นอสิ ราเอลท่แี ท้จรงิ คอื อะไร หลงั จากการล่มสลายของสงครามปี 66-70 และการทาลายพระ
วหิ าร ถงึ ครสิ ตจกั รของนกั บุญมทั ธวิ จะแยกออกมาจากศาลาธรรมและผนู้ าในศาลาธรรม แต่พวกเขายงั คงมสี ว่ น
รว่ มในการต่อสภู้ ายในวงการศาสนายูดาย ดงั นนั้ ประเดน็ ทม่ี กี ารนามาแสดงออกในงานเขยี นของนกั บุญมทั ธวิ จงึ
ไม่ใช่เร่อื ง “ศาสนายูดาย VS. ศาสนาครสิ ต์” หรอื “ธรรมประเพณี VS. พระคมั ภีร์” แต่เป็นส่วนหน่ึงของการ
ถกเถียงภายในวงการศาสนายูดายในสถานการณ์ท่ีเฉพาะเจาะจง คาว่า “ธรรมเนียมของท่าน” (15:3) จึงมี
ความหมายทเ่ี ฉพาะเจาะจงมาก คอื เป็นการทพ่ี ระเยซูเจา้ ตอบโตต้ ่อคากล่าวหาของชาวฟารสิ โี ดยเจาะจงถงึ ธรรม
เนยี มของชาวฟารสิ โี ดยตรง

ประเดน็ น้ีคงมอี ย่ใู นบรบิ ททางสงั คมของสมยั ของนักบุญมทั ธวิ ความพยายามของผสู้ บื ทอดชาวฟารสิ ที ่ี
จะยดั เยยี ดความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ธรรมเนียมของตนใหก้ บั ชุมชนชาวยวิ และชาวครสิ ต์ยงั คงอย่ใู นอทิ ธพิ ลของพวก
เขา และดว้ ยเหตุผลบางอย่างทเ่ี ลก็ น้อยและเราไมอ่ าจเขา้ ใจได้ (ดู บทนา) ครสิ ตจกั รของนักบุญมทั ธวิ ไดร้ วมอยู่
ในนนั้ ดว้ ย พวกเขายงั คงไดร้ บั ผลกระทบจากการโตเ้ ถยี งเหลา่ น้ี พระเยซูเจา้ ทต่ี รสั กบั ชาวฟารสิ ใี นเรอ่ื งราวตอนน้ี
คอื ตรสั กบั ผอู้ ่านพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ดว้ ยเชน่ กนั เกย่ี วกบั เร่อื งความสาคญั อยา่ งยง่ิ ในการเขา้ ใจวา่ ความเป็น
ผบู้ รสิ ทุ ธศิ ์ กั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องพระเป็นเจา้ นนั้ หมายความวา่ อยา่ งไร

15:3-6 สง่ิ ทเ่ี ป็นรากฐานใหก้ บั คาตอบของนกั บุญมทั ธวิ ยงั ไมช่ ดั เจนนกั มธี รรมประเพณีศาสนาครสิ ตส์ อง
สายอยู่ในในชุมชนของนักบุญมทั ธิว อันแรกคือ ธรรมประเพณีเอกสารแหล่ง Q ท่ีมีมาแต่โบราณ (และ M
บางสว่ น) ซง่ึ เป็นตวั แทนของศาสนาครสิ ต์ทย่ี งั เคารพต่อหนงั สอื ปัญจบรรพ อกี ธรรมประเพณีหน่ึงคอื พระวรสาร
นักบุญมาระโกท่ีเป็นตัวแทนศาสนาครสิ ต์ของชนต่างศาสนาซ่ึงไม่ข้นึ กบั ธรรมบญั ญัติใดๆ (ดู บทนา) ในทาง
ประวตั ศิ าสตรแ์ ลว้ เราไมอ่ าจรไู้ ดอ้ ย่างชดั เจนว่าธรรมประเพณีทงั้ สองน้ีไดร้ บั การผสานเขา้ มาในชุมชนครสิ ตจกั ร
ของนกั บุญมทั ธวิ อย่างไร แต่ไม่วา่ จะในกรณีใดกต็ าม มมุ มองของนกั บุญมทั ธวิ จะตอ้ งก่อตวั ขน้ึ จากพระวรสารทงั้
เลม่ ไมใ่ ชแ่ คเ่ น้อื หาเฉพาะสว่ นน้ี

คาถามดงั กล่าว ซง่ึ เม่อื ดูเพยี งผวิ เผนิ อาจดเู หมอื นถูกตอ้ งตามกฎหมาย ยงั คงไม่ไดร้ บั คาตอบจนกระทงั่
ว. 20ข และไม่ใช่การตอบชาวฟารสิ ผี ถู้ าม แต่เป็นการตอบบรรดาศษิ ย์เป็นการสว่ นตวั น่ีคอื อกี สง่ิ หน่ึงทช่ี ใ้ี หเ้ รา
เหน็ ว่างานเขยี นทเ่ี รากาลงั กล่าวถงึ อย่นู ้ีไม่ใช่รายงานชวี ติ ของพระเยซูเจา้ แบบคาต่อคา แต่เป็นการตคี วามของ
ชาวครสิ ต์เกย่ี วกบั ประเดน็ ปัญหาในครสิ ตจกั ร แทนทจ่ี ะตอบคาถามนัน้ พระเยซูเจา้ ทรงตอบโต้กลบั เพราะใน
ระดบั ของเร่อื งราวน้ี ฟารสี ไี ม่ได้ตงั้ ใจจะถามคาถามจรงิ ๆ พวกเขาตดั สนิ ใจจะฆ่าพระเยซูเจา้ อยู่แลว้ (12:14) นัก
บญุ มทั ธวิ ทาใหก้ ารแลกเปลย่ี นถอ้ ยคาในพระวรสารนกั บุญมาระโกกระชบั ขน้ึ ทาใหข้ อ้ ความทค่ี ขู่ นานและขดั แยง้
กนั โดดเด่นขน้ึ และวเิ คราะห์ตคี วามใหม่1กบั ธรรมบญั ญัตแิ บบมใิ ช่ยดึ ถอื ขนบธรรมเนียมอย่างไม่มีเหตุผลเพ่อื
ประโยชน์ของธรรมบญั ญัตแิ ต่ยดึ ตามความเป็นจรงิ ของชวี ติ มนุษย์และพระประสงค์ของพระเป็นเจ้าในธรรม
บญั ญตั แิ ละเป็นการวเิ คราะหต์ คี วามแบบตรงๆ เป็นการคดั คา้ นต่อการตคี วามแบบเดมิ (เหมอื นโตเ้ ถยี งรุนแรงใน

1 ขอ้ ความตามบนั ทกึ บอกเล่าตอนน้ี มลี กั ษณะเป็นการตคี วามใหม่ (Reinterpretation) ทน่ี กั บุญมทั ธวิ แสดงออกมาในนามของพระเยซูเจา้ หรอื ทท่ี า่ น
ใหค้ วามหมายในการวเิ คราะหต์ คี วามอธบิ ายหรอื ทาความเขา้ ใจขอ้ คาสอนแหง่ ธรรมบญั ญตั ใิ นบรบิ ทใหมท่ ค่ี รสิ ตจกั รของท่านประสบอยแู่ ละซ่อื สตั ย์
พระประสงคท์ พ่ี ระอาจารยเ์ จา้ ทรงสอนและบรรดาศษิ ยเ์ ขา้ ใจไดอ้ ยา่ งเหน็ คุณคา่ มากกวา่ การยดึ ถอื ปฏบิ ตั ติ ามตวั อกั ษรหรอื คาอธบิ ายของชาวฟารสิ ใี น
สมยั ของทา่ น

369

ระดบั สาปแช่งกนั ) เน่ืองจากชาวฟารสิ เี น้นเอาธรรมเนียมของตนมาต่อต้านกบั พระบญั ญตั ขิ องพระเจา้ นาสง่ิ ท่ี
พวกเขาพดู เองมาต่อตา้ นกบั สง่ิ ท่ี “พระเป็นเจา้ ตรสั ” (พระวรสารนกั บุญมาระโก: “โมเสสกล่าวว่า”) ใน ว. 6 นักบุญมทั ธวิ ทา
ใหช้ าวฟารสิ ปี ระกาศบญั ญตั ขิ องตนทต่ี รงขา้ มกบั พระบญั ญตั ขิ องพระเป็นเจา้

ว. 4-6 แสดงภาพของชาวฟารสิ ที ก่ี าลงั ตีความหนังสอื ปัญจบรรพ (Torah) ในลกั ษณะทเ่ี ขา้ ขา้ งสมาชกิ
บางคนของตนทม่ี พี ่อแม่แก่ชราและพวกเขาไม่ตอ้ งการจะเลย้ี งดู พวกเขาสามารถประกาศยกทรพั ยส์ นิ (บางส่วน)
ของตนให้กบั พระวหิ ารได้ ดงั นัน้ พวกเขาจงึ ไม่จาเป็นต้องหาเล้ยี งพ่อแม่ของตนในยามจาเป็น สง่ิ น้ีส่อื ให้เห็น
โดยนยั ถงึ กฎหมายบดิ เบอื นทพ่ี วกเขาตงั้ ขน้ึ มาเพอ่ื หลกี เลย่ี งการปฏบิ ตั ติ ามบทบญั ญตั ทิ ศ่ี กั ดสิ ์ ทิ ธทิ ์ ส่ี ดุ ในบญั ญตั ิ
สบิ ประการ ไม่มเี อกสารอ่นื ใดท่รี ะบุถงึ แนวปฎบิ ตั นิ ้ี นอกพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ ในทางประวตั ศิ าสตร์
ยงั คงไม่ชดั เจนวา่ ในศตวรรษทห่ี น่งึ สมบตั ทิ อ่ี ุทศิ ใหก้ บั พระวหิ ารดว้ ยการใหค้ าสาบานจะสามารถนากลบั มาใชโ้ ดย
ผูใ้ ห้คาสาบานนัน้ ได้หรอื ไม่ หนังสอื มชิ นาห์ (การตคี วามคาสอนแบบปากต่อปากของรบั บอี ย่างเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร ซ่ึงเขยี นข้นึ
ภายหลงั ) ไดใ้ หห้ นทางทจ่ี ะปลดปล่อยบคุ คลจากคาสาบานของตนไดใ้ นกรณจี าเป็น แตไ่ ม่มหี ลกั ฐานวา่ กฎเหล่านนั้
มกี ารใชใ้ นศตวรรษท่หี น่ึงหรอื ไม่ ดงั นัน้ สง่ิ ท่เี ราเหน็ ในท่นี ้ี คอื คาโต้แย้งชาวครสิ ต์ ซ่ึงเป็นมุมมองของคนนอก
ธรรมประเพณีของชาวยวิ ในสถานการณ์ทเ่ี ป็นเช่นน้ี แต่ละฝ่ายจะมองหาขอ้ มลู ในธรรมประเพณีและแนวปฏบิ ตั ิ
ของฝ่ ายตรงขา้ มท่สี ามารถตคี วามได้ว่ามลี กั ษณะต่อต้านอกี ฝ่ายหน่ึง ตวั อย่างเช่น ชาวยวิ จะมองหางานเขยี น
ของชาวครสิ ต์ และอาจกล่าวหาว่าชาวครสิ ต์ละเมดิ บทบญั ญตั ขิ อ้ น้ีในบญั ญตั สิ บิ ประการ เน่ืองจากมคี าสอนให้
สมาชกิ ละท้งิ บดิ าและมารดาของตน (10:34-37) สมาชกิ ของทงั้ สองฝ่ ายจะเขา้ ใจธรรมประเพณีของตนในแบบท่ี
แตกต่างไปจากมุมมองของคนนอกทเ่ี หน็ ขดั แยง้

15:7-9 เป็นอกี ครงั้ หน่ึงท่นี ักบุญมทั ธวิ สรุปจบส่วนย่อยดว้ ยการยกขอ้ ความจากประกาศกอสิ ยาห์ ดว้ ย
การใชข้ อ้ ความทส่ี ่อื ความหมายดา้ นลบเก่ยี วกบั ฝ่ ายตรงขา้ มของท่าน (ดู เทยี บ 13:14-15) นักบุญมทั ธวิ เขา้ ใจว่าคา
กล่าวหาของประกาศอสิ ยาห์ (อสย. 29:13) ท่มี ตี ่อการเคารพบูชาท่ผี ดิ (False Worship) ในสมยั ของท่าน (อิสยาห์:
ศตวรรษท่ี 8 ก่อนครสิ ตศกั ราช) คือ “คาพยากรณ์” เก่ียวกบั ศตั รูผู้ต่อต้าน (ดู บทเสรมิ เร่อื ง “มทั ธิวในฐานะผู้ตีความพระคมั ภีร์)
ประเดน็ น้ียดึ ตามพระคมั ภรี ฉ์ บบั เจบ็ สบิ (LXX) ซง่ึ แตกต่างจากฉบบั ดงั้ เดมิ ทเ่ี ป็น มาโซเรตกิ 2 (Masoretic Text)
ขอ้ ความทย่ี กมา (มอี ยใู่ นพระวรสารนกั บญุ มาระโก และมาจากธรรมประเพณีทเ่ี ก่าแกก่ วา่ พระวรสารนนั้ ) ดจู ะทาใหข้ อบเขตการโตแ้ ยง้

2 ตน้ ฉบบั ของหนงั สอื ทงั้ 39 เลม่ ในพระคมั ภรี ์ เดมิ นนั้ คลา้ ยกบั พระคมั ภรี ใ์ หมค่ อื ไมม่ หี ลงเหลอื อยเู่ ลยแมแ้ ต่เลม่ เดยี ว ตน้ ฉบบั เหลา่ น้ลี ว้ นสญู หายไป
นานแลว้ แต่สง่ิ ทย่ี งั เหลอื อยคู่ อื สาเนาตน้ ฉบบั ทพ่ี วกอาลกั ษณ์ในสมยั ต่างๆ คดั ลอกไวด้ ว้ ยความยากลาบากตลอดระยะเวลาหลายพนั ปีทผ่ี ่านมา
แมแ้ ต่สาเนาเหลา่ น้กี ส็ ญู หายไปเป็นจานวนมากเช่นเดยี วกนั สาเนาตน้ ฉบบั ของพระคมั ภรี เ์ ดมิ กเ็ หมอื นพระคมั ภรี ใ์ หม่ คอื ยง่ิ เกา่ แก่ยงิ่ ดี สาเนาเก่าแก่
นนั้ เราเรยี กวา่ สาเนาโบราณ

สาเนาโบราณของตน้ ฉบบั พระคมั ภรี ภ์ าษาฮบี รทู ค่ี รบถว้ นหรอื เกอื บครบถว้ นท่ี สาคญั ๆ มเี พยี งสองสามฉบบั คอื ฉบบั ไคโร (codex
Cairensis) ซง่ึ มเี พยี งสว่ นทเ่ี ป็นหนงั สอื โยชวู า-พงศ์ กษตั รยิ แ์ ละอสิ ยาห-์ มาลาคี ยกเวน้ ดาเนียล สาเนาฉบบั น้ีคดั ลอกราวปี ค.ศ.895 อกี ฉบบั หน่งึ
คอื ฉบบั อาแลพ็ โพ (Alleppo codex) คดั ลอกราวปี ค.ศ.930 หนงั สอื บาง เลม่ สญู หายไป และฉบบั สดุ ทา้ ยคอื ฉบบั เลนินกราด (codex
Leningradensis) คดั ลอกราวปี ค.ศ.1008 เป็น ฉบบั ทม่ี จี านวนหนงั สอื ครบถว้ นทเ่ี กา่ แกท่ ส่ี ดุ (พระคมั ภรี ์ เดมิ ฉบบั ฮบี รขู องสหสมาคมฯ(UBS) นนั้ ใช้
สาเนาโบราณฉบบั น้เี ป็น พน้ื ฐานในการจดั ทา)

สาเนาโบราณทงั้ สามฉบบั มรี ปู แบบการคดั ลอกทเ่ี รยี กวา่ เมสโสรา (Masora) ซง่ึ เรยี กตามชอ่ื ของกลมุ่ อาลกั ษณ์ทเ่ี รยี กวา่ เมสโสเรท
(Masoretes) พวกเขามวี ธิ กี ารเขยี นอกั ษรฮบี รทู แ่ี ตกตา่ งจากการเขยี น ทวั่ ๆไป การเขยี นอกั ษรฮบี รโู ดยทวั่ ไปจะมแี ต่ตวั พยญั ชนะ ไม่มตี วั สระ(เหมอื น
ภาษาฮบี รปู ัจจบุ นั ) ผอู้ า่ นตอ้ งรเู้ องว่าจะอ่านเป็นคาทม่ี เี สยี งสระอะไร แต่พวกเมสโสเรทไดป้ ระดษิ ฐเ์ ครอ่ื งหมายทแ่ี ทนเสยี งสระขน้ึ มากากบั ใหก้ บั คา
ตา่ งๆ เพอ่ื ชว่ ยใหอ้ า่ นงา่ ย สาเนาตน้ ฉบบั กลมุ่ น้ีเรยี กวา่ สาเนาแบบเมสโซเรตกิ (Masoretic text)

จาก http://www.thaibible.or.th/home/article/translation/212-9-15-niv

370

น้ีกวา้ งขน้ึ สงิ่ ทเ่ี คยเป็นความขดั แยง้ กบั ชาวฟารสิ ีทถ่ี ูกนามาใชก้ ล่าวหา “คนยุคน้ี” โดยรวม ซง่ึ เป็นอกี ครงั้ หน่ึงท่ี
มนั ไม่ไดส้ ะทอ้ นถงึ สงิ่ ทเ่ี ฉพาะเจาะจงในบรบิ ทน้ี แต่เป็นการคาดเดาถงึ เหตุการณ์พระมหาทรมานของพระเยซู
เจา้ ซง่ึ ในทส่ี ดุ ฝงู ชนไดเ้ ขา้ รว่ มกบั ผนู้ าชาวยวิ และปฏเิ สธพระเยซูเจา้

15:10-11 คอื ฉากเหตุการณ์ทส่ี อง “ฝงู ชน” พระเยซูเจา้ ยงั คงไม่ย่อทอ้ ต่อผู้คนในวงกวา้ ง พวกเขายงั ไม่
ถูกพพิ ากษาลงโทษ แม้ว่าจะมขี อ้ ความท่คี าดเดาล่วงหน้าถึงสงิ่ น้ีอยู่ใน 13:10-17 พวกเขายงั มที างเลอื กท่จี ะ
เขา้ ใจและตอบสนองต่อสารของพระเยซูเจ้า แนวคดิ หลกั ในช่วงน้ีเปล่ยี นจากเร่อื งสงิ่ ท่ที าให้คนมมี ลทนิ (ทาให้
สกปรกในทางศาสนาและทาใหผ้ หู้ น่ึงตอ้ งแยกตัวจากชุมชนผศู้ กั ดสิ์ ทิ ธแิ์ ละแยกจากความศกั ดสิ์ ทิ ธขิ์ องพระเป็นเจา้ ) โดยสนั นิษฐานแลว้ น่ีคอื
ประเดน็ ทอ่ี ย่ใู นคาถามเรอ่ื งการลา้ งมอื ขอ้ ความตรงน้ี ตรงขา้ มกบั มก. 7:19ค ซง่ึ ถูกละเวน้ ไม่กล่าวถงึ พระวรสาร
นกั บุญมทั ธวิ คาประกาศโดยรวมของพระเยซูเจา้ ทก่ี ล่าวว่ามนุษยไ์ ม่ได้มมี ลทนิ เพราะสงิ่ ทต่ี นกนิ เขา้ ไปทางปาก
แต่เพราะสง่ิ ท่ีออกมาจากปากของเขา ไม่ได้เป็นการประกาศแบบครอบคลุมท่ีล้มเลิก บทบญั ญัติทงั้ หมดใน
หนงั สอื ปัญจบรรพเกย่ี วกบั เรอ่ื งความมมี ลทนิ ในทางศาสนา เช่น บทบญั ญตั เิ กย่ี วกบั อาหาร แต่เป็นรปู แบบการ
ประกาศท่ยี ดึ รูปแบบของพระคมั ภรี ์และศาสนายูดายอย่างถูกต้อง โดยกล่าวถงึ ความสาคญั ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การ
อุทศิ ตนยดึ มนั่ ในบทบญั ญตั ดิ ว้ ยแก่น(หวั )จติ ใจ (Inner Commitment of the Heart) เพราะพฤตกิ รรมชวี ติ จะแสดง
ออกมาในคาพูดและการกระทาของแต่ละบุคคล โดยนามาเทยี บกบั บทบญั ญตั ทิ างพธิ กี รรมทย่ี งั คงไม่ถูกลม้ เลิก
ไป น่ีคอื ความเขา้ ใจของนักบุญมทั ธวิ เก่ยี วกบั ฮซย 6:6 ซ่งึ ท่านยกขน้ึ มาอา้ งองิ ถงึ สองครงั้ (9:13; 12:7) ว่าความ
เมตตากรุณาสาคญั กวา่ พธิ ถี วายบชู า โดยไมไ่ ดม้ กี ารลม้ เลกิ พธิ ถี วายบชู า ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั ความหมายดงั้ เดมิ ของ
หนงั สอื ประกาศกโฮเซยา

15:12-20 คอื ฉากเหตุการณ์ทส่ี าม “บรรดาศษิ ย์” ตอนน้ีเหตุการณ์เปลย่ี นอกี ครงั้ มเี พยี งแต่บรรดาศษิ ย์
เท่านนั้ ทเ่ี ป็นผฟู้ ัง นกั บุญมทั ธวิ นา ว. 12-14 ใสเ่ ขา้ เตมิ ไปในเรอ่ื งราวของพระวรสารนกั บุญมาระโก ซง่ึ ส่วนใหญ่
แล้วเป็นส่วนท่ีท่านประพนั ธ์ขน้ึ (โดยมจี ุดเช่อื มโยงกบั เอกสารแหล่ง Q ดู เทยี บ ลก 6:39) คาว่า “skandali”zw” (skandalizo) ใน
ทน่ี ้ีหมายถงึ “รสู้ กึ ขนุ่ เคอื งหรอื โกรธ” แทนทจ่ี ะเป็นความหมายทพ่ี บทวั่ ไปในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ คอื “ทาให้
สะดุดหรอื ทาบาป” แต่ถงึ กระนนั้ เราไม่อาจละเวน้ ความหมายทวั่ ไปทเ่ี ป็นน้าเสยี งโดยรวมของขอ้ ความน้ีได้ การ
เผชิญหน้ากบั พระเยซูเจ้าด้วยความน่าไหว้หลงั หลอกย่งิ ทาให้ผู้คนท่ีใจแขง็ กระด้างและตัดสนิ ใจจะต่อต้าน
พระองคจ์ มลกึ ลงในบาปยง่ิ กว่าเดมิ ในทน่ี ้ีชาวฟารสิ ถี ูกนาเสนอว่าเป็นพชื ทม่ี ารรา้ ยปลูก ไม่ใช่พระเจา้ ทรงปลูก
หากจะใชถ้ อ้ ยคาทส่ี ะทอ้ นถงึ 13:25, 39 และพระองคไ์ ดใ้ หค้ าสงั่ เดมิ เชน่ เดยี วกบั ขอ้ ความสว่ นนนั้ คอื “อยา่ ไปยงุ่
กบั พวกเขาเลย” (a[fete aphete 13:30/15:14) ปล่อยใหเ้ ป็นเร่อื งการตดั สนิ พพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ยของพระเจา้ (แต่ดู 17:24-
27 และขอ้ คดิ ไตรต่ รอง 14:28:32) คาถามทไ่ี ม่ตอ้ งการคาตอบทพ่ี ระเยซูเจา้ กล่าวไวใ้ นเอกสารแหล่ง Q “คนตาบอดจะนา
ทางคนตาบอดไดห้ รอื ” (ดู ลก 6:39) ถูกนามาเขยี นใหม่โดยนกั บุญมทั ธวิ ใหเ้ ป็นการประกาศเกย่ี วกบั ชาวฟารสิ ี ซง่ึ
เป็นอกี สว่ นหน่ึงทส่ี ะทอ้ นถงึ ความขดั แยง้ ระหว่างครสิ ตจกั รของนกั บุญมทั ธวิ และความเป็นผนู้ าของฟารสิ ใี นช่วง
ปี 70-90 มนั เป็นการตคี วามทางโครงสรา้ งเชงิ เทววทิ ยาเกย่ี วกบั ความขดั แยง้ น้ีจากมมุ มองของผถู้ กู ขม่ เหง ไมใ่ ช่
ขอ้ มลู ทบ่ี รรยายประวตั ศิ าสตร์ (ดู ขอ้ คดิ ไตร่ตรอง) เน่ืองจากคาพดู น้ีพระองคต์ รสั กบั บรรดาศษิ ยเ์ ทา่ นนั้ ขอ้ ความน้ีจงึ
ทาหน้าทเ่ี ป็นคาเตอื นสาหรบั คนในครสิ ตจกั รเก่ยี วกบั การเน้นใหค้ วามสาคญั กบั ความถูกต้องทางพธิ กี รรมมาก
เกนิ ไป มากกวา่ ทจ่ี ะเป็นคาโตเ้ ถยี งกบั คนนอกครสิ ตจกั ร

371

15:15-18 คาถามของเปโตรรวมเป็นส่วนเดยี วกบั ว. 11 ไม่ใช่สว่ นทแ่ี ทรกเขา้ มาก่อนหน้านนั้ คอื ว. 12-
14 คาประกาศของพระเยซูเจา้ ใน ว. 11 มกี ารตคี วามว่าเป็นอุปมา (Parabole) หรอื คตเิ ตอื นใจทเ่ี รายงั ไม่เขา้ ใจ
ความหมายชดั เจนนกั นกั บุญมทั ธวิ เปลย่ี นมุมมองจากในพระวรสารนกั บุญมาระโกทบ่ี รรดาศษิ ยเ์ ขา้ ใจผดิ ในเรอ่ื ง
น้ี การเปล่ยี นคาว่า “ดงั นัน้ ” (so/thus - houtus) ให้กลายเป็นคาท่หี ายากคอื “ถงึ กระนัน้ ” “แต่” (still/yet - akmen)
ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ว่าความเขา้ ใจผดิ ของบรรดาศษิ ยเ์ ป็นเร่อื งเพยี งชวั่ ครงั้ ชวั่ คราว (ดู 6:11-12) การทน่ี กั บุญมทั ธวิ (ซง่ึ
แตกต่างจากนักบุญมาระโก ผูเ้ ป็นชาวครสิ ต์ท่มี าจากชนต่างศาสนา) ไม่ไดต้ คี วามว่าพระเยซูเจา้ ทรงล้มเลกิ บทบญั ญตั เิ กย่ี วกบั
อาหารทงั้ หมดในหนงั สอื ปัญจบรรพ แต่ปฏเิ สธธรรมเนยี มแบบปากต่อปากของชาวฟารสิ ี เหน็ ไดจ้ ากการทเ่ี ขาละ
เวน้ มก 7:19ค (“ดงั นนั้ พระองคจ์ งึ ประกาศวา่ อาหารทกุ อยา่ งนนั้ เป็นสงิ่ สะอาด”)

15: 19-20ก สิ่งท่ีเป็ นมลทินคือสิ่งท่ีออกมาจากใจและผ่านออกมาทางปาก ในท่ีน้ีนักบุญมัทธิวรับ
“รายการความชวั่ ร้าย” (Vice Catalogue) มาจากพระวรสารนักบุญมาระโก ซ่ึงจดั อยู่ในหมวดคาสงั่ สอนทาง
ศลี ธรรมของชาวครสิ ต์สมยั แรกเรม่ิ ท่รี บั มาจากศาสนายูดายสมยั เฮเลนนิสตกิ โดยมตี วั อย่างมากมายจากพระ
คมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ (เช่น รม 1:29-31; 1 คร 6:9-10; 2 คร 12:20; กท. 5:19-20; อฟ. 5:3-5; คส. 3:5; 1 ทธ. 1:9-10; 2 ทธ. 2:3-5;
ตท. 3:3; 1ปต. 4:3; วว. 9: 20-21; 21:8) นักบุญมทั ธวิ เน้นเร่อื งบาปทอ่ี อกมาจากปากหรอื คาพดู เป็นพเิ ศษ เช่น บาปดา้ น
ภาษาท่ีทรยศต่อทิศทาง(สงิ่ )ท่ีถูกต้องแห่งจติ ใจ (ดู 12:34-37) และบาปท่ีอยู่ในแผ่นจารกึ ท่ีสองของบัญญัติสิบ
ประการ โดยนามนั มาจดั เรยี งใหม่ตามลาดบั ใน อพย. 20 และเตมิ “การเป็นพยานเทจ็ ” ลงไปในรายการทอ่ี ย่ใู น
พระวรสารนกั บญุ มาระโก ซง่ึ รายการนนั้ ลดจานวนลงจากสบิ สามขอ้ เหลอื สบิ ขอ้

15:20ข เป็นคากล่าวตดั สนิ เพอ่ื สรุปจบ ฟังดคู ลา้ ยกบั การตดั สนิ ดา้ นกฎหมายของรบั บเี กย่ี วกบั กฎขอ้ ใด
ขอ้ หน่ึงในกฎหมายของชาวยวิ (Halakha3) และเป็นการยอ้ นกลบั ไปท่ี 15:2 ซ่งึ ไม่เพยี งแต่เป็นการจบหน่วยน้ี
อย่างกลมกลนื ดว้ ยวงเลบ็ ทางวรรณกรรม แต่ยงั นาสงิ่ ทอ่ี ภปิ รายทงั้ หมดมาเช่อื มโยงกบั ธรรมเนียมแบบปากต่อ
ปากของชาวฟารสิ ี โดยไม่กระทบกระเทอื นต่อคาสงั่ ทอ่ี ยใู่ นหนงั สอื ปัญจบรรพซง่ึ อา้ งองิ ตามพระคมั ภรี ์

ข้อคิดไตร่ตรอง
ส่ิงท่ีเราได้ยินในเน้ือหาส่วนน้ีคือด้านเดียวของความขัดแย้งระหว่างคริสตจักรกับ ศาลาธรรมใน

สถานการณ์หน่ึงในช่วงทา้ ยศตวรรษทห่ี น่ึงของสากลศกั ราช หากเรายอมรบั ความจรงิ น้ีและตคี วามตามบรบิ ท
ทางประวตั ศิ าสตร์ เราจะเรยี นรสู้ งิ่ ใดจากความหมายของคาวา่ ความเชอ่ื ?

1. การเทศนาและการสอนจากเน้ือหาสว่ นน้คี วรหลกี เลย่ี งการมองแบบงา่ ยๆ วา่ เป็นภาพลอ้ เลยี นชาวฟารสิ ี
จรงิ ๆ ในประวตั ศิ าสตร์ หรอื มองผทู้ ต่ี ่อตา้ นแนวคดิ ศาสนาของเราวา่ เป็นแบบชาวฟารสิ ใี นเรอ่ื งราวน้ี (“เราคอื ผทู้ เ่ี ช่อื
ฟังพระวาจาของพระเป็นเจา้ แตพ่ วกเขาถูกขนบธรรมเนยี มของมนุษยท์ าใหห้ ลงผดิ ”) ชุมชนความเช่อื ทุกแห่ง รวมถงึ ชุมชนชาวครสิ ต์
ในพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ ย่อมต้องการขนบธรรมเนียมเป็นพาหนะในการส่อื และตคี วามพระวาจาของ
พระเป็นเจา้ (ดู 1 คร 11:2; 2 ธส 2:15; 3:6) ไม่มใี ครสามารถหรอื เคยมี “พระวาจาของพระเป็นเจา้ ” โดยปราศจากการ
ปนเป้ื อนด้วยความคิดหรือขนบธรรมเนียมของมนุษย์ ความหมายหน่ึงของการมาบังเกิดเป็ นมนุษย์

3 Halakha (n) เป็นสว่ นหน่งึ ของหนงั สอื Midrash ซง่ึ เป็นหนงั สอื อธบิ ายหนงั สอื เบญจบรรณ(คมั ภรี ห์ า้ เล่มแรกของชาวยวิ ) ซง่ึ ประกอบดว้ ยสองสว่ น
คอื Halakhah ซง่ึ เป็นหนงั สอื อธบิ ายหนงั สอื เบญจบรรณทเ่ี กย่ี วกบั ธรรมบญั ญตั ิ และ Aggadah ซง่ึ เป็นหนงั สอื อธบิ ายหนงั สอื เบญจบรรณในสว่ นทไ่ี ม่
เกย่ี วกบั ธรรมบญั ญตั ,ิ จาก https://dict.longdo.com/search/Halakhah

372

(Incarnation) คอื พระเป็นเจา้ ทรงยนื ยนั ว่าความเช่อื มโยงสมั พนั ธ์และความกระจดั กระจายของความคดิ มนุษย์
คอื พาหนะสาหรบั พระวาจาของพระองค์ สมบตั นิ นั้ อย่ใู นหมอ้ ดนิ เผา ทงั้ สองอย่างเป็นของจรงิ สมบตั เิ ป็นของจรงิ
ดนิ เผากข็ องจรงิ (ดู 2 คร 4:7)

2. ในขณะเดยี วกนั ความคดิ ความเขา้ ใจทเ่ี ราไดจ้ ากครสิ ตศาสตรเ์ กย่ี วกบั พระคมั ภรี ไ์ ม่ควรทาใหเ้ รามองทุก
สง่ิ วา่ เป็น “เพยี ง” ขนบธรรมเนียมของมนุษย์ เพราะพระเยซูเจา้ และครสิ ตจกั รยุคแรกเรมิ่ ของพระองคต์ ่างไดย้ นิ
พระวาจาของพระเป็นเจา้ ในแบบทส่ี ดใหม่และชดั เจนผา่ นทางขนบธรรมเนยี มของมนุษย์ ครสิ ตจกั รของคนทกุ ยุค
สมยั จาเป็นต้องรบั ฟังพระวาจาอย่างต่อเน่ือง ไม่ใช่ว่าฟังเพ่อื แทนทข่ี นบธรรมเนียม แต่ในฐานะทเ่ี ป็นพระวาจา
ของพระเจา้ ทเ่ี ขา้ มาและผา่ นออกไปจากขนบธรรมเนียมนนั้ แต่อยสู่ งู เหนือขนบธรรมเนยี มนนั้

3. ในระดบั ของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ เน้ือหาสว่ นน้ีเป็นคาพยานถงึ มุมมองของการตคี วามทแ่ี ตกต่างกนั
ดเู ป็นความขดั แยง้ ระหวา่ งสองอาณาจกั ร นกั บญุ มทั ธวิ มองวา่ การทเ่ี รามโี อกาสเลอื กสารทม่ี าจากพระเยซูเจา้ และ
เกย่ี วกบั พระองค์ สามารถแสดงออกมาในธรรมประเพณีของชาวฟารสิ ไี ดว้ า่ เป็นการเลอื กระหวา่ งอาณาจกั รของ
พระเป็นเจา้ กบั อาณาจกั รชวั่ รา้ ยของซาตาน มที างเลอื กเพยี งแคส่ องทางเทา่ นนั้ (มธ 12:30) โดยชาวฟารสิ ใี นเร่อื งน้ี
คอื ตวั แทนของอาณาจกั รของซาตานซ่งึ อย่ฝู ่ายตรงขา้ ม มุมมองน้ีสามารถเป็นโครงสรา้ งทางเทววทิ ยาทย่ี อมรบั
ได้ ทา่ มกลางธรรมประเพณีและการตคี วามแบบต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะแบบของเราเอง ผเู้ ป็นศษิ ยข์ องพระ
ครสิ ต์ทถ่ี ูกเรยี กมาใหฟ้ ังพระวาจาของพระเป็นเจา้ แต่เราต้องระวงั อย่านาโครงสรา้ งทางเทววทิ ยาของเราเอง
และของนกั บุญมทั ธวิ มาสบั สนกบั ความเป็นจรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์ แลว้ ตราหน้าผทู้ ต่ี ่อต้านนกั บุญมทั ธวิ หรอื ผทู้ ่ี
ต่อตา้ นเราวา่ เป็น “พชื ทป่ี ลูกโดยมารรา้ ย” (สาหรบั การทน่ี กั บุญมทั ธวิ ทาใหท้ วลิ กั ษณ์ทต่ี รงขา้ มกนั อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั หรอื แตกต่างกนั น้ี มี

ความสมั พนั ธเ์ ช่อื มโยง ดู 17:24-27 และขอ้ คดิ ไตรต่ รอง 14:28-32)

4. เน้ือหาตอนน้ีอาจทาใหเ้ รามคี วามเขา้ ใจใหมเ่ กย่ี วกบั ความหมายของความศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์(Holiness) และการ
ใส่ใจเร่อื งความบรสิ ุทธสิ ์ ะอาด โดยไม่มองว่ามนั เป็นสงิ่ ไรส้ าระหรอื โบราณ การทเ่ี ราเขา้ ใจความใส่ใจของชุมชน
สมยั นกั บุญมทั ธวิ เกย่ี วกบั เร่อื งความบรสิ ุทธสิ ์ ะอาดทางพธิ กี รรมและการปกป้องตนเองจากการมมี ลทนิ ซง่ึ อาจ
เทยี บไดก้ บั ความกงั วลของเราเรอ่ื งการป้องกนั ตนเองจากเชอ้ื ไวรสั และรงั สที ม่ี องไมเ่ หน็ อาจชว่ ยใหเ้ ราเกดิ ความ
เขา้ ใจใหม่เกย่ี วกบั ความหมายของความศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องพระเป็นเจา้ และความศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องชุมชนทเ่ี ป็นประชากร
ของพระองค์ เม่อื พจิ ารณาในมุมมองต่างกนั เช่น มุมมองตามตวั อกั ษรหรอื กฎบญั ญัติ มุมมองภายใน(เน้นพระ
ประสงคข์ องพระเป็นเจา้ )หรอื มมุ มองเพอ่ื คุณค่าของชวี ติ

5. การใส่ใจเร่อื งความบรสิ ุทธิศ์ ักดิส์ ิทธิน์ ้ีถูกพระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมทั ธิวเปล่ียนทิศทางให้
กลายเป็นการใส่ใจเร่อื งเจตนาจากหวั ใจและคาพูดท่อี อกจากใจผ่านทางปาก เหน็ ได้ชดั ว่าสง่ิ ท่เี ราใส่ใจนัน้ ไม่
เหมอื นกบั สง่ิ ท่แี ยกชาวฟารสิ อี อกจากครสิ ตจกั รของนักบุญมทั ธวิ คอื การลา้ งมอื ตามธรรมเนียมมคี วามหมาย
เพียงเล็กน้อยสาหรบั ชาวครสิ ต์ในทางใดทางหน่ึง แต่เน้ือหาน้ีอาจมศี กั ยภาพด้านความหมายท่ีไปไกลกว่า
สถานการณ์สมยั โบราณนัน้ คอื บทอ่านน้ีไม่ได้ปฏเิ สธความใส่ใจเร่อื งภายนอก (นักบุญมทั ธวิ ไม่ปฏเิ สธ) แต่มนั อาจ
เปลย่ี นทศิ ทางใหผ้ อู้ ่านหนั ไปใส่ใจกบั อนั ตรายทเ่ี กดิ จากการมมี ลทนิ ในหวั ใจและคาพดู ดว้ ยตวั อย่างและคาสอน
ของพระเยซูเจ้า ชาวครสิ ต์ทุกยุคทุกสมยั ควรมองว่าตนเองเป็นส่วนหน่ึงของชุมชนของผู้ท่ีถูกเรยี กสู่ความ
ศกั ดสิ ์ ทิ ธิ ์ และถามตนเองว่ามอี ะไรในสมยั ของเราทล่ี ะเมดิ ความศกั ดสิ ์ ทิ ธนิ ์ ้ีและทาใหค้ าพยานของครสิ ตจกั รไม่มี
ค่า เร่อื งน้ีอาจมกี ารนาไปถกเถยี งโตแ้ ยง้ กนั เหมอื นกบั ในสถานการณ์ของนักบุญมทั ธวิ แต่คาสอนหรอื สง่ิ ทเ่ี กดิ
จากการตคี วามหมายและทาความเขา้ ใจอยา่ งถูกตอ้ งกเ็ ป็นประเดน็ ทม่ี คี ุณคา่ พอทจ่ี ะทาเชน่ นนั้ และเป็นประเดน็

373

ทอ่ี ย่ใู นเน้ือแทข้ องการเป็นประชากรของพระเป็นเจา้ ซ่งึ อาศยั อย่ใู นโลกฝ่ายเน้ือหนังทม่ี คี นหลากหลายประเภท
แต่ถงึ กระนนั้ สาระสาคญั ยงั ตอ้ งนาพามนุษยไ์ ปสอู่ าณาจกั รสวรรค์ หรอื ดารงตนหรอื มชี วี ติ เพอ่ื มงุ่ สอู่ าณาจกั รของ
พระเป็นเจา้ อยดู่ ี

มทั ธวิ 15:21-28 หญงิ ชาวซเี รยี (ชาวคานาอนั )

พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาบตุ รหญิงของหญิงชาวคานาอนั
21 พระเยซูเจา้ เสดจ็ จากทน่ี ัน่ มุ่งไปเขตเมอื งไทระและเมอื งไซดอน 22 ทนั ใดนัน้ หญิงชาวคานาอนั คนหน่ึงจากเขตแดนน้ี

รอ้ งวา่ “โอรสกษตั รยิ ด์ าวดิ เจา้ ขา้ โปรดเมตตาขา้ พเจา้ ดว้ ยเถดิ บุตรสาวของขา้ พเจา้ ถูกปีศาจสงิ ตอ้ งทรมานมาก” 23 แต่พระองค์
มไิ ดต้ รสั ตอบประการใด บรรดาศษิ ยจ์ งึ เขา้ มาทลู พระองค์ว่า “โปรดประทานตามทน่ี างทูลขอเถดิ เพราะนางรอ้ งตะโกนตามหลงั
พวกเรามา” 24 พระองคท์ รงตอบว่า “เราถูกสง่ มาเพ่อื แกะทพ่ี ลดั หลงของวงศว์ านอสิ ราเอลเท่านนั้ ” 25 แต่นางเขา้ มากราบพระองค์
ทูลวา่ “พระเจา้ ขา้ โปรดช่วยขา้ พเจา้ ดว้ ยเถดิ ” 26 พระองคท์ รงตอบว่า “ไม่สมควรทจ่ี ะเอาอาหารของลูก มาโยนใหล้ ูกสุนัขกนิ ” 27
นางทลู วา่ “ถูกแลว้ พระเจา้ ขา้ แต่แมแ้ ต่ลูกสุนขั กย็ งั ไดก้ นิ เศษอาหารทต่ี กจากโต๊ะของนาย” 28 พระเยซูเจา้ จงึ ตรสั กบั นางวา่ “หญงิ
เอ๋ย ความเชอ่ื ของเจา้ ยง่ิ ใหญ่ จงเป็นไปตามทเ่ี จา้ ปรารถนาเถดิ ” และบตุ รหญงิ ของนางกห็ ายเป็นปรกตติ งั้ แต่บดั นนั้

ข้อศึกษาวิพากษ์
แมว้ ่าเร่อื งราวน้ีจะจบลงดว้ ยปาฏหิ ารยิ ์ แต่เม่อื มองการจดั โครงสรา้ งในเชงิ วจิ ารณ์แล้ว มนั เหมอื นเป็น

เร่อื งเล่าแบบประกาศใหท้ ราบ (Pronouncement Story) หรอื บทสนทนาทม่ี คี วามขดั แยง้ อยใู่ นตนเอง โดยมกี าร
พดู จาแลกเปลย่ี นกนั ระหว่างพระเยซูเจา้ บรรดาศษิ ย์ และผหู้ ญงิ คนน้ีกลายเป็นองคป์ ระกอบทย่ี าวทส่ี ุดและเป็น
แกนกลางของหน่วยน้ี อย่างไรกต็ าม ชารอน รนิ จ์ (Sharon Ringe) ไดช้ ใ้ี หเ้ หน็ วา่ “การแลกเปลย่ี นคาพดู ระหวา่ ง
พระเยซูเจา้ และสตรผี นู้ นั้ มลี กั ษณะตรงขา้ มกบั รปู แบบทม่ี กั พบบ่อยๆ ในเรอ่ื งเลา่ ลกั ษณะน้ี ปกตแิ ลว้ สถานการณ์
หรอื เหตุการณ์มกั จะกอ่ ใหเ้ กดิ คาถามทป่ี ระสงคร์ า้ ยจากกลุม่ ผทู้ ม่ี าเฝ้าดพู ระเยซูเจา้ และพระองคม์ กั จะตอบสนอง
ดว้ ยการแก้ไขความเขา้ ใจนัน้ ใหถ้ ูกต้องหรอื ตาหนิคาถามนัน้ แลว้ แสดงประเดน็ ของพระองค์ใหก้ ระจ่างชดั ดว้ ย
ประโยคสรุปทฝ่ี ่ายตรงขา้ มยากจะปฏเิ สธ แต่อย่างไรกต็ าม ในเรอ่ื งน้ี พระเยซูเจา้ เป็นผกู้ ล่าววาจาทด่ี ไู ม่เป็นมติ ร
หรอื เป็นภาษาสานวนแบบคนทวั่ ไปในทอ้ งถน่ิ นนั้ ๆ พูดกนั และหญงิ ผนู้ ัน้ คอื ผทู้ ก่ี ล่าวคาตอบโต้ทท่ี าใหพ้ ระองค์
สะดดุ และแกไ้ ขโตต้ อบสงิ่ ทพ่ี ระองคพ์ ดู อาจเป็นคาทใ่ี ชใ้ นสานวนเดยี วกนั /แบบยอมรบั สภาพทเ่ี ป็นอยู่ เราอาจไม่
แน่ใจว่านกั บญุ มทั ธวิ จะเหน็ ดว้ ยเร่อื งทห่ี ญงิ ผนู้ นั้ ทาใหพ้ ระเยซูเจา้ “สะดุด” เขา้ ใจสานวนภาษาแบบนนั้ หรอื /และ
“แก้ไข” สง่ิ ทพ่ี ระองคพ์ ูด เพราะพระเยซูเจา้ คอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั พระพรแห่งการรกั ษามาจากพระหรรษทานของพระเป็น
เจา้ สงู สดุ ไม่ไดม้ าจากพระองคเ์ อง แต่รปู แบบของ ชารอน รนิ จ์ คอื ประเดน็ วกิ ฤต (Critical Point) เพราะเร่อื งเล่า
น้บี รรยายใหเ้ ราเหน็ การพลกิ กลบั ของสง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เน่อื งจากความเชอ่ื อยา่ งไม่ยอ่ ทอ้ ของหญงิ ผนู้ นั้

374

15:21 เป็นอกี ครงั้ หน่ึงทพ่ี ระเยซูเจา้ ตอบสนองต่อการคุกคามของชาวฟารสิ ที อ่ี ย่ใู นเรอ่ื งเล่ากอ่ นหน้าโดย
การ “ถอยจากไป” ครงั้ น้ีพระองคเ์ ขา้ ไปสดู่ นิ แดนของชนต่างศาสนา โดยมขี อ้ ความทเ่ี น้นใหเ้ หน็ ในพระคมั ภรี ว์ ่า
คอื “ไทระและไซดอน” (Tyre and Sydon) (ในพระวรสารนกั บุญมาระโกมแี ค่ “ไทระ” อย่างเดยี ว) และระบุว่าผหู้ ญงิ คนนนั้ เป็น
“ชาวคานาอนั ” (Canaanite) (ในพระวรสารนักบุญมาระโกระบุว่าเป็นชาว “ซโี รฟีนิเชยี น”) ฉากเหตุการณ์น้ีมาจากจนิ ตภาพใน
พระคมั ภรี ซ์ ง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความขดั แยง้ อย่างรุนแรง ระหว่างพระเมสสยิ าหแ์ ห่งชาวยวิ ทถ่ี ูกสง่ มาใหเ้ ฉพาะชน
ชาตอิ สิ ราเอลเท่านัน้ กบั ศตั รหู ลกั ของพวกเขาทอ่ี ย่ภู ายใตอ้ านาจของปิศาจ พระเยซูเจา้ ไม่ไดก้ า้ วเขา้ ไปในบา้ น
ใด (อย่างทพ่ี ระองคท์ าใน มก. 7:24 ซง่ึ เป็นการเน้นใหเ้ หน็ ว่าพระองคไ์ ม่ตอ้ งการใหใ้ ครจาได้ แต่นักบุญมทั ธวิ ไมไ่ ดส้ นใจเร่อื งความลบั แห่งผเู้ ป็นพระ
เมสสยิ าหแ์ บบนกั บุญมาระโก) เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั กฎของนกั บุญมทั ธวิ ทว่ี า่ พระเยซูเจา้ ไมเ่ คยเขา้ ไปในบา้ นของชนต่าง
ศาสนาเลย และเป็นการหลกี เลย่ี งสงิ่ ท่นี กั บุญมาระโกนาเสนอวา่ ความพยายามทจ่ี ะเกบ็ ความลบั ของพระเยซูเจา้
ไม่ประสบความสาเรจ็

15:22-25 อย่างไรกต็ าม หญงิ ผนู้ นั้ ไดก้ ลา่ วกบั พระเยซูเจา้ ดว้ ยภาษาแหง่ ความเชอ่ื และความเคารพบชู า
แบบชาวครสิ ต์ (ในสมยั หลงั ) “องคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ ผทู้ รงเป็นบุตรแห่งดาวดิ โปรดเมตตาขา้ พเจา้ เถดิ ” คายนื ยนั ความ
เช่อื ทงั้ หมดของชาวครสิ ต์นัน้ สะท้อนถงึ บทภาวนาในพธิ บี ูชาของพระศาสนจกั ร ซ่งึ ปรบั มาจากภาษาแห่งการ
ภาวนาของบทเพลงสดุดี พระเยซูเจา้ ทรงเมนิ เฉยกบั เธอ และบรรดาศษิ ยค์ นอ่นื ๆ กไ็ มแ่ สดงความเหน็ ใจเช่นกนั
พระเยซูเจ้าทรงตอบสนองต่อคาขอท่ใี ห้พาเธอออกไปอย่างไม่ค่อยเห็นด้วยนัก โดยกล่าวเน้นขอ้ ห้ามท่อี ยู่ใน
10:6 ว่าพนั ธกจิ ของพระองคค์ อื การตามหาแกะหลง (หรอื ไรผ้ นู้ า) แห่งพงศ์พนั ธุอ์ สิ ราเอล แต่หญงิ ผนู้ นั้ ยงั คงไม่
ยอมแพ้ เธอยงั คงกล่าวคาวอนขอแบบบทเพลงสดุดแี ละเรยี กพระเยซูเจา้ ว่า “องค์พระผูเ้ ป็นเจ้า” (Lord) ต่อไป
ในขณะทอ่ี ยใู่ นทา่ คกุ เขา่ แบบเวลาทช่ี าวครสิ ตส์ วดภาวนา

15:26 พระเยซูเจา้ ทรงตรสั กบั เธอโดยตรงเป็นครงั้ แรก เราไม่สามารถขจดั ความหยาบกระดา้ งของการ
เปรยี บชาวยวิ เป็นลูกๆ (พงศพ์ นั ธุอ์ สิ ราเอลใน ว. 24) และคนต่างศาสนาเป็นสุนัข โดยการบอกว่ามนั เป็นคาเรยี กเล่นๆ
แบบน่ารกั (คาวา่ “kynariion” ไมใ่ ช่ “kyon” อยา่ งใน 7:6) ราวกบั วา่ พระเยซูเจา้ กาลงั ตรสั ถงึ “ลกู สนุ ขั ” ดว้ ยความเอน็ ดู แต่ถงึ
กระนัน้ คาน้ียงั แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความต่างระหว่างสตั วท์ เ่ี ล้ยี งในบา้ นเรอื น ซ่งึ ตรงขา้ มกบั พวกท่เี ป็นสุนัขจรจดั ก่งึ
สตั วป์ ่าในวฒั นธรรมของชาวยวิ คาเปรยี บเทยี บดงั กล่าวน้ีเป็นการแสดงถงึ ความเช่อื ทว่ี ่าชนต่างศาสนามที ท่ี าง
ของตนเอง เพราะปกตแิ ลว้ ชาวยวิ ไม่ได้เล้ยี งสุนัขไวเ้ ป็นสตั ว์เล้ยี งภายในบ้าน และในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ
ประเดน็ น้ีไม่ใช่เร่อื งของลาดบั ก่อนหลงั คอื ชาวยวิ ก่อนและชนต่างศาสนาทหี ลงั (อย่างใน กจ. 3:26; 13:46; รม 1:16; 2:9)
เพราะทา่ นไดต้ ดั ขอ้ ความ “ลกู ๆ ควรจะไดร้ บั ประทานกอ่ น” ทอ่ี ยใู่ นพระวรสารนกั บญุ มาระโกออกไป

15:27 หญงิ ผนู้ นั้ ยงั คงยนื กรานต่อไป และดเู หมอื นเธอจะไมส่ ะทกสะทา้ นต่อคาเปรยี บเทยี บนนั้ เลย เธอ
ยงั คงวอนขอสง่ิ ทต่ี อ้ งการต่อไปภายใตก้ รอบคาพูดของพระเยซูเจา้ โดยไม่ไดก้ ล่าวว่า “สุนัข” จะกนิ ภายหลงั ได้
แตบ่ อกวา่ มนั จะไดร้ บั “เศษขนมปัง” ในขณะทล่ี กู ๆ กาลงั รบั ประทานกนั อย่นู นั้ ผหู้ ญงิ คนน้ยี งั คงเรยี กพระเยซูเจา้
ว่า “องคพ์ ระผเู้ ป็นเจา้ ” ต่อไป เธอพยายามด้นิ รนเหมอื นกบั ผูท้ ่สี วดภาวนาวงิ วอนต่อผู้ทพ่ี วกเขาเรยี กว่า “องค์
พระผเู้ ป็นเจา้ ” ในบทเพลงสดดุ ี

15:28 พระเยซูเจา้ ทรงถอื ว่าการวงิ วอนรอ้ งขออยา่ งไม่ลดละเป็นความเชอ่ื ทย่ี งิ่ ใหญ่ (ตรงขา้ มกบั 14:31) และ
ทรงรกั ษาบุตรสาวของหญิงผู้นัน้ ทนั ที การไล่ผถี ูกเรยี กว่าการรกั ษาโรคและได้รบั การบอกเล่าด้วยถ้อยคาท่ี

375

ในทางปฏบิ ตั มิ คี วามหมายเดยี วกบั ถ้อยคาสรุปจบเร่อื งเล่าเกย่ี วกบั บุตรชาย/คนรบั ใชข้ องนายรอ้ ย (8:5-13) ซ่งึ มี
ประเดน็ ทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั หลายประการ

ข้อคิดไตร่ตรอง
หากมองว่าเร่อื งเล่าน้ี คอื รายงานเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ จะก่อใหเ้ กดิ คาถามทไ่ี ม่เหมาะสมและยากจะ

ตอบได้ เหตุใดพระเยซูเจ้าจงึ ทรงพูดในภาษาแบบน้ี(แขง็ กรา้ วและก้าวรา้ ว)ต่อบุคคลผู้น้ี? สุดท้ายแล้วนางสามารถ
โตเ้ ถยี งชนะพระองคแ์ ละทาใหพ้ ระองคย์ อมทาบางสงิ่ ทพ่ี ระองคไ์ ม่เตม็ ใจทาหรอื ? ทาไมคนต่างศาสนาถงึ มคี วาม
เช่อื ว่าพระเยซูเจ้าทรงเป็น “บุตรแห่งดาวดิ ”? การท่บี ุคคลผู้หน่ึงมคี วามเช่อื (แบบครสิ ต์!) ในสถานการณ์เช่นน้ี
หมายความว่าอย่างไร? เกดิ อะไรข้นึ กบั สตรผี ู้น้ี? ตอนน้ีเธอกลายเป็นศษิ ย์ของพระองค์แล้วหรอื ไม่? เธอเขา้
ร่วมกบั ชุมชนชาวครสิ ต์หรอื เปล่า? ตอนน้ีเธอรกั ษาพระบญั ญตั แิ ละคาสอนของพระเยซูเจา้ เหมอื นกบั ท่บี รรดา
ศษิ ยใ์ นพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ได้รบั การสอนมาหรอื เปล่า? พระเยซูเจา้ ทรงยกเลกิ คาประกาศของพระองค์ใน
10:6 และพนั ธกจิ ต่อชนต่างศาสนาไดเ้ รมิ่ ตน้ ขน้ึ ดว้ ยการกระทาครงั้ น้หี รอื ?

คาถามเหล่าน้ีเพยี งแต่แสดงเปิดประเดน็ ใหเ้ ราเหน็ ถงึ ความเขา้ ใจผดิ เกย่ี วกบั ประเภทงานเขยี นของเร่อื ง
เล่าน้ี หากมองว่ามนั เป็น “รายงาน” ท่ผี ูส้ งั เกตการณ์สามารถนาไปอา้ งองิ ทางประวตั ศิ าสตรไ์ ด้ แต่ผูห้ ญงิ คนน้ี
ปรากฏขน้ึ ในเร่อื งและไดห้ ายเขา้ ไปในทอ้ งเร่อื ง เพ่อื แสดงภาพและส่อื สาร 3 ประเดน็ สาคญั ของนักบุญมทั ธวิ ท่ี
เกย่ี วขอ้ งกบั ความหมายของประวตั ศิ าสตรก์ ารไถ่กมู้ นุษยชาตขิ องพระเป็นเจา้ และความหมายของความเชอ่ื ของ
มนุษย์

1. พระเป็นเจ้าทรงมแี ผนการในประวตั ิศาสตร์แห่งการช่วยให้มนุษยชาติรอดพ้น แม้จะถูกเสนอให้กบั
ชาวยวิ ก่อน (ระหวา่ งพนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ 10:6; 15:24) จากนนั้ จงึ เปิดกวา้ งเพอ่ื รวบรวมชนชาตทิ งั้ หลายหลงั เหตุการณ์
กลบั คนื พระชนมช์ พี (28:16-20) เรอ่ื งเล่าน้เี ป็นสญั ญาณขนั้ ตน้ ของสง่ิ ทก่ี าลงั จะมาถงึ เชน่ เดยี วกบั จติ ใจอนั บรสิ ทุ ธทิ ์ ่ี
ปรารถนาแสวงหาพระเป็นเจ้าและพระอาณาจกั รของพระองค์ ซ่ึงจะปรากฏมาถึงอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ใน
อนาคตนัน้ แต่เพงิ่ ไดเ้ ปิดเผยใหเ้ หน็ ในขณะน้ี จากจติ ใจรกั อนั ยง่ิ ใหญ่ของหญงิ ชาวต่างชาตผิ ูน้ ้ีต่อบุตรสาวของ
เธอและเธอเช่อื ในพระเยซูเจา้ ดว้ ย เป็นแรงจูงใจให้ผอู้ ่านทเ่ี ช่อื ศรทั ธาสามารถพจิ ารณาข้อเทจ็ จรงิ เร่อื งน้ีว่าเป็น
เทววทิ ยาแบบประวตั ศิ าสตรแ์ ห่งความรอดพน้ เป็นศรทั ธาทม่ี นุษยพ์ ยายามแสวงหาพระประสงคข์ องพระเป็นเจา้
ในขนั้ หน่ึงทแ่ี มย้ งั ไม่สมบูรณ์ครบถว้ น และสจั ธรรมทว่ี ่าพระเป็นเจา้ ไม่ไดท้ รงดารงอยู่เพราะคาสอนตามหลกั เทว
วทิ ยา หรอื ตามคาประกาศสอนของผูเ้ ลอื กสรรของพระเป็นเจ้าหรอื พระบุตรของพระเป็นเจ้า (ดู 24: 22) ในสาระ
เน้ือหาของเทวศาสตร์ แมเ้ ป็นศาสตรท์ ่มี คี ุณค่าความหมายและจาเป็นทป่ี ระกอบดว้ ยเน้ือหาสาระทเ่ี ปิดเผยถงึ
พระเป็นเจา้ กไ็ มต่ อ้ งเป็นจรงิ เพยี งเพอ่ื แสดงพระเมตตาหรอื เป็นจรงิ ตามความเชอ่ื ศรทั ธาของมนุษย์ คาสอนจาก
เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ วน้ีแมไ้ ม่ไดล้ ม้ ลา้ งหรอื ลม้ เลกิ หลกั การของเทวศาสตร์ แตป่ รากฏอยเู่ หนอื ขอบเขตเน้อื หาสาระท่ี
เป็นไปตามหลกั เหตุผลหรอื แนวคดิ ของเทวศาสตรใ์ นศาสตรน์ นั้ เอง

2. ความพยายามขวนขวายดา้ นคารวกจิ นมสั การพระเป็นเจา้ เป็นกจิ จะลกั ษณะทางเทววทิ ยา (เทยี บ ปฐก.
32) เป็นสงิ่ ทแ่ี สดงออกมากกวา่ การทาความเขา้ ใจอย่างสมบูรณ์ถงึ พระเป็นเจา้ ละทง้ิ พระเป็นเจา้ หรอื เลกิ ลม้ ทจ่ี ะ
เผชญิ หน้า บางครงั้ ไม่ได้เป็นกจิ การท่ไี ม่เช่อื แต่เป็นการประกาศความเช่อื ศรทั ธาอย่างยง่ิ ใหญ่ ความขดั แยง้
ระหวา่ ง “ความเช่อื ศรทั ธายงิ่ ใหญ่” ของหญงิ คนน้ี และความเชอ่ื ศรทั ธาน้อยของนกั บุญเปโตรไม่ไดเ้ ป็นการแสดง

376

ความหมายของขอ้ ความบางตอนว่าเป็นเร่อื งทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยบงั เอญิ (14: 31 ดู ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์และขอ้ คดิ ไตรต่ รอง) หากสตรี
นนั้ พดู บางอยา่ งคลา้ ยๆ กบั วา่ “ถา้ ทา่ นเป็นพระบุตรของกษตั รยิ ด์ าวดิ จงสงั่ ใหบ้ ุตรสาวของฉนั หายจากโรค” หรอื
เปล่า หรอื เธออาจพดู คลา้ ยๆ กบั นกั บญุ เปโตร ในขณะทเ่ี ธอทลู ขอดว้ ยคาพดู ภาษาพน้ื บา้ นของเธอเพอ่ื ขอใหท้ รง
ขบั ไล่ปีศาจจากบุตรสาวของเธอ เร่อื งน้ีท่านนักบุญมทั ธวิ ได้สอนเราอย่างดเี ก่ียวกบั ธรรมชาตขิ องความเช่อื
ศรทั ธา ใหเ้ ราเองรูถ้ งึ แนวโน้มทร่ี ูว้ ่าความเช่อื ศรทั ธาคอื อะไร ปัญหาหลกั ๆ ทเ่ี ป็นอยู่ของเรา คอื เราไม่มคี วาม
เช่ือเพียงพอ เร่อื งเล่าของนักบุญมทั ธวิ จงึ สอนให้เรารู้ถึงสมมติฐานผดิ ๆ เก่ียวกบั ความหมายของความเช่ือ
ศรทั ธาแทจ้ รงิ

3. ตวั อย่างความเช่อื ศรทั ธาทเ่ี กดิ ผลจากกรณีของหญงิ ชาวต่างชาตผิ ูน้ ้ีอาจไรค้ วามหมาย ถ้าเป็นเร่อื ง
ของคนนอก แต่เน้ือหาสาระตอนน้ีไดเ้ กดิ ขน้ึ อยา่ งน่าทง่ึ น้ีเป็นไปในรปู แบบของแนวคดิ อย่างหน่ึง แมว้ ่าหญงิ ชาว
คานาอนั เป็นหญงิ (แม่)ทม่ี ลี กั ษณะเอาจรงิ เอาจงั กา้ วรา้ วดุดนั ไม่คานึงถงึ ความแตกต่างวา่ ตนเป็นคนต่างเพศหรอื
ตา่ งเชอ้ื ชาตกิ บั พระเยซูเจา้ เธอโตแ้ ยง้ กบั พระองคอ์ ยา่ งเอาจรงิ เอาจงั อยา่ งมอี ารมณ์เร่ารอ้ นเพอ่ื มงุ่ มนั่ ขอใหท้ รง
ชว่ ยบุตรสาวไดร้ อดพน้ จากปีศาจทส่ี งิ อย่ซู ง่ึ ทาใหบ้ ุตรของนาง ซง่ึ ตอ้ งทนทรมานอย่างมาก เร่อื งเล่าน้ีจงึ ทา้ ทาย
ผูอ้ ่านในมุมมองทางเพศและเช้อื ชาติ มุมมองแบบโบราณและสมยั ใหม่ ในคนท่มี แี นวโน้มท่ไี ม่เพยี งแต่เหยยี ด
หยามคนต่างวรรณะและเชอ้ื ชาตวิ ่าเป็น “คนอ่นื ” ทไ่ี ม่มสี ทิ ธอิ ยา่ งคนทวั่ ไปในพระพรของกลุ่มคนของตนผนู้ บั ถอื
ศาสนา สทิ ธปิ ระโยชน์ตามขอ้ จากดั หรอื แบบแผนทางสงั คม และแผนการของพระเป็นเจา้ ทก่ี าหนดไวแ้ ลว้ สาหรบั
ประชากรของพระเป็นเจา้ หรอื พวกพอ้ งของตน ผอู้ ่านทงั้ สมยั โบราณและสมยั ใหมอ่ าจอา้ งสทิ ธติ ามแบบแผน พระ
เยซูเจา้ ตรสั ถงึ พนั ธกจิ หลกั ของพระองคอ์ ย่างชดั เจนในแผนการและพระประสงคข์ องพระเจา้ เช่นกนั แต่เม่อื ทรง
เห็นความเช่ือศรทั ธาของหญิงชาวต่างชาติผู้อ่ืน พระองค์ได้ทรงตอบรบั และบันดาลให้เป็นไปตามความ
ปรารถนาหรอื ความประสงค์ของเธอ ซ่งึ เป็ นเร่อื งเล่าท่มี ลี กั ษณะคล้ายกบั เร่อื งนายทหารชาวโรมนั ท่ที ูลขอให้
รกั ษาบุตรชายของตน เร่อื งเล่าน้ีจงึ นาพาเชญิ ชวนผูอ้ ่านให้ตระหนักการกระทาตนแทนในบทบาทของผูอ้ ่นื มี
สทิ ธสิ ามารถต่อสดู้ น้ิ รนแทนผอู้ ่นื ได้ มใิ ชเ่ พยี งแค่แสวงหาพระเป็นเจา้ ตามความรคู้ วามเขา้ ใจของตน แตส่ ามารถ
เช่อื ศรทั ธาตามความหมายความเขา้ ใจของผูอ้ ่นื และทุกคนกส็ ามารถประกาศถงึ กจิ การอนั พากเพยี รพยายาม
อยา่ งมานะอดทนในความเชอ่ื ศรทั ธายง่ิ ใหญ่(ต่อองคพ์ ระเป็นเจา้ )

มทั ธวิ 15:29-39 การรกั ษาโรคและเลย้ี งดฝู งู ชน

พระเยซูเจ้าทรงรกั ษาผปู้ ่ วย
29 พระเยซูเจา้ เสดจ็ จากทน่ี ัน่ มายงั ทะเลสาบกาลลิ ี แลว้ เสดจ็ ขน้ึ บนภูเขาประทบั ทน่ี ัน่ 30 ประชาชนจานวนมากเขา้ มาเฝ้า

พระองค์ นาคนงอ่ ย คนแขนขาพกิ าร คนตาบอด คนใบ้ และคนเจบ็ อน่ื ๆ จานวนมากมาไวแ้ ทบพระบาท พระองคท์ รงรกั ษาเขาให้
หายจากโรค

31 เม่อื ประชาชนเหน็ คนใบ้พูดได้ คนขาพกิ ารหายเป็นปรกต9ิ คนงอ่ ยเดนิ ได้ คนตาบอดมองเหน็ ได้ ต่างประหลาดใจและ
สรรเสรญิ พระเจา้ แหง่ อสิ ราเอล

377

อศั จรรยก์ ารทวีขนมปังครงั้ ที่สอง

32 พระเยซเู จา้ ทรงเรยี กบรรดาศษิ ยเ์ ขา้ มา ตรสั วา่ “เราสงสารประชาชน เพราะเขาอยกู่ บั เรามาสามวนั แลว้ และเวลาน้ีไมม่ ี
อะไรกนิ เราไมอ่ ยากใหเ้ ขากลบั บา้ นโดยไมไ่ ดก้ นิ อะไร เขาจะหมดแรงขณะเดนิ ทาง” 33 บรรดาศษิ ยจ์ งึ ทลู ถามวา่ “ในทเ่ี ปลย่ี ว
เชน่ น้ี เราจะหาอาหาร จากทไ่ี หนใหป้ ระชาชนเหล่าน้ีกนิ จนอมิ่ ได”้ 34 พระเยซเู จา้ ตรสั ถามวา่ “ท่านมขี นมปังกก่ี อ้ น” เขาทลู วา่
“เจด็ กอ้ นกบั ปลาเลก็ ๆ อกี สองสามตวั ” 35 พระองคท์ รงสงั่ ใหป้ ระชาชนนงั่ ลงทพ่ี น้ื ดนิ 36 ทรงหยบิ ปลาและขนมปังเจด็ กอ้ นนนั้ ตรสั
ขอบพระคุณพระเจา้ 37 ทุกคนกนิ จนอมิ่ และยงั เกบ็ เศษทเ่ี หลอื ไดอ้ กี เจด็ ตะกรา้ 38 คนทก่ี นิ มผี ชู้ ายประมาณสพ่ี นั คน ไมน่ บั ผหู้ ญงิ
และเดก็

39 พระองคท์ รงส่งประชาชนกลบั ไป แลว้ เสดจ็ ลงเรอื ไปยงั เขตเมอื งมากาดาน

ข้อศึกษาวิพากษ์

ขอ้ ความเหล่าน้ีรวมกนั เป็นหน่วยเดยี วกนั แมว้ ่า ว. 29-31 จะถูกบนั ทกึ แยกเป็นเน้ือหาอกี ส่วนหน่ึงใน
บทสรุปย่อดงั ท่เี กดิ ข้นึ อยู่บ่อยๆ เพ่อื ความสะดวกเน่ืองจากขอ้ ความคู่ขนานท่เี ห็นได้ชดั ความจรงิ คอื นักบุญ
มทั ธวิ ไดเ้ ขยี นขน้ึ เพอ่ื แทนท่ี มก. 7:31-37 ความคลา้ ยคลงึ กบั แหล่งขอ้ มลู คอื พระวรสารนกั บุญมาระโกยงั คงมอี ยู่
แตใ่ นพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ ไมม่ กี ารแยกระหวา่ งวรรค 31 และ 32 หน่วยน้ีทงั้ หมดถกู ลอ้ มดว้ ยวงเลบ็ ทเ่ี ป็นการ
อา้ งองิ ถึงภูมปิ ระเทศ (ทะเลกาลลิ ี ใน ว. 29 และมากาดาน ใน ว. 39) ดงั นัน้ หน่วยน้ีจงึ มโี ครงสรา้ งแบบไตรสัมพนั ธ์ซ่งึ เป็น
แบบของนักบุญมทั ธวิ สอดคลอ้ งพอดกี บั เร่อื งราวการเล้ยี งอาหารผูค้ นก่อนหน้าน้ี (1) ฉากแนะนาเร่อื งทม่ี พี ระ
เยซูเจา้ ผู้ทรงเมตตากาลงั รกั ษาฝงู ชน (2) บทสนทนาระหว่างพระเยซูเจา้ กบั บรรดาศษิ ย์ ซ่ึงเป็นองค์ประกอบ
แกนกลางและยาวทส่ี ดุ (3) ปาฏหิ ารยิ แ์ ละบทสรุปเพอ่ื เปลย่ี นเขา้ สตู่ อนต่อไป

15:29-31 นักบุญมทั ธวิ ได้ย่อกาหนดการแปลกๆ ใน มก. 7:31 ซง่ึ ดูจะทาใหพ้ ระเยซูเจา้ อย่ใู นเขตพน้ื ท่ี
ของชนต่างศาสนา นกั บุญมทั ธวิ เปลย่ี นสถานทเ่ี ป็นบนภูเขาใกลท้ ะเลกาลลิ ี เน่ืองจากมากาดานทพ่ี วกเขาจากมา
(ว. 39) เป็นสถานท่ซี ่งึ ไม่มใี ครรจู้ กั เราจงึ ไม่รแู้ น่ชดั ว่านักบุญมทั ธวิ เหน็ ภาพฉากเหตุการณ์น้ีอย่บู นฝัง่ ตะวนั ออก
ของทะเลสาบ (เหน็ ไดช้ ดั เจนในพระวรสารนกั บุญมาระโก) หรอื อยบู่ นฝัง่ ตะวนั ตก ซง่ึ เป็นความคลุมเครอื ทไ่ี ม่อาจคลล่ี ายได้
ใน 16:5 และ 13 ในทน่ี ้ี ประเดน็ เรอ่ื งสถานทด่ี จู ะไมส่ าคญั สาหรบั นกั บุญมทั ธวิ แมว้ ่าทา่ นตงั้ ใจจะใหฉ้ ากน้ีอย่บู น
ฝัง่ ตะวนั ตกของทะเลสาบ ก็ไม่มอี ะไรบ่งช้วี ่าเป็นพ้นื ท่ขี องชนต่างศาสนาและฝงู ชนเหล่าน้ีเป็นคนต่างศาสนา
แทนทจ่ี ะเน้นความถูกตอ้ งชดั เจนเร่อื งสถานท่ี สง่ิ สาคญั คอื ความหมายเสรมิ ทางเทววทิ ยาทอ่ี ย่ใู นภูเขาท่นี ักบุญ
มทั ธวิ ยา้ ยฉากไปนนั้ เป็นเหตุชว่ ยใหเ้ ราระลกึ ถงึ 5:1 และ 14:23 และคาดเดาไดถ้ งึ 17:1 อาจมกี ารใชส้ ญั ลกั ษณ์
พ้ืนเมืองท่ีเก่ียวข้องกับภูเขาไซออนในท่ีน้ี เพราะ “ในความคาดหวงั ของชาวยิว ไซออนคือสถานท่ีซ่ึงชาว
อสิ ราเอลท่กี ระจดั กระจายไปได้กลบั มารวมกนั อกี ครงั้ ในวนั ส้นิ พภิ พ เป็นสถานท่แี ห่งความหายจากโรค และ
สถานทจ่ี ดั งานเลย้ี งของพระเมสสยิ าห”์ นกั บญุ มทั ธวิ คงรกั ษาและเน้นความโดดเด่นของความหมายเสรมิ เกย่ี วกบั
ศลี มหาสนิทท่อี ยู่ในเร่อื งเล่าท่สี บื ทอดกนั มาน้ี ภาพการรกั ษาโรคช่วยเตอื นให้ผูอ้ ่านระลกึ ถงึ ฉากเหตุการณ์ใน
4:23 และความเป็นจรงิ ตามคาทานายเก่ยี วกับยุคสมยั ของพระเมสสยิ าห์ใน อสย 35:5-6 ซ่งึ สะท้อนให้เหน็ อยู่
แลว้ ใน มธ. 4:23; 9:35; 11:5 ดงั นัน้ เม่อื ความขดั แยง้ เพม่ิ มากขน้ึ และลกึ ยงิ่ กว่าเดมิ ฉากสรุปท่ไี ม่มอี ะไรใหม่จงึ
ชว่ ยใหเ้ รานึกถงึ พนั ธกจิ ของพระเมสสยิ าหท์ ม่ี ตี อ่ ประชากรอสิ ราเอลเป็นครงั้ สุดทา้ ย

15:32-39 สาหรบั การตีความในรายละเอียด โปรดดูขอ้ ศึกษาวพิ ากษ์เก่ียวกบั 14:13-21 ซ่ึงเกือบจะ
เหมอื นกบั ตอนน้ีทุกอยา่ ง สงิ่ ทน่ี ่าพศิ วงทส่ี ุดสาหรบั การตคี วามคอื เหตุใดจงึ ตอ้ งมถี งึ สองครงั้ ในธรรมประเพณีน้ี
คอื มเี ร่อื งการเลย้ี งดูฝงู ชนสองครงั้ มโี ครงสรา้ งแบบเดยี วกนั และมคี วามหมายแบบเดยี วกนั มเี พยี งรายละเอยี ด

378

เลก็ ๆ น้อยๆ เท่านัน้ ท่แี ตกต่าง พระวรสารนักบุญมาระโก ซ่งึ เป็นแหล่งขอ้ มูลของนักบุญมทั ธวิ อาจมเี จตนาให้
เรอ่ื งแรกมไี วส้ าหรบั ชาวยวิ สว่ นเรอ่ื งทส่ี องมไี วส้ าหรบั ชนตา่ งศาสนา (5 กบั 12 ดูจะเป็นสญั ลกั ษณ์ทช่ี ไ้ี ปถงึ ชาวยวิ สว่ น 4 กบั
7 อาจบง่ ชถ้ี งึ “ชนต่างศาสนา” ซง่ึ เป็นรายละเอยี ดทเ่ี ราไม่ควรเอาไปตคี วามแบบนิทานเปรยี บเทยี บ) สงิ่ น้ีอาจมกี ล่าวไวใ้ นโดยออ้ มใน มก.
7:27 “ต้องใหล้ ูกๆ กนิ อม่ิ ก่อน” ซ่งึ เป็นคาตอบต่อคาวอนขอของหญิงชาวต่างชาติ รวมถงึ ตาแหน่งของเน้ือหา
ส่วนน้ี คอื อย่รู ะหว่างเร่อื งเล่าการเล้ยี งอาหารทงั้ สองเร่อื ง แต่ความหมายทอ่ี ย่ใู นพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ไม่อาจ
เป็นเช่นนนั้ เพราะละเวน้ บางคาจากพระวรสารนกั บุญมาระโก คอื คาว่า “แรก” และคาระบุสถานทใ่ี นเดคาโปลสิ
(Decapolis) ซง่ึ เป็นของชนต่างศาสนาอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั อกี ทงั้ ยงั ละเวน้ ขอ้ ความในพระวรสารนกั บุญมาระโกทร่ี ะบุ
ว่ามบี างคนมาจากสถานทห่ี ่างไกล (มก. 8:3) ภาพทน่ี ักบุญมทั ธวิ แสดงใหเ้ หน็ มคี วามเป็นชาวยวิ อย่างสมบูรณ์ คา
ว่า “พระเป็นเจา้ แห่งชนชาตอิ สิ ราเอล” ท่ไี ด้รบั การสรรเสรญิ ในบทสรุปของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ไม่ใช่คาแซ่
ซอ้ งของชาวตา่ งชาติ แตเ่ ป็นภาษาของในพธิ บี ชู าของชาวอสิ ราเอล (ดู สดด. 40:14; 71:18; 105:48; ลก 1:68) อกี ภาพหน่งึ
ทน่ี อกจากนกั บุญมทั ธวิ จะคงรกั ษาไวเ้ พราะมนั มาจากพระวรสารนกั บุญมาระโกแลว้ เขาดจู ะเตม็ ใจตอ้ นรบั ใหม้ นั
มาอยู่ในเน้ือหาตอนน้ี คอื ภาพของพระเยซูเจา้ ท่ที รงกระทากจิ การด้วยความเมตตาต่อชาวอสิ ราเอลในขณะท่ี
พระองค์ทรงขดั แยง้ กบั ผนู้ าของศาสนายูดาย เม่อื นักบุญมทั ธวิ นามาเล่าใหม่ เร่อื งเล่าการเลย้ี งอาหารฝงู ชนทงั้
สองถูกนามาทาให้คล้ายกนั เพ่ือจะได้เน้นความสาคญั ของสง่ิ ท่ีเหมอื นกนั มากกว่าสง่ิ ท่ีแตกต่างกนั (แบบท่ีใน
ประวตั ศิ าสตรก์ ารตคี วามกล่าวไว)้ ดเู หมอื นภาพโดยทวั ่ ไปหรอื ภาพท่คี นมกั จะคดิ ถงึ พระเมสสยิ าหข์ องชาวอสิ ราเอล คอื
ผู้ท่รี กั ษาผู้คนให้หายจากโรคและเล้ยี งดูพวกเขา แต่ในอกี ทางหน่ึง การท่ีบรรดาศษิ ย์ของพระองค์ขาดความ
เขา้ ใจ ดูเหมอื นจะเป็นสงิ่ ท่สี บื ทอดมาจากมุมมองด้านเทววทิ ยาในพระวรสารนักบุญมาระโก ไม่ได้รวมอยู่ใน
มมุ มองเกย่ี วกบั บรรดาศษิ ยข์ องนกั บุญมทั ธวิ

มากาดานอย่ทู ไ่ี หนไม่มใี ครรู้ (ดู ดา้ นบน) ก่อใหเ้ กดิ การแปรผนั ของช่อื เป็นรูปแบบต่างๆ ในธรรมประเพณี
ของต้นฉบบั พระคมั ภีร์ คอื ช่อื มกั ดาลา (Magdala) มากาลนั (Magalan) และมาเกดาน (Magedan) ดูเหมอื น
นกั บุญมทั ธวิ จะแสดงภาพของพระเยซูเจา้ กาลงั ทรงแล่นเรอื อยตู่ ามลาพงั โดยไม่กล่าวถงึ บรรดาศษิ ยแ์ บบใน มก.
8:10 พวกเขากลบั เขา้ สเู่ รอ่ื งราวอกี ครงั้ ใน 16:5 ของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ (ดสู ่วนทน่ี กั บญุ มทั ธวิ เตมิ ลงไปใน มก. 8:14)

379

นกั บุญเทเรซา แหง่ กลั กตั ตา กบั มารดาและลกู ของพวกเธอ......

380


Click to View FlipBook Version