The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจงานแปลมัทธิว 12

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by P. Tads, 2021-06-06 09:13:10

12 มัทธิว 12:1-14

ตรวจงานแปลมัทธิว 12

มทั ธวิ 12:1-14: พระสวามเี จา้ นายเหนือวนั สบั บาโต

บรรดาศิษยเ์ ดด็ รวงขา้ วในวนั สบั บาโต
1 ครงั้ หน่ึง พระเยซูเจ้าเสด็จผ่านนาขา้ วสาลีในวนั สบั บาโต บรรดาศิษย์รู้สกึ หวิ จงึ เด็ดรวงข้าวมากิน 2 เม่อื ชาวฟารสิ ี

สงั เกตเหน็ ดงั นัน้ จงึ ทูลพระองคว์ า่ “ดูซิ ศษิ ยข์ องท่านกาลงั ทาสงิ่ ตอ้ งหา้ มในวนั สบั บาโต” 3 พระองคต์ รสั ตอบวา่ “ท่านไมไ่ ดอ้ ่าน
ในพระคมั ภรี ห์ รอื วา่ กษตั รยิ ด์ าวดิ และผตู้ ดิ ตามไดท้ าสง่ิ ใดเมอ่ื หวิ โหย 4 พระองคเ์ สดจ็ เขา้ ไปในพระนิเวศน์ของพระเจา้ เสวยขนม
ปังทต่ี งั้ ถวายพรอ้ มกบั บรรดาผตู้ ดิ ตาม ขนมปังนนั้ ผใู้ ดจะกนิ ไมไ่ ด้ นอกจากบรรดาสมณะเท่านนั้ 5 ท่านไมไ่ ดอ้ ่านในธรรมบญั ญตั ิ
หรอื วา่ ในวนั สบั บาโตนนั้ บรรดาสมณะในพระวหิ ารยอ่ มละเมดิ วนั สบั บาโตไดโ้ ดยไม่มคี วามผดิ 6 เราบอกท่านทงั้ หลายว่า ทน่ี ่ีมี
สง่ิ ยงิ่ ใหญ่กว่าพระวหิ ารเสยี อกี 7 ถ้าท่านเขา้ ใจความหมายของขอ้ ความทว่ี ่า ‘เราพอใจความเมตตากรณุ า มิใช่พอใจเครือ่ ง
บชู า’ ท่านคงจะไมก่ ล่าวโทษผไู้ มม่ คี วามผดิ 8 เพราะบุตรแหง่ มนุษยเ์ ป็นนายเหนือวนั สบั บาโต”
พระเยซูเจา้ ทรงรกั ษาชายมือลีบ

9 พระเยซูเจา้ เสดจ็ จากทน่ี ัน่ เขา้ ไปในศาลาธรรม 10 ทรงพบชายมอื ลบี คนหน่ึง ประชาชนบางคนถามพระองค์ว่า “ธรรม
บญั ญตั อิ นุญาตใหร้ กั ษาโรคในวนั สบั บาโตหรอื ไม”่ ทงั้ น้ีเพอ่ื จะหาเหตุกล่าวโทษพระองค์ 11 แต่พระองคท์ รงตอบเขาวา่ “ท่านใดมี
แกะอยู่ตวั เดยี ว และแกะนัน้ ตกบ่อในวนั สบั บาโต เขาจะไม่ไปจบั มนั และฉุดขน้ึ มาดอกหรอื 12 มนุษย์คนหน่ึงย่อมมคี ่ากว่าแกะ
มากนัก ดงั นัน้ ธรรมบญั ญตั จิ งึ อนุญาตใหท้ าความดใี นวนั สบั บาโตได”้ 13 แลว้ พระองคต์ รสั กบั ชายผูน้ ัน้ วา่ “จงเหยยี ดมอื ซ”ิ เขา
จงึ เหยยี ดมอื ออก และมอื นนั้ กก็ ลบั เป็นปรกตเิ หมอื นกบั มอื อกี ขา้ งหน่ึง 14 ชาวฟารสิ จี งึ ไปชุมนุมปรกึ ษากนั วา่ จะกาจดั พระองคไ์ ด้
อยา่ งไร

ข้อศกึ ษาวิพากษ์
การแบง่ แยกบทน้อี อกมา คอ่ นขา้ งจะไมม่ ลี กั ษณะเป็นบทใหม่อกี บทหน่งึ เพราะ 12:1 เป็นคาเรมิ่ ตน้ (ejn

ejkei"nw/ tw/' kairw/' en ekeino to kairo) เก่ยี วเน่ืองกบั เน้ือหาในส่วนท่ผี ่านมา ไม่เป็นการข้นึ ต้นเร่อื งใหม่ แต่เป็น
แนวคดิ ความขดั แยง้ ทส่ี ง่ แผอ่ ทิ ธพิ ลต่อ 11:20 - 12:14 ทย่ี งั คงปรากฏต่อเน่อื งมาจนถงึ สว่ นน้ี รวมถงึ แนวคดิ เรอ่ื ง
การพกั ผอ่ น/วนั สบั บาโต, ความแตกต่างระหวา่ ง “ผมู้ ปี รชี าและฉลาดรอบร”ู้ (the Wise and Understanding) กบั
ผูต้ ่าต้อย, “แอกท่เี บา” (“ความเมตตา” ว. 7) และแนวคดิ ครสิ ตศาสตร์ (พระบุตรผูซ้ ่ึงพระบดิ าไดท้ รงมอบ “ทุกสง่ิ ” ให้
[11:27] คอื บุตรแห่งมนุษย์ ผเู้ ป็นเจา้ นายเหนือวนั สบั บาโต [12:8]) นอกจากน้ีลกั ษณะงานเขยี นคงแนวเดมิ ไม่ไดเ้ ปลย่ี น
ใชร้ ปู แบบคากล่าว ไม่เป็นแบบบทบรรยาย เพราะความขดั แยง้ ในเน้ือหาเหตุการณ์สองเรอ่ื งถดั มา ประกอบดว้ ย
คากลา่ วเป็นหลกั

เหตุการณ์สองฉากใน 12:1-14 ไม่ใช่สองเร่อื งทแ่ี ยกจากกนั เหมอื นเร่อื งเล่าในพระวรสารนกั บุญมาระโก
ซง่ึ เป็นแหล่งเน้ือหาขอ้ มลู ของเร่อื งน้ี (มก. 2:23-3:6) หรอื เป็นเหมอื นบทแปลและบทสรุปย่อ ทอ้ งเร่อื งส่วนใหญ่มี

289

ลกั ษณะเป็นหน่ึงเร่อื งราว ท่มี เี หตุการณ์สองฉาก เหมอื นตอนท่พี ระเยซูเจา้ ทรงเรยี กบรรดาศษิ ย์ใหต้ ดิ ตามใน
4:18-22 โดยทงั้ สองฉากประกอบกนั เป็นทอ้ งเรอ่ื งเดยี วกนั

นักบุญมทั ธวิ กล่าวถงึ วนั สบั บาโตเป็นครงั้ แรกในท่นี ้ี โดยใชเ้ น้ือหาเก่ยี วกบั วนั สบั บาโตทงั้ หมดท่ที ่าน
ได้มารวบรวมไว้ในบทน้ี แสดงความขดั แย้งระหว่างชาวยวิ กบั ชาวครสิ ต์ ในหลายระดบั สะท้อนออกมาจาก
เร่อื งราวท่แี สดงในรูปประโยคกาลปัจจุบนั คอื ตงั้ แต่คาสอนและแนวปฏบิ ตั ดิ งั้ เดมิ ของพระเยซูเจา้ , การใชเ้ ร่อื ง
เลา่ น้บี อกเล่าความขดั แยง้ ระหวา่ งชาวครสิ ตแ์ ละศาสนายดู าย ซง่ึ เป็นเรอ่ื งราวในธรรมประเพณแี บบเรอ่ื งเล่า ปาก
ต่อปาก ก่อนสมยั นกั บุญมาระโก, ในพระวรสารนกั บุญมาระโก และในพระวรสารนักบญุ มทั ธวิ ซง่ึ วเิ คราะหพ์ บได้
จากการพจิ ารณาตคี วามหมายของเน้อื หาน้ตี ามลกั ษณะรปู แบบสดุ ทา้ ยในพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ (ดู บทนา)

คงจะเป็นความเขา้ ใจผดิ ถา้ มองแต่เพยี งผวิ เผนิ และเป็นเรอ่ื งงา่ ยเกนิ ไปหากเราพยายามตคี วามเน้ือหาสว่ น
น้วี า่ เป็นความขดั แยง้ ระหวา่ งความเครง่ ครดั กฎหมายของชาวยวิ กบั ความเป็นอสิ ระจากกฎหมายของพระเยซูเจา้
หรอื พระศาสนจกั ร ในการตคี วามเน้ือหาสว่ นน้ี อนั ดบั แรก เราจะตอ้ งรถู้ งึ นยั ยะความหมายของคาวา่ วนั สบั บาโต
ในชวี ติ ของชาวยวิ ช่วงศตวรรษทห่ี น่ึง วนั สบั บาโตไม่ไดเ้ ป็นแค่เพยี งสว่ นหน่ึงในบญั ญตั สิ บิ ประการของพระเป็น
เจา้ ซง่ึ เป็นกฎหมายพนั ธสญั ญาทเ่ี ป็นพน้ื ฐานสาคญั (อพย 20:8-11 และ ฉธบ 5:12-15 วนั สบั บาโตไดร้ บั การกลา่ วถงึ ใน
ฐานะบญั ญตั ขิ อ้ ทม่ี คี วามละเอยี ดซบั ซอ้ นมากทส่ี ดุ ) แต่ยงั เป็นสงิ่ ทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงบญั ชาใหป้ ฏบิ ตั แิ ละเป็นสง่ิ ทพ่ี ระองค์
ทรงอวยพรมาตงั้ แต่เรม่ิ สรา้ งสรรพสงิ่ (ปฐก 2:2-3) นับเป็นเวลาหลายศตวรรษทว่ี นั สบั บาโตคอื สญั ลกั ษณ์อนั โดด
เด่นของประชากรของพระเป็นเจา้ ทาใหพ้ วกเขาแตกต่างจากชนต่างศาสนา และเป็นพยานทม่ี นั่ คงถงึ ศรทั ธาท่ี
พวกเขามตี ่อพระเป็นเจา้ หน่ึงเดยี ว การรกั ษาวนั สบั บาโตไม่ใชส่ งิ่ ทาโดยผวิ เผนิ หรอื งา่ ยๆ สบายๆ เมอ่ื ถูกบงั คบั
ขเู่ ขญ็ ชาวอสิ ราเอลทม่ี ใี จสตั ยซ์ ่อื จะยอมตายแทนทจ่ี ะยอมละเมดิ บญั ญตั ขิ องพระเป็นเจา้ ดว้ ยการดูหมน่ิ วนั สบั
บาโต สาหรบั ชาวยวิ ทเ่ี คารพเชอ่ื ฟังพระเป็นเจา้ วนั สบั บาโตคอื ความเบกิ บานใจ ไม่ใช่ภาระทต่ี อ้ งแบก วนั สบั บา
โตคอื วนั เวลาเฉลมิ ฉลองทพ่ี วกเขาไดห้ ยดุ พกั จากการทางาน วนั แหง่ การกนิ ด่มื ซง่ึ เป็นสงิ่ ทท่ี าไมไ่ ดใ้ นชว่ งทถ่ี อื
ศลี อดอาหาร นับตงั้ แต่เรมิ่ ต้น (ฉธบ 5:14-15) กฎหมายน้ีแสดงถงึ องค์ประกอบท่เี ป็นความยุตธิ รรมในสงั คม ทาส
และผรู้ บั ใชท้ งั้ หลายจะไดร้ บั การพกั ผ่อนอย่างทพ่ี วกเขาตอ้ งการจรงิ ๆ และเป็นสง่ิ ท่ไี ม่ควรพรากไปจากพวกเขา
สว่ นคนยากจนหวิ โหยกไ็ ดเ้ ขา้ ร่วมการกนิ ดม่ื นนั้ ดว้ ย

เน่ืองจากวนั สบั บาโตเป็นแก่นกลางของชวี ติ ชาวยวิ การรกั ษากฎขอ้ น้ีจงึ เป็นสง่ิ สาคญั มาก หากมองผ่าน
มุมมองของพระคมั ภีร์ซ่ึงค่อนข้างคลุมเครอื ว่า อะไรคือการทางาน ธรรมประเพณีท่ีได้รบั การสนับสนุนจาก
กฎหมายทางศาสนาไดพ้ ฒั นาขน้ึ มาเพ่อื ชน้ี าให้ทาการเฉลมิ ฉลองวนั สบั บาโตอย่างถูกต้อง (ดูขอ้ คดิ เหน็ ของ 15:1-20)
ขอ้ ควรพจิ ารณาเกย่ี วกบั มนุษยธรรมนนั้ คอื เร่อื งสาคญั สงู สดุ ธรรมประเพณีของชาวยวิ ไดต้ ดั สนิ แลว้ วา่ “บญั ญตั ิ
ท่สี ่งผลต่อความสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์” ต้องมาก่อน(เป็นพ้ีนฐานในความเป็นจรงิ ) “บญั ญัตทิ ่เี ก่ยี วกบั ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งพระเป็นเจา้ กบั มนุษย”์ ดงั นนั้ ในศาสนายวิ จงึ ไมอ่ าจเขา้ ใจไดว้ า่ การยกเวน้ ไม่รกั ษาธรรมประเพณแี หง่ วนั
สบั บาโต เพราะความจาเป็นเป็นการละเวน้ พธิ กี รรมอนั ผวิ เผนิ เพ่อื ประโยชน์อนั ดงี ามของมนุษย์ แต่เพราะถอื ว่า
กฎหมายเก่ยี วกบั พธิ กี รรมเป็นสงิ่ สาคญั เป็นการถวายเกยี รตแิ ด่พระเป็นเจา้ อย่างไรกต็ าม พระเป็นเจ้ามพี ระ
ประสงคใ์ หม้ นุษยเ์ หน็ ความสาคญั ของการกระทาทม่ี มี นุษยธรรมเป็นพน้ื ฐานมากกว่าบทบญั ญตั ทิ เ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั
การถวายเกยี รตแิ ด่พระเป็นเจา้ ดงั นัน้ การละเวน้ ทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามธรรมประเพณีวนั สบั บาโตอยา่ งเครง่ ครดั เพอ่ื ทา
ประโยชน์แกม่ นุษยจ์ งึ เป็นการถวายเกยี รตแิ ด่พระเป็นเจา้ ดว้ ย ประเดน็ น้มี กี ารกลา่ วไวใ้ นศาสนายดู ายอยแู่ ลว้ แต่

290

ถงึ กระนนั้ การปฏบิ ตั จิ รงิ ยงั เป็นทถ่ี กเถยี งกนั รบั บบี างคนสอนว่าสามารถช่วยเหลอื สตั วท์ ่ีตกลงไปในบ่อน้าในวนั
สบั บาโตได้ แต่บางคน (รวมถงึ ชาว(ฤษ)ี เอสซนี <Essenes>) ปฏเิ สธการทาเช่นนัน้ ชาวยวิ บางส่วนเหน็ ว่าการรกั ษาโรค
ในวนั สบั บาโตเป็นสงิ่ ทส่ี ามารถทาได้ แต่บ้างกบ็ อกว่าเฉพาะในกรณีทก่ี ารเจบ็ ป่วยนัน้ รุนแรงจนอาจถงึ แก่ชวี ติ
เทา่ นนั้ แต่บางครงั้ ขอ้ หลงั น้ถี ูกนาไปตคี วามกนั แบบกวา้ งๆ วา่ ความหวิ โหยขาดอาหารเป็นอนั ตรายทค่ี ุกคามต่อ
ชวี ติ เหมอื นกนั

จากการพจิ ารณาแง่มุมต่างๆ ท่กี ล่าวมาน้ี เราควรจะมองว่าเหตุการณ์ในสองฉากใน 12:1-14 ซ่ึงนักบุญ
มทั ธวิ นามาเขยี นขน้ึ ใหม่น้ี เป็นภาพของพระเยซูกาลงั มสี ่วนร่วมในการถกเถยี งประเดน็ ท่ีว่าการรกั ษาวนั สบั บา
โตอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ไม่ควรมองวา่ ชาวครสิ ตป์ ฏเิ สธ “ความเครง่ กฎหมายของชาวยวิ ” นกั บุญมทั ธวิ ตงั้ ใจนา
เร่อื งราวเหล่าน้ีมาเขยี นข้นึ ใหม่เพ่อื เน้นว่าจุดยนื ของท่านไม่ใช่การปฏิเสธธรรมบญั ญัตหิ รอื วนั สับบาโต ท่าน
ไม่ไดเ้ ลย่ี งประเดน็ น้ี แต่เขา้ ไปมสี ่วนร่วมในการถกเถยี งทย่ี งั คงมอี ยู่ในศาสนายูดาย เหน็ ไดช้ ดั ว่านักบุญมทั ธวิ
ไมไ่ ดน้ าบญั ญตั ทิ เ่ี ป็นพธิ กี รรมมาแยง้ กบั บญั ญตั ดิ า้ นศลี ธรรม (ดู 5:17-48) ไม่ไดโ้ จมตวี นั สบั บาโตหรอื ธรรมบญั ญตั ิ
และไม่ได้มองว่าบญั ญัติเร่อื งวนั สับบาโตเป็นเพียงพธิ กี ารหรอื พธิ กี รรม แต่ยงั คงเห็นไม่ชดั เจนว่าชุมชนของ
นกั บุญมทั ธวิ โดยรวมยงั รกั ษาวนั สบั บาโตอยู่ (ดู 24:20) เพยี งแต่วธิ กี ารทน่ี กั บุญมทั ธวิ จดั การกบั เน้ือหาเร่อื งวนั สบั
บาโตจากพระวรสารนักบุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q ช้วี ่าวธิ กี ารรกั ษาวนั สบั บาโตยงั เป็นประเดน็ สาคญั ใน
ชมุ ชนของนกั บญุ มทั ธวิ

ใน 12:1 คาอธบิ ายท่เี จาะจงของนักบุญมทั ธวิ ท่กี ล่าวว่าบรรดาศษิ ย์ “กาลงั หวิ ” จะต้องพจิ ารณาอย่าง
จรงิ จงั ว่าเป็นสญั ลกั ษณ์เฉพาะของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ (ดู เทยี บ 4:2; 21:18; 25:35-44 ส่วนพระเยซูเจา้ ทรงหวิ เฉพาะ ใน 4:2
และ 21:18 เท่านัน้ ) ภาพทเ่ี หน็ ไม่ใช่บรรดาศษิ ย์ตวั อว้ นกาลงั กนิ ขนมอย่างเอรด็ อร่อย แต่เป็นภาพของผทู้ ่ี “สละแลว้
ทุกสง่ิ ” (4:20, 22; 19:27) เพอ่ื ตดิ ตามพระเยซูเจา้ พวกเขาเป็นคนยากจนและหวิ โหยอย่างแทจ้ รงิ ธรรมบญั ญตั ริ ะบุ
ไวว้ ่าคนเช่นนนั้ สามารถเกบ็ เมลด็ พชื ในไร่นาทไ่ี ม่ไดเ้ ป็นของพวกเขาเพอ่ื นามากนิ เป็นอาหารได้ (ฉธบ. 23:23-25)
แต่ประเดน็ คอื ทาเชน่ น้ีในวนั สบั บาโตไดห้ รอื ไม่ ชาวฟารสิ ใี นทน่ี ้ีใสใ่ จกบั เรอ่ื งการถวายเกยี รติแด่พระเจา้ ดว้ ยการ
รกั ษาวนั สบั บาโตอย่างถูกต้อง (ไม่ใช่การเคร่งครดั ต่อกฎหมายทเ่ี ป็นนิสยั ส่วนบุคคล) เม่อื มองผ่านเร่อื งราวน้ี ปัญหา
ของพวกเขาคอื พวกเขาไมใ่ สใ่ จกบั พระประสงคท์ แ่ี ทจ้ รงิ ของพระเป็นเจา้ ทอ่ี ยใู่ นธรรมบญั ญตั เิ รอ่ื งวนั สบั บาโต ซง่ึ
กค็ อื ความมเี มตตา โดยเฉพาะตอ่ คนยากจนและอดอยากหวิ โหย

ใน 12:2 นักบุญมทั ธวิ ละเวน้ คาถาม “ทาไม” จากพระวรสารนักบุญมาระโก ผลกค็ อื ชาวฟารสิ ไี ม่ไดต้ งั้
คาถาม แตก่ ล่าวหา ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ เรอ่ื งความขดั แยง้ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อเน้ือหาใน 11:20-12:14

ใน 12:3-4 เร่อื งราวของกษัตรยิ ์ดาวดิ ใน 1ซมอ. 21:1-6 ไม่ได้เกิดข้นึ ในวนั สับบาโต แต่บรรดารบั บี
ตคี วามเช่นนัน้ โดยอนุมานจาก ลนต. 24:8 ซง่ึ นักบุญมทั ธวิ เขา้ ใจดวี ่าสงิ่ น้ีคอื มุมมองของรบั บี แต่พระเยซูเจา้ ก็
ทรงเหมอื นกบั กษตั รยิ ด์ าวดิ ตรงทเ่ี ขา้ ใจบญั ญตั เิ กย่ี วกบั วนั สบั บาโตในบรบิ ททเ่ี ป็นเจตนารมณ์อนั แทจ้ รงิ ของพระ
เป็นเจา้ คอื พระเมตตาของพระองคท์ ม่ี ตี ่อคนยากจนและหวิ โหย พระเยซูเจา้ เป็นบุตรแห่งกษตั รยิ ด์ าวดิ แต่ทรง
ยง่ิ ใหญ่กว่ากษตั รยิ ์ดาวดิ (ดู เทยี บ 1:2-25; 22:41-46) หากกษตั รยิ ์ดาวดิ สามารถลบลา้ งบทบญั ญตั ดิ า้ นพธิ กี รรมท่ี
เป็นมาตรฐานเพ่อื ประโยชน์อนั ดงี ามแก่มนุษยไ์ ด้อย่างถูกตอ้ งตามหลกั การ (ตามความเขา้ ใจแบบรบั บซี ง่ึ รวมถงึ วนั สบั บาโต
ดว้ ย) และละเมดิ ความศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องวหิ ารพระเป็นเจา้ ได้ พระเยซูเจา้ จะทรงมสี ทิ ธทิ ์ ามากมายยง่ิ กวา่ นนั้ สกั เพยี งใด
ขอ้ โต้แยง้ ดงั กล่าวมไี วเ้ พ่อื สรา้ งความกระจ่างและเสรมิ ความแขง็ แกร่งใหก้ บั ศรทั ธาของคนในศาสนา ไม่ใช่ ทา

291

เพ่อื ใหค้ นต่างศาสนาเช่อื ประเดน็ น้ีมคี วามหมายทางครสิ ตศาสตร์ โดยยดึ ถอื ตามมุมมองเกย่ี วกบั พระเยซูเจ้า
และสถานะของพระองคต์ ามความเชอ่ื ของชมุ ชนชาวครสิ ต์ ซง่ึ ไมเ่ หมอื นกบั ของคนนอก การทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงอยู่
ในสถานะของบุตรแห่งกษตั รยิ ด์ าวดิ และพระบุตรของพระเป็นเจา้ ผทู้ รงอานาจ คอื เหตุผลทร่ี องรบั ขอ้ โต้แยง้ น้ี
ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งความขดั แยง้ ระหวา่ งสามญั สานกึ ดา้ นมนุษยธรรมกบั ความเครง่ ครดั ในบทบญั ญตั ขิ องชาวยวิ

ใน 12:5-7 ในขอ้ โต้แยง้ ของรบั บี บทอธบิ ายหนังสอื ปัญจบรรพ (Halakah) ไม่อาจกาหนดโดยยดึ ตามเร่อื ง
เล่า (Haggadah) แต่ตอ้ งมหี ลกั การทช่ี ดั เจนจากหนงั สอี ปัญจบรรพรองรบั ภายใตเ้ งอ่ื นไขตามบรบิ ทของรบั บี นกั
บุญมทั ธวิ จงึ เพม่ิ ตวั อย่างจาก กดว. 28:9-10 (ดู ขอ้ โต้แยง้ แบบเดยี วกนั ยน. 7:22) เน่ืองจากสมณะทาพธิ ถี วายบูชาพระ
เป็นเจา้ ตามบทบญั ญตั ขิ องวนั สบั บาโต การถวายบูชานัน้ จงึ ยง่ิ ใหญ่กว่าวนั สบั บาโต แต่ความเมตตานัน้ ยงิ่ ใหญ่
กว่าการถวายบูชา เพราะถอ้ ยคาทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงประกาศนนั้ กล่าวไวอ้ ย่างชดั เจน (ฮชย. 6:6 ดู เทยี บ ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์
9:13) ดงั นนั้ ความเมตตาจงึ ยงิ่ ใหญ่กวา่ วนั สบั บาโต

คาประกาศทว่ี ่า “บางสง่ิ ” ท่ยี งิ่ ใหญ่กว่าพระวหิ ารอย่ทู น่ี ่ีแลว้ เป็นเน้ือหาท่ีนักบุญมทั ธวิ ปรบั มาจากสตู ร
ของเอกสารแหล่ง Q (ดู เทยี บ 12:41-42) และไม่ไดส้ ่อื ถงึ พระบุคคลของพระเยซูเจา้ เพยี งอย่างเดยี ว (คาในภาษากรกี ไม่
ระบุเพศ) ในเอกสารแหล่ง Q คาน้ีอาจหมายถงึ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงประกาศถงึ และทรง
เป็นตวั แทน ในท่นี ้ี ความหมายนัน้ อยู่ในขอ้ ความท่เี ป็นประโยคปลายเปิดมากขน้ึ และส่อื ในเชงิ กระตุ้นเรา้ ถงึ
บญั ญตั แิ ห่งวนั สบั บาโตทม่ี าจากพระเมตตาในพระหทยั ของพระเป็นเจา้ หรอื พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ เมอื่ ตน
ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามพระบญั ญตั ิ (ดู เทยี บ 23:23 ทก่ี ล่าวถงึ การบรจิ าคทรพั ย)์ ซ่งึ มกี ารอธบิ ายอย่างละเอยี ดในประโยคต่อมา เรา
ควรตงั้ ขอ้ สงั เกตอยา่ งชดั เจนวา่ พระเยซูเจา้ ไมไ่ ดก้ ล่าวว่า “บางสง่ิ ทย่ี งิ่ ใหญ่กวา่ หนงั สอื ปัญจบรรพ” อยทู่ น่ี ่ี เพราะ
ไม่มกี ารตอ่ ตา้ นหรอื โจมตหี นงั สอื ปัญจบรรพในเน้ือหาสว่ นน้ีเลย

น่ีเป็นครงั้ ท่สี องท่ีนักบุญมทั ธวิ เพม่ิ ขอ้ ความท่อี ้างถงึ ฮชย. 6:6 ลงไปในเน้ือหาจากพระวรสารนักบุญ
มาระโก (ดู 9:13) ในความขดั แยง้ กบั ชาวฟารสิ คี รงั้ ก่อน พระเยซูเจ้าทรงสงั่ ใหพ้ วกเขา “เรยี นรู”้ ว่าสงิ่ น้ีหมายถงึ
อะไร ผูอ้ ่านรูถ้ งึ คาเช้อื เชญิ ของพระเยซูเจา้ ว่าการ “เรยี นรูจ้ ากพระองค์” คอื “แอกท่เี บา” ซ่งึ แตกต่างอย่างตรง
ขา้ มกบั การตคี วามทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยภาระหนกั อง้ึ ของชาวฟารสิ ี (11:29) ชาวฟารสิ ไี มย่ อมรบั การทรงเรยี กของพระองค์
พวกเขายงั คงไมเ่ รยี นรู้

ใน 12:8 ไม่เพยี งแต่พระเยซูเจา้ เป็นบุตรแห่งดาวดิ ซง่ึ ยง่ิ ใหญ่กวา่ เท่านนั้ แต่พระองคท์ รงใชอ้ านาจในฐานะ
พระบตุ รของพระเป็นเจา้ ในการตดั สนิ พพิ ากษาโลกอกี ดว้ ย (ดู ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์ 9:6 และบทเสรมิ เรอ่ื ง “ครสิ ตศาสตรข์ องมทั ธวิ ”)

ใน 12:9-14 เร่อื งราวดาเนินต่อไปในอกี ฉากหน่ึง เป็นครงั้ แรกในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรง
ปรากฏตวั ในศาลาธรรม ยกเวน้ ในขอ้ ความท่กี ล่าวสรุปใน 4:23 และ 9:35 (อกี ท่หี น่ึง มเี พยี งใน 13:54) ในพระวรสาร
นกั บุญมทั ธวิ ศาลาธรรมไดเ้ ป็นสถานทซ่ี ง่ึ เกดิ พฤตกิ รรมแปลกแยกและมกี ารเผชญิ หน้าเสมอ (ดู เทยี บ ลก. 4:16; 6:6;
13:10) มกี ารเตมิ คาวา่ “ของพวกเขา” ต่อทา้ ยคาวา่ ศาลาธรรมในพระวรสารนกั บญุ มาระโก พระเยซูเจา้ ทรงถกู ยวั ่ ยุ
ดว้ ยคาถามท่เี จตนาจะทดสอบพระองค์ ไม่ไดแ้ ค่ถูกจบั ตามองเท่านัน้ เช่นเดยี วกบั ในพระวรสารนักบุญมาระโก
ฉากน้ีมโี ครงสรา้ งเหมอื นเดมิ และชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ฉากทผ่ี ่านมา “คาถาม” ของชาวฟารสิ นี นั้ เตม็ ไปดว้ ยความประสงค์
รา้ ย ไม่ได้ถามเพ่อื ขอขอ้ มูลหรอื เพ่อื การอภปิ รายประเด็นปัญหาในธรรมบญั ญัติ แต่เพ่อื จะได้ตงั้ ขอ้ หาจบั ผดิ
พระองค์ คาว่า “kategoreo” เป็นศพั ท์เฉพาะทางกฎหมายทเ่ี ก่ยี วกบั กระบวนการยุตธิ รรมในศาล อย่างไรกต็ าม
การละเมดิ วนั สบั บาโตไมม่ โี ทษถงึ ประหารชวี ติ และไมม่ บี ทบาทต่อคดขี องพระเยซูเจา้ ใน 26:57-75 นกั บุญมทั ธวิ

292

ตงั้ ใจนาฉากน้ีจาก มก. 3:1-6 มาสรา้ งขน้ึ ใหม่อย่างระมดั ระวงั ใหก้ ลายเป็นการโตแ้ ยง้ เก่ยี วกบั การรกั ษาวนั สับ
บาโตอยา่ งถูกตอ้ ง ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งทว่ี า่ วนั สบั บาโตหรอื หนงั สอื ปัญจบรรพชอบดว้ ยกฎหมายหรอื ไม่ เขาละทง้ิ ขอ้ ความ
ทส่ี อ่ื ถงึ ความโกรธในพระวรสารนักบุญมาระโกและนาคาพดู ทส่ี ะทอ้ นอย่ใู นบรบิ ทอ่นื ๆ ของเอกสารแหล่ง Q มา
ใส่ไว้ตรงน้ีแทน (ดู เทยี บ ลก. 13:15; 14:5) ซ่ึงทาให้พระเยซูเจ้าทรงเป็นผู้สนับสนุนการตีความธรรมประเพณีของ
ศาสนายวิ ในเชงิ เสรมี ากขน้ึ ซง่ึ อาจเป็นสงิ่ ทช่ี าวบา้ นหรอื ชาวไร่ชาวนาในแควน้ กาลลิ ปี ฏบิ ตั กิ นั อย่แู ลว้ และอาจ
สนั นิษฐานไดว้ า่ เป็นสง่ิ ทน่ี ิยมปฏบิ ตั กิ นั โดยทวั่ ไป ไม่ว่าผนู้ าทเ่ี ป็นชาวฟารสิ จี ะมคี วามเหน็ อย่างไรกต็ าม บทสรุป
นัน้ อยู่ในรูปคาตดั สนิ ของรบั บี (ว. 12ข) อย่างไรก็ตาม ชาวฟารสิ ีได้เปิดเผยตวั ตนท่แี ท้จรงิ ของพวกเขาด้วยการ
ตดั สนิ ใจท่จี ะสงั หารพระเยซูเจ้า หากมองในแง่ของบนั ทึกทางประวตั ิศาสตร์ สง่ิ น้ีอาจดูเป็นการตอบสนองท่ี
รุนแรงเกนิ จรงิ ในสายตาของผอู้ ่านยุคใหม่ แต่ในระดบั ทเ่ี ป็นเร่อื งราวของนักบุญมทั ธวิ เร่อื งเล่าน้ีแสดงใหเ้ หน็ ถงึ
ความขดั แยง้ ระหว่างสองอาณาจกั ร ซ่งึ เป็นแนวคดิ หลกั ประการหน่ึงของเร่อื งท่ผี ูอ้ ่านอาจสงั เกตรูไ้ ด้ (ดู ขอ้ ศกึ ษา
วพิ ากษ์ 12:22-37 และบทเสรมิ เร่อื ง “พระอาณาจกั รสวรรค์ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ”) แต่ว่าตวั ละครในเร่อื งไม่รูว้ ่าแผนการน้ีจะ
สาเรจ็ หรอื ไม่ ดงั นนั้ เม่อื เน้ือหาสะทอ้ นถงึ ความขดั แยง้ ในสว่ นน้ีดาเนนิ มาถงึ จุดสงู สดุ ของเร่ือง เงาแหง่ ไมก้ างเขน
กท็ าบลงมาทนั ที

ข้อคิดไตร่ตรอง
1. ในประวตั ศิ าสตรก์ ารตคี วามของชาวครสิ ต์ เน้ือหาน้ีถูกนามาบงั คบั ใหเ้ ช่อื มโยงกบั คาถามทว่ี ่าวนั อาทติ ย์

เราสามารถทาสง่ิ ใดไดบ้ า้ ง การทางานในวนั อาทติ ยไ์ ม่เคยเป็นปัญหาจนกระทงั่ ถงึ สมยั จกั รพรรดคิ อนสแตนตนิ
(ศตวรรษท่ี 4) ซ่งึ ไดท้ รงตรากฎเกย่ี วกบั วนั สบั บาโตในพระคมั ภรี ถ์ ูกนามาใชก้ บั การฉลองวนั อาทติ ยข์ องชาวครสิ ต์
เป็นการตีความแบบบงั คบั (Hermeneutical Violence) การกาหนดให้วนั ของพระเป็นเจ้า (วนั อาทิตย์) เป็นการ
ฉลองการกลบั คนื พระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้ และตามธรรมเนยี มแลว้ เน้นทก่ี ารรว่ มถวายบชู าดว้ ยการรวมตวั กนั
ของผคู้ นในชุมชนชาวครสิ ต์ ซง่ึ แตกต่างจากวนั สบั บาโตของชาวยวิ (วนั เสาร)์ ซง่ึ เน้นทก่ี ารพกั ผอ่ นจากการทางาน
และกนิ ด่มื อย่างเฉลมิ ฉลอง แต่ความคล้ายคลงึ กนั ระหว่างเน้ือหาเก่ยี วกบั วนั สับบาโตและการปฏิบตั ขิ องชาว
ครสิ ต์ ไม่ใช่ประเด็นท่วี ่าสง่ิ ใดบ้างท่ีกฎหมายอนุญาตให้ทาในวนั แห่งการพกั ผ่อน นัน่ คอื เป็นสง่ิ ท่ีเราควรคดิ
พจิ ารณาว่าในสถานการณ์ของเรานัน้ สงิ่ ใดบา้ งท่เี ป็นความเมตตามากกว่าการถวายบูชา แทนทจ่ี ะปฏเิ สธ เรา
ควรพจิ ารณาว่าจะนาธรรมบญั ญตั ขิ องพระเป็นเจา้ มาใชก้ บั สงิ่ ใดไดบ้ า้ ง เป็นการกระทาทงั้ ครบ หรอื เป็นกจิ การท่ี
ไม่ละเวน้ การทต่ี อ้ งปฏบิ ตั กิ จิ การดแี ละดาเนินการอย่างดี ถูกตอ้ งสอดคลอ้ งกบั พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ เป็น
สาคญั เพอ่ื ใหค้ วามรกั และพระเป็นเจา้ เป็นแกน่ กลางแหง่ ชวี ติ

2. เราจะผดิ พลาด หากเขา้ ใจว่าเน้ือหาสว่ นน้ีเป็นการยอมรบั มนุษยธรรมตามหลกั สามญั สานึกและต่อตา้ น
การเคร่งครดั กฎ ข้อบังคบั กับเร่อื งเล็กๆ น้อยๆ นักบุญมทั ธิวไม่ได้มองว่าหนังสือปัญจบรรพโดยรวมหรือ
กฎเกณฑเ์ กย่ี วกบั วนั สบั บาโตเป็นเพยี งเร่อื งเลก็ น้อย หยมุ หยมิ (5:17-21) เน้ือหาเกย่ี วกบั “ความเมตตา ไมใ่ ชก่ าร
ถวายบูชา” จาก ฮชย 6:6 นนั้ ไม่ใชก่ ารลม้ ลา้ งหรอื ปฏเิ สธระบบการถวายบูชาและพธิ กี รรมอ่นื ๆ ในการนมสั การ
พระเป็ นเจ้า แต่เป็นวิธีการในภาษาตระกูลอาหรบั -ฮีบรูท่ีใช้แสดงถึงลาดับความสาคญั คือความเมตตามี
ความสาคญั มากกวา่ การถวายบชู า (มธ. 5:23-24 แสดงถงึ การยอมรบั ระบบพธิ กี รรมการถวายบชู าอยแู่ ลว้ ) ตลอดทงั้ สว่ นน้ี กฎของ
วนั สบั บาโตไม่ไดถ้ ูกตดั สนิ โดยสามญั สานึก แต่โดยอานาจของบุตรแห่งมนุษย์ (12:8) ผซู้ ง่ึ พระบดิ าเจา้ ไดป้ ระทาน

293

ฤทธานุภาพเหนือทุกสง่ิ ให้ (11;27; ดู เทยี บ 9:6; 28:18ข) เช่นเดยี วกบั คาเทศน์สอนบนภูเขา เน้ือหาส่วนน้ีมกี าร
ยืนยันความถูกต้องของหนังสือปัญจบรรพ แสดงให้เห็นพระองค์ผู้ตรสั ถ้อยคาเหล่านัน้ มีอานาจเหนือกว่า
องค์ประกอบท่สี าคญั ท่สี ุดในการตคี วามสาหรบั ยุคสมยั ปัจจุบนั คอื สง่ิ ท่สี ะท้อนอยู่ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ
ทงั้ หมด กล่าวคอื พระองคท์ รงดารสั ดว้ ยพระราชอานาจทเ่ี หนือกว่าทุกสง่ิ ทรงเป็นตวั แทนของพระเมตตาทพ่ี ระ
เป็นเจา้ มตี อ่ ผหู้ วิ โหย และสงิ่ น้มี คี วามยงิ่ ใหญ่กวา่ พระวหิ าร

มทั ธวิ 12:15-21 กษตั รยิ ผ์ ทู้ รงรบั ใช้

พระเยซูเจ้าทรงเป็น “ผ้รู บั ใช้ของพระยาห์เวห”์
15 พระเยซูเจา้ ทรงทราบเรอ่ื งน้ี จงึ เสดจ็ ไปจากทน่ี นั่ ผคู้ นจานวนมากตดิ ตามพระองคไ์ ป พระองคท์ รงรกั ษาทุกคนใหห้ าย

จากโรค 16 แตท่ รงกาชบั เขามใิ หแ้ พรง่ พรายใหผ้ ใู้ ดรู้ 17 ทงั้ น้ี เพอ่ื ใหพ้ ระวาจาทต่ี รสั ทางประกาศกอสิ ยาห์ เป็นความจรงิ วา่
18 นีค่ อื ผรู้ บั ใชท้ เี่ ราไดเ้ ลอื กสรรไว้
นีค่ อื ผทู้ เี่ รารกั ซงึ่ เราโปรดปราน
เราจะใหจ้ ติ ของเราแก่เขา
และเขาจะประกาศความยตุ ธิ รรมแก่นานาชาติ
19 เขาจะไมท่ ะเลาะววิ าท และจะไมส่ ง่ เสยี งเอด็ องึ
จะไมม่ ใี ครไดย้ นิ เสยี งของเขาตามลานสาธารณะ
20 เขาจะไมห่ กั ตน้ ออ้ ทชี่ ้าแลว้
เขาจะไมด่ บั ไสต้ ะเกยี งทยี่ งั รบิ หรอี่ ยู่
21 จนกวา่ เขาจะทาใหค้ วามยตุ ธิ รรมมชี ยั ชนะ
นานาชาตจิ ะมคี วามหวงั ในนามของเขา

ข้อศึกษาวิพากษ์
ใน 12:15 ความขดั แย้งซ่ึงเรมิ่ เกิดข้นึ ในพนั ธกิจของพระเยซูเจ้าใน 9:1-8 มาถึงจุดสูงสุดใน 12:14 เม่ือ

ชาวฟารสิ ตี ดั สนิ ใจจะสงั หารพระองค์ พระเยซูเจา้ ไดท้ รงตอบสนองต่อการคุกคามน้ีโดย “ถอยจากไป” การถอย
จากไปไมใ่ ชก่ ารยอม แตเ่ ป็นการกลบั ไปทางานรกั ษาผคู้ น และยงั ทรงทาเชน่ นนั้ ในวนั สบั บาโตต่อไป พระเยซูเจา้
ทรงรกั ษา แทนทจ่ี ะตอบโต้ นกั บุญมทั ธวิ ไดท้ าใหร้ ปู แบบทเ่ี กดิ ขน้ึ ซ้าๆ น้ีเป็นตวั อย่างของระบบทางครสิ ตศาสตร์
ทม่ี คี าวา่ “การถอนตวั ” (Anachoreo) เป็นคาหลกั ในเชงิ เทวศาสตร์ “การถอยจากไป” (Withdrawal) เมอ่ื เผชญิ หน้า
กบั การขม่ ขคู่ ุกคามไม่ใช่เร่อื งของความขข้ี ลาดและไม่ใช่กลยุทธ์ แต่เป็นการตอบสนองของพระเป็นเจา้ ต่อความ
รุนแรงของมนุษย์ ซง่ึ ในท้ายท่สี ุดจะนาไปส่กู างเขน ทซ่ี ่งึ ความรุนแรงของมนุษยจ์ ะเผชญิ กบั การสละตวั ตนของ
พระเยซูเจา้ พระองค์ทรงเตม็ ใจยนิ ยอมถูกผลกั ออกจากโลกน้ีและไปอย่บู นกางเขน ในทน่ี ้ีเราไม่ไดเ้ หน็ การสละ

294

สทิ ธใิ ์ นอานาจสูงสุดของพระเป็นเจ้า แต่เป็นการสรา้ งคาจากดั ความใหม่ให้กบั คานัน้ เป็นการท่ีชาวครสิ ต์ให้
ความหมายใหม่กบั คาว่าพระครสิ ต์ ในฐานะของพระเยซูเจา้ ผทู้ รงยอมทุกขท์ รมานดว้ ยน้ามอื ของศตั รแู ทนทจ่ี ะ
ทาใหพ้ วกเขาต้องทุกขท์ รมานด้วย ความเมตตาด้วยการไม่โต้ตอบน้ีเป็นสง่ิ ท่ี “บุตรแห่งมนุษย์” ผู้ทรงอานาจ
สงู สุดไดส้ อน (5:38-48) และไดป้ ฏบิ ตั จิ รงิ (26: 50-54) พระองคไ์ ด้ทรงแสดงอานาจแห่งพระเป็นเจา้ และเราด้วยการ
ยอมทกุ ขท์ รมานดว้ ยความรกั (16:21-23; 17:22-23; 20:17-19; 26:2)

สาหรบั 12:16-17 ในพระวรสารนักบุญมาระโกมกี ารสงั่ ใหม้ ารรา้ ยทช่ี ้วี ่าพระเยซูเจา้ คอื ใคร เงยี บเสยี งลง
ซ่ึงสอดคล้องกบั แนวคดิ ทางเทวศาสตร์ของนักบุญมาระโกเก่ยี วกบั “ความลบั แห่งพระเมสสยิ าห์” แต่นักบุญ
มทั ธวิ ไมไ่ ดเ้ หน็ ดว้ ยกบั มมุ มองน้ี (ดบู ทเสรมิ เรอ่ื ง “ครสิ ตศาสตรข์ องมทั ธวิ ”) ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ คาสงั ่ วา่ อยา่ ใหใ้ คร
รวู้ ่าพระองคเ์ ป็นใครเป็นสงิ่ ทต่ี รสั กบั ผทู้ พ่ี ระองคท์ รงรกั ษา เป็นความเขา้ ใจของนกั บุญมทั ธวิ เกย่ี วกบั มติ หิ น่ึงของ
พระเยซูเจา้ ในฐานะผรู้ บั ใชท้ ถ่ี ่อมตนของพระเป็นเจา้ เช่นเดยี วกบั ผรู้ บั ใชอ้ กี คนหน่ึงคอื ประกาศกอสิ ยาห์ พระ
เยซูเจา้ ทรงทางานของพระองคอ์ ย่างเงยี บๆ หลกี เลย่ี งการเป็นข่าวและคาสรรเสรญิ เหน็ ไดจ้ ากสตู รการอ้างองิ
ขอ้ ความทเ่ี ป็นขอ้ สรุป

ใน 12: 18-21 ขอ้ ความทอ่ี า้ งองิ จากพระคมั ภรี น์ ้ี เป็นขอ้ ความอา้ งองิ ท่ยี าวทส่ี ุดในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ
และเป็นสาระทอ่ี ยใู่ นสว่ นทเ่ี ป็นจุดเช่อื มประสานสาคญั ในโครงสรา้ งของพระวรสาร คอื เป็นบทสรปุ ของสว่ นทห่ี น่ึง
(ดูบทนา) แมว้ ่าเน้ือหาจะเช่อื มโยงกบั บรบิ ทโดยตรง แต่สาระใจความกม็ สี งิ่ ท่อี ยู่นอกเหนือไปจากบรบิ ทและทา
หน้าทเ่ี ป็นบทสรุปใหก้ บั พนั ธกจิ โดยรวมของพระเยซูเจา้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ เช่นเดยี วกบั สตู รการอา้ งองิ
พระคมั ภรี ์อ่นื ๆ ต่างก็มรี ูปแบบเน้ือหา (Textual Form) ของสาระเร่อื งเล่าของตวั เอง ซ่ึงใกลเ้ คยี งกบั ฉบบั MT
มากกว่าฉบบั เจบ็ สบิ (LXX) และไดม้ กี ารปรบั เปลย่ี นโดยนาเสนอแทรกความหมายทางครสิ ตศาสตรข์ องนักบุญ
มทั ธวิ ประเดน็ สาคญั ๆ มดี งั ต่อไปน้ี
(1) จดุ เช่อื มโยงกบั บรบิ ท คอื ธรรมชาตกิ ารปลกี ตวั ของผรู้ บั ใช้ของพระเป็นเจา้ หลกี เลย่ี งการทะเลาะเบาะแวง้

และการประกาศตน(อวดตวั )เป็นทร่ี จู้ กั แต่ใหเ้ กดิ การยอมรบั อยา่ งเงยี บๆ แมแ้ ต่ผทู้ ถ่ี ูกคนอ่นื ปฏเิ สธ ตน้ ออ้
ทห่ี กั หรอื บอบช้า “ไม่มปี ระโยชน์อะไร” มนั เป็น “ขยะ” ส่วนไสต้ ะเกยี งทพ่ี ่นควนั ใกลจ้ ะดบั กม็ กั จะถูกโยน
ทง้ิ ไปหรอื ตดั ออก แต่พระบุตรของพระเป็นเจา้ หรอื ผรู้ บั ใชข้ องพระเป็นเจา้ จะไม่ปฏเิ สธผใู้ ดเลย เหน็ ไดจ้ าก
การทพ่ี ระเยซูเจ้าทรงเรยี กผูค้ นท่ไี ม่ไดร้ บั การยอมรบั จากผูม้ อี านาจในศาสนาใหม้ าเป็นศษิ ย์ของพระองค์
(11:25-30)
(2) ขอ้ ความอา้ งองิ น้ี มาจาก อสย 42:1-4 (และ 9) ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ภาพผรู้ บั ใชข้ องพระเป็นเจา้ เน้ือหาสว่ นน้ีถูก
มองว่ามีความเก่ียวข้องกับพระเมสสิยาห์อยู่แล้ว ในพระคัมภีร์ฉบับท่ีแปลเป็ นภาษาอราเมอิก
("Targum", Hebrew: ‫ )תרגום‬มกี ล่าวไวว้ า่ “จงมองดพู ระเมสสยิ าห์ ผรู้ บั ใชข้ องเราเถดิ ” เพราะ “ดาวดิ ผรู้ บั ใชข้ อง
เรา” เป็นขอ้ ความทพ่ี บไดบ้ อ่ ยในพระคมั ภรี ์ คาน้จี งึ สอ่ื ความหมายโดยนยั ถงึ กษตั รยิ ด์ าวดิ ดว้ ย นกั บุญมทั ธวิ
ตคี วามพระเยซูเจา้ ดว้ ยถอ้ ยคาเก่ยี วกบั กษตั รยิ ์ดาวดิ แต่ท่านเขา้ ใจดวี ่าพระบุตรของพระเป็นเจา้ /บุตรแห่ง
กษตั รยิ ์ดาวดิ ผูท้ รงอานาจนัน้ คอื ผเู้ ดยี วกนั กบั ผรู้ บั ใชท้ ่นี อบน้อมของพระเป็นเจา้ (11:29; 21:5) ผูท้ รงรกั ษา
ผอู้ ่นื และยอมทนทุกขท์ รมานเพอ่ื ผอู้ น่ื
(3) พระผูเ้ ป็นเจา้ คอื ผตู้ รสั ขอ้ ความน้ีในหนังสอื ประกาศกอสิ ยาห์ อธบิ ายถงึ ผูร้ บั ใชข้ องพระองค์ เช่นเดยี วกบั
เสียงท่ีดงั จากสวรรค์ในขณะท่ีพระเยซูเจ้าทรงรบั พิธีล้าง ซ่ึงมีการใช้คาศัพท์เก่ียวกบั ผู้รบั ใช้ (Servant

295

Vocabulary) ในบรบิ ทท่พี ระเป็นเจา้ ประทานพระจติ เจา้ ใหก้ บั พระเยซูเจ้า (3:16/12:18) คาประกาศจากพระ
เป็นเจ้าว่าพนั ธกิจของพระเยซูเจ้าในฐานะพระบุตร/ผู้รบั ใช้ของพระองค์นัน้ เป่ียมด้วยพระจติ เจ้าจงึ เป็น
วงเลบ็ ทางวรรณกรรมทล่ี อ้ มรอบพนั ธกจิ ทงั้ หมดของพระเยซูเจา้ (3:16-17/ 12:18; ดู เทยี บ 17:5 ปรบั มาจากพระวรสาร

นกั บุญมาระโก เพอ่ื ใหใ้ กลเ้ คยี งกบั คาศพั ทใ์ นหนงั สอื ประกาศกอสิ ยาหม์ ากขน้ึ )

(4) คาอา้ งองิ จากพระคมั ภรี ช์ ย้ี อ้ นกลบั ไปถงึ จดุ เรม่ิ ตน้ พนั ธกจิ ของพระเยซูเจา้ และชไ้ี ปถงึ อนาคตทเ่ี ป็นบทสรุป
คาพูดสุดท้ายในส่วนท่ีหน่ึงก่อให้เกิดความรู้สกึ เช่นเดียวกบั บทสรุปของส่วนท่ีสอง และของพระวรสาร
โดยรวมทงั้ หมด ซง่ึ กค็ อื การเผยแพรข่ า่ วดใี หก้ บั บรรดาประชาชาติ

(5) คาประกาศการตดั สนิ /ความยตุ ธิ รรมต่อชนต่างศาสนา/ประชาชาตทิ งั้ หลาย ไม่เพยี งแต่ทาใหเ้ ราคาดเดาถงึ
จดุ จบของพระวรสาร แต่รวมถงึ จุดเรมิ่ ตน้ ของสว่ นทส่ี องดว้ ย ซง่ึ เป็นตอนทผ่ี นู้ าชาวอสิ ราเอลปฏเิ สธพระเยซู
เจา้ และสารของพระองค์อย่างชดั เจนและ “เดด็ ขาด” จนกระทงั่ ถงึ จุดน้ีในพระวรสาร พระเยซูเจา้ และบรรดา
ศษิ ยข์ องพระองคไ์ ดป้ ระกาศเผยแพรข่ า่ วดใี นหม่ชู าวอสิ ราเอลเท่านนั้ แต่ขอ้ เสนอน้ีกลบั ถูกผนู้ าในศาสนายู
ดายปฏเิ สธ จงึ มกี ารก่อตวั ขน้ึ ของชุมชนใหม่ซง่ึ ประกอบดว้ ยสมาชกิ จากประชาชาตทิ งั้ หมด การอา้ งองิ สอง
ครงั้ ถงึ ประชาชาต/ิ ชนต่างศาสนา (ว. 18 และ 21) จงึ เป็นการคาดคะเนและมุง่ เน้นความสาคญั ของเรอ่ื งน้ี ผรู้ บั ใช้
ของพระเป็นเจา้ จะประกาศความยตุ ธิ รรมต่อชนตา่ งศาสนา เมอ่ื บรรดาศษิ ยข์ องพระองคส์ บื ทอดพนั ธกจิ ชาว
ครสิ ต์ต่อไปหลงั จากทพ่ี ระองคส์ น้ิ พระชนม์ โดยทพ่ี ระเยซูเจา้ ยงั คงประทบั อย่ดู ว้ ยดงั พระสญั ญา และมสี ่วน
รว่ มในการทางานของบรรดาศษิ ยข์ องพระองค์ (28:18-20; เทยี บ 25:31-46)

(6) ผู้รบั ใช้ของพระเป็นเจ้า แม้ว่าจะอ่อนน้อมและเงยี บสงบ ก็ยงั คงเป็นผู้ชนะ ความขดั แย้งท่ีนาไปสู่การ
สน้ิ พระชนมข์ องพระเยซูเจ้านัน้ ไดร้ บั การพยากรณ์ไว้ ผูอ้ ่านของนักบุญมทั ธวิ จะตดิ ตามพระเยซูเจา้ เขา้ สู่
เรอ่ื งราวความขดั แยง้ และพระมหาทรมานในสว่ นทส่ี อง และจะไดเ้ หน็ ทุกสง่ิ บงั เกดิ ขน้ึ ตามคาประกาศน้ี พระ
เยซูเจา้ ไม่ไดท้ รงเป็นเหย่อื แต่เป็นผชู้ นะ เหตุผลเบ้อื งหลงั การกระทาของพระองคจ์ ะไม่มที างนาไปสสู่ ง่ิ อ่นื
นอกจากชยั ชนะ แต่หนทางท่นี าไปสู่ชยั ชนะในระดบั จกั รวาลนัน้ คอื หนทางแห่งไม้กางเขน เป็นหนทางท่ี
ชวี ติ ตอ้ งประสบและกา้ วพน้ ตามแบบอย่างของพระเยซูเจา้ ในการพชิ ติ บาปและความตาย กล่าวคอื พระสริ ิ
รุ่งโรจน์ของพระเป็ นเจ้า จึงรวมความหมายถึง การรบั สภาพมนุษย์ การรบั พระมหาทรมาน โดยการ
สน้ิ พระชนม์ และการเสดจ็ กลบั คนื พระชนมชพี รวมถงึ การเสดจ็ สสู่ วรรคข์ องพระเยซูครสิ ตเจา้ ดว้ ย บรรดา
ศษิ ยจ์ ะไดร้ บั พระพรรว่ มในพระสริ ริ งุ่ โรจน์ โดยดาเนนิ ชวี ติ ตดิ ตามพระองคห์ รอื เป็นศษิ ยข์ องพระองค์

ข้อคิดไตรต่ รอง
แนวคดิ หลกั ของพระวรสารปรากฏขน้ึ อกี ครงั้ ในแงม่ ุมหน่ึง ตลอดช่วงเหตุการณ์ 11:20-12:14 โดยทางพระ

วาจาและกิจการ นาพาเราได้เห็นภาพของพระเยซูเจ้า ในฐานะผู้ทรงอานาจสูงสุดและเป็นตวั แทนของพระ
อาณาจกั รพระเป็นเจา้ พระองคม์ อี านาจทจ่ี ะตดั สนิ พพิ ากษา (11:20-24) เป็นผเู้ ดยี วทพ่ี ระบดิ าเจา้ ทรงรจู้ กั และเป็นผู้
เดยี วทร่ี ูจ้ กั พระบดิ าเจา้ ผูซ้ ่งึ ทรงมอบ “ทุกสรรพสงิ่ ” ใหอ้ ย่ใู นพระหตั ถ์ของพระองค์ (11:27) พระองคค์ อื ผูเ้ ดยี วท่ี
สามารถให้ “การพกั ผ่อน” ทแ่ี ทจ้ รงิ และการความรอดพน้ สพู่ ระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ (11: 28-30) พระองคท์ รง
ใชอ้ านาจในฐานะบุตรแห่งมนุษยใ์ นอนั ตกาลและทรงเป็นตวั แทนของสง่ิ ทย่ี งิ่ ใหญ่กว่าพระวหิ าร ดงั นนั้ จงึ ทรงเป็น
เจ้านายแห่งวนั สับบาโต (12:6, 8) แต่พระองค์กลับอธิบายตนเองว่าเป็นคน “สุภาพถ่อมตน” (Meek) (11:29) ผู้
ประกาศว่าความเมตตาคอื สงิ่ ท่พี ระเป็นเจา้ ทรงต้องการจากมนุษย์ ไม่ใช่พธิ กี รรม (12:7) และชวี ติ ของพระองค์

296

ทงั้ หมดทรงเตม็ ไปดว้ ยการกระทาท่เี ป่ียมด้วยความรกั และตอบสนองต่อความต้องการของมนุษย์ (12:1-8, 12-13)
พระเยซูเจ้าในฐานะผู้สุภาพถ่อมตนคอื ตวั แทนของอานาจสูงสุดของพระเป็นเจ้า สงิ่ น้ีคอื สารท่เี ป็นแก่นหวั ใจ
สาคญั ของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ และเป็นการสรุปมุมมองเกย่ี วกบั ความเชอ่ื ในศาสนาครสิ ตข์ องทา่ น (ดู ขอ้ ศกึ ษา
วพิ ากษ์ 2:23; 21:4-5) ยศตาแหน่งของ “พระครสิ ต”์ และ “บุตรแหง่ กษตั รยิ ด์ าวดิ ” จงึ ปรากฏความหมายใหมเ่ พอ่ื แสดง
ใหเ้ หน็ ว่าพระเยซูเจา้ ทรงเป็นผใู้ ด ดงั นนั้ ส่วนน้ีจงึ เป็นบทสรุปหน่ึงทเ่ี หมาะสมสาหรบั ภาคทห่ี น่ึงของพระวรสาร
นักบุญมทั ธวิ เป็นภาพสุดท้ายและจุดสูงสุดของกษัตรยิ ์ ผู้มใี จสุภาพและรบั ใช้ รวมทงั้ เป็นจุดส่งผ่านไปสู่ฉาก
สาคญั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ โครงสรา้ งใน 1:2-12:21 รวมถงึ คาสอนเกย่ี วกบั เทวศาสตรข์ องนกั บุญมทั ธวิ โดยรวม

มทั ธวิ 12:22 – 28:20
ความขดั แยง้ และวถิ กี ารคลค่ี ลายระหวา่ งสองอาณาจกั รดาเนนิ ต่อไป
ภาพรวม

ในภาคทห่ี น่ึงของเร่อื งราว นักบุญมทั ธวิ เล่าถงึ พระอาณาจกั รสวรรค์กา้ วรุกล้าเขา้ มาสโู่ ลกในรปู ของพระ
บุคคลนามว่าพระเยซูครสิ ต์ ผซู้ ง่ึ ไดเ้ ปลย่ี นแปลงความหมายของคาว่า “ความเป็นกษตั รยิ ์” ว่าหมายถงึ การยอม
ทนทุกขท์ รมานเพราะความรกั และมปี ฏกิ ริ ยิ าใหเ้ กดิ แรงต่อต้านจากอาณาจกั รของซาตาน ซ่งึ มี “คนยุคน้ี” เป็น
ตวั แทน โดยบรรดาผนู้ าของพวกเขาคอื ธรรมาจารยแ์ ละชาวฟารสิ ี ผู้ไดต้ ดั สนิ ใจทจ่ี ะสงั หารพระเยซูเจา้ ในภาค
ต่อไปท่ตี ่อเน่ืองจากจุดน้ี ความขดั แยง้ ยงั ดาเนินต่อไป บรรดาศษิ ย์ของพระเยซูเจา้ ได้แยกตวั มาเป็นอกี ชุมชน
หน่ึง และฝ่ายต่อตา้ นไดป้ ระสบความสาเรจ็ ในการสงั หารพระเยซูเจา้ สง่ิ น้ีกไ็ ม่ไดแ้ สดงถงึ ชยั ชนะของอาณาจกั ร
ซาตาน แต่กลบั เป็นความพา่ ยแพ้ (สว่ นเรอ่ื งโครงสรา้ งของภาคต่อไป ขอใหย้ อ้ นกลบั ไปดู “บทนา”)

มทั ธวิ 12:22-50 ความขดั แยง้ การตดั สนิ ใจ และการรวมตวั ของชุมชนผเู้ ชอ่ื ทแ่ี ทจ้ รงิ

สว่ นน้มี สี ามตอน พระเยซูเจา้ ทรงโตเ้ ถยี งกบั ชาวฟารสิ แี ละความจงรกั ภกั ดขี องฝงู ชน ซง่ึ ปรากฏอยตู่ ลอด
ทงั้ สว่ นน้ีและแอบไดย้ นิ คาประกาศอยา่ งจรงิ จงั ถงึ การพพิ ากษาโลก (12:23 ดูเทยี บกบั ว. 46) ในตอนทส่ี าม ชุมชนใหม่
ของศษิ ยพ์ ระเยซูเจา้ เกดิ ขน้ึ หลงั จากทพ่ี ระองคถ์ กู ปฏเิ สธจาก “คนยคุ น้”ี

มทั ธวิ 12:22-37 ความขดั แยง้ ระหวา่ งสองอาณาจกั รและความจาเป็นของการตดั สนิ ใจ

พระเยซูเจา้ และเบเอลเซบลู
22 ครงั้ หน่ึง มผี ูน้ าคนตาบอดเป็นใบแ้ ละถูกปีศาจสงิ คนหน่ึงมาเฝ้าพระองค์ พระองคท์ รงรกั ษาเขาใหห้ าย คนนัน้ กพ็ ดู ได้

และมองเหน็ 23 ประชาชนทุกคนต่างประหลาดใจพดู วา่ “คนน้ี เป็นโอรสของกษตั รยิ ์ดาวดิ ใช่ไหม” 24 เม่อื ชาวฟารสิ ไี ดย้ นิ เช่นน้ี
กพ็ ดู ว่า “คนน้ีขบั ไล่ปีศาจดว้ ยอานาจของเบเอลเซบลู เจา้ แหง่ ปีศาจนนั่ เอง” 25 พระเยซูเจา้ ทรงทราบความคดิ ของเขา จงึ ตรสั ว่า
“อาณาจกั รใดแตกแยกกนั เองยอ่ มพนิ าศ เมอื งใดหรอื ครอบครวั ใดแตกแยกกนั เองยอ่ มจะตงั้ อยไู่ มไ่ ด้

26 ถา้ ซาตานขบั ไล่ซาตาน มนั กแ็ ตกแยกกนั เอง แลว้ อาณาจกั รนัน้ จะตงั้ อยู่ได้อย่างไร 27 ถา้ เราขบั ไล่ปีศาจดว้ ยอานาจ
ของเบเอลเซบูล พวกพอ้ งของท่านขบั ไล่ปีศาจดว้ ยอานาจของใครเลา่ เพราะฉะนนั้ พวกพอ้ งของท่านจะเป็นผตู้ ดั สนิ ท่าน 28 แต่
ถา้ เราขบั ไล่ปีศาจดว้ ยพระจติ ของพระเจา้ กห็ มายความวา่ พระอาณาจกั รของพระเจา้ มาถงึ ท่านแลว้

297

29 “ผูใ้ ดจะเขา้ ไปในบ้านของผูเ้ ขม้ แขง็ และปลน้ ทรพั ย์สนิ ของเขาได้ ถ้าไม่มดั ผูเ้ ขม้ แขง็ ไวก้ ่อน เม่อื ทาเช่นน้ีแล้วเท่านัน้
เขาจงึ จะปลน้ บา้ นนนั้ ได้

30 “ผใู้ ดไม่อย่กู บั เรา ย่อมเป็นปฏปิ ักษ์กบั เรา ผใู้ ดไม่รวบรวมสงิ่ ต่างๆ ไวก้ บั เรา ย่อมทาสงิ่ เหล่านัน้ กระจดั กระจายไป 31
ดงั นนั้ เราบอกท่านทงั้ หลายวา่ มนุษยจ์ ะไดร้ บั การอภยั บาปทุกชนิดรวมทงั้ คาดหู มนิ่ พระเจา้ ดว้ ย แต่คาดหู มนิ่ พระจติ เจา้ จะไมไ่ ด้
รบั การอภยั เลย 32 ใครทก่ี ล่าวรา้ ยต่อบุตรแห่งมนุษย์จะไดร้ บั การอภยั แต่ใครทก่ี ล่าวรา้ ยต่อพระจติ ของพระเจา้ จะไม่ไดร้ บั การ
อภยั เลยทงั้ ในโลกน้ีและในโลกหน้า

คาพดู ชี้ให้เหน็ ความคิดในใจ
33 “ถา้ ท่านปลูกต้นไมพ้ นั ธุ์ดี ผลกย็ ่อมดดี ว้ ย ถา้ ท่านปลูกตน้ ไมพ้ นั ธุ์ไม่ดี ผลย่อมไม่ดดี ว้ ย ท่านจะรจู้ กั ตน้ ไมจ้ ากผลของ
มนั 34 เจา้ สญั ชาตงิ ูรา้ ยเอ๋ย เจา้ จะพูดดไี ดอ้ ย่างไรในเม่อื เจา้ เป็นคนเลว ปากย่อมพูดสงิ่ ท่ที ่วมทน้ อยู่ในใจ 35 คนดยี ่อมนาสง่ิ ดี
ออกจากขุมทรพั ย์ท่ีดีของตน ส่วนคนเลวย่อมนาสิ่งเลวออกจากขุมทรพั ย์ท่ีเลวของตน 36 เราบอกท่านทัง้ หลายว่า ในวนั
พพิ ากษา มนุษยจ์ ะตอ้ งรายงานถงึ คาพดู ไรส้ าระทุกคาทเ่ี ขาเคยพดู 37 เพราะทา่ นจะพน้ โทษหรอื ถูกลงโทษกจ็ ากคาพดู ของทา่ น”

ข้อศกึ ษาวิพากษ์
ย่อหน้าน้ี ซง่ึ ปกตมิ กั จะเรยี กกนั ว่า “ความขดั แยง้ ของเบเอลเซบูล” มบี ทบาทสาคญั ในความคดิ ของนักบุญ

มทั ธวิ โดยนักบุญมทั ธวิ ได้ทบทวนใหม่และเปล่ยี นแปลงบางจุดจากบทบรรยายในพระวรสารนักบุญมาระโกสู่
ประเดน็ และความหมายใหม่ แต่มสี าระคุณค่าลกึ ซ้งึ ท่แี ตกต่างจากเดมิ สู่จุดหมายใหม่ นาขอ้ ความบางตอนจาก
แหล่ง Q มาอธบิ ายให้มคี วามหมายชดั เจนขน้ึ มสี าระมากขน้ึ และเป็นงานสรา้ งสรรค์ หลงั จากเร่อื งเล่าน้ีท่านไม่
เปลย่ี นแปลงลาดบั ของเน้ือหาทร่ี บั มาจากพระวรสารนักบุญมาระโกอกี ผู้ตคี วามอาจแยกแยะไดห้ ลายเหตุผลท่ี
ทา่ นนกั บุญมทั ธวิ พจิ ารณาว่าทอ้ งเรอ่ื งเลา่ ตอนน้ีมคี วามสาคญั อย่างยงิ่ เป็นเรอ่ื งเลา่ เพยี งไมก่ เ่ี รอ่ื งทป่ี รากฏอยใู่ น
เอกสารทงั้ สองทเ่ี ป็นธรรมประเพณีศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องท่าน (มก 3:20-29 = ลก 11:14-23) เน่ืองจากเน้ือหาตอนน้ีเป็นส่วนท่ี
นักบุญมทั ธวิ นามาเรยี บเรยี งใหม่ องค์ประกอบทางครสิ ตศาสตร์ของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ หลายอย่างจงึ มา
ผสานบรรจบกนั ในย่อหน้าน้ี ได้แก่ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้า (12:28) ท่ีขดั แย้งกบั อาณาจกั รของซาตาน
(12:26) ฤทธเิ ์ ดชของพระจติ ในกิจการของพระเยซูเจ้า (12:28, 31-32) พระเยซูเจ้าในฐานะบุตรแห่งกษัตรยิ ์ดาวดิ
(12:23) การอภยั บาป (12:31-32) นอกจากน้ีขอ้ กล่าวหาทว่ี ่าพระองคอ์ ยฝู่ ่ายเดยี วกบั เบเอลเซบูลยงั มคี วามสะดุดใจ
โดดเด่นเป็นพเิ ศษสาหรบั นกั บุญมทั ธวิ เพราะเป็นขอ้ กล่าวหาทม่ี ตี อ่ พระเยซูเจา้ และบรรดาศษิ ยข์ องพระองคด์ ว้ ย
(9:34; 10:25; 12:24) ชุมชนของนักบุญมทั ธวิ มลี กั ษณะเป็นเช่นเดยี วกบั ชุมชนชาวคุมรานทเ่ี ป็นบรรพบุรุษของพวก
เขา คอื รสู้ กึ โกรธเคอื งอย่างมากเม่อื มผี กู้ ล่าวหาพวกเขาเช่นน้ี ซง่ึ ไดส้ ่งผลใหส้ งิ่ น้ีคงั่ คา้ งอย่ใู นจติ ใจของพวกเขา
และของนักบุญมทั ธิวอย่างไม่รู้ลืม แม้แนวคดิ เก่ียวกบั ความขดั แย้งระหว่างสองอาณาจกั ร เป็นสง่ิ ท่ีมอี ยู่ใน
เอกสารแหล่ง Q อยแู่ ลว้ (มธ. 12:26/ ลก. 11:18; เทยี บ มก. 3:26 ซง่ึ ขาดแนวคดิ เกย่ี วกบั อาณาจกั รของซาตาน)

298

เร่อื งเล่าของนักบุญมทั ธิวดูเหมอื นแสดงถึงอาณาจกั รทงั้ สองได้เผชญิ หน้ากนั ในฉากน้ี พระเยซูเจ้าคอื
ตวั แทนของพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ (12:28 ดู เทยี บกบั บทเสรมิ เร่อื ง “อาณาจกั รสวรรค์ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ”) แต่ใน
พระวรสารนักบุญมัทธิว ซาตานก็มีอาณ าจักรของมันเช่นกัน เป็ น อาณาจักรซ่ึงเป็ นทางเลือกท่ีอยู่
นอกเหนือไปจากพระอาณาจกั รสวรรค์ท่ีได้รบั การเปิดเผยโดยผ่านทางพระเยซูเจ้า (12:26) ในเน้ือหาส่วนน้ี
ชาวฟารสิ ที ต่ี ่อตา้ นพระเยซูเจา้ คอื ตวั แทนของซาตาน ทงั้ สองอาณาจกั รแข่งขนั กนั ช่วงชงิ ความจงรกั ภกั ดจี าก
“ฝงู ชน” ทป่ี รากฏอยทู่ งั้ ในตอนตน้ ในลกั ษณะไมแ่ น่ใจ สงสยั และตอ้ งการคาตอบ (12:23) และในตอนจบซง่ึ พระเยซู
เจา้ ทรงเผยแสดงคาตอบถงึ ชวี ติ ในความสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ เป็นพเิ ศษ (12:46) จากคาประกาศของพระองคเ์ อง

สาหรบั 12:22 นักบุญมทั ธวิ เคยใช้ทอ้ งเร่อื งของฉากน้ีจากเอกสารแหล่ง Q มาแลว้ (ดู ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์ 9:32-34)
การรกั ษาชายถูกผสี งิ ตาบอดและเป็นใบ้ คอื การกระทาทเ่ี ป็นความเมตตาอย่างยง่ิ ใหญ่ ซง่ึ เป็นสญั ญาณใหเ้ หน็
วา่ กษตั รยิ ผ์ เู้ ป็นพระเมสสยิ าหใ์ ชอ้ านาจแห่งความเป็นพระเป็นเจา้ ของพระองคอ์ ยา่ งไร (ดู เทยี บ 11:1-6) แต่กไ็ มม่ สี ง่ิ
ใดท่ีเป็นปาฏิหารยิ ์ในตวั มนั เอง เน้ือหาส่วนน้ีได้รบั การวางรูปแบบมาอย่างมวี จิ ารณญาณและไม่ใช่เร่อื งเล่า
เก่ยี วกบั ปาฏหิ ารยิ ์ แต่เป็นการโต้แยง้ ท่พี ุ่งความสนใจทงั้ หมดไปท่พี ระวาจาของพระเยซูเจา้ และเช่นเดยี วกบั
เร่อื งเล่าตอนทแ่ี ลว้ (11:1-12:21) คาบรรยายถูกจากดั ใหเ้ หลอื เพยี งเลก็ น้อยซง่ึ ทาหน้าทเ่ี ป็นกรอบความคดิ สาหรบั
การประกาศอย่างทรงอานาจของพระเยซูเจา้

ใน 12:23 “ฝงู ชน” ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ตงั้ แต่ฉากแรกไปจนถงึ ฉากสุดทา้ ยคอื ผทู้ ม่ี ศี กั ยภาพจะเป็น
ศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ พวกเขาไมไ่ ดเ้ ลอื กเขา้ ขา้ งฝ่ายต่อตา้ น แต่กไ็ มไ่ ดผ้ กู มดั ตนเองวา่ จะตอ้ งตดิ ตามพระองค์ (ดู
เทยี บ 27:20-26) ในเร่อื งราวเดยี วกนั น้ี ในงานเขยี นอ่นื ทเ่ี กดิ ขน้ึ ก่อน การตอบสนองครงั้ สุดท้ายของฝงู ชนคอื ความ
ช่นื ชมอย่างอศั จรรยใ์ จ (9:33) ในทน่ี ้ีพวกเขาก้าวเขา้ ไปใกลค้ วามเป็นศษิ ย์มากขน้ึ อกี ก้าวหน่ึง คอื เรม่ิ ครุ่นคดิ ว่า
บางทพี ระเยซูเจา้ อาจเป็นบุตรแห่งกษตั รยิ ด์ าวดิ ทพ่ี วกเขารอคอยจรงิ ๆ กไ็ ด้ แมว้ ่ากจิ การแห่งความเมตตาของ
พระองคจ์ ะไม่สอดคลอ้ งกบั ภาพลกั ษณ์ของบตุ รแหง่ กษตั รยิ ด์ าวดิ ในความคดิ ของคนสว่ นใหญ่

ใน 12:24 นักบุญมทั ธวิ ได้เปล่ยี นจาก “ธรรมาจารย์ท่ีเดินทางมาจากกรุงเยรูซาเล็ม” ใน มก. 3:22 เป็น
“ชาวฟารสิ ”ี ซ่งึ เป็นกลุ่มผู้ท่ตี ดั สนิ ใจจะสงั หารพระเยซูเจ้านัน่ เอง (12:14) ชาวฟารสิ พี ยายามโต้เถียงแข่งขนั กบั
พระองคเ์ พ่อื แย่งความจงรกั ภกั ดีจาก “ฝงู ชน” พวกเขาไม่ตอบสนองต่อพระเยซูเจา้ แต่โน้มน้าวป้องกนั ฝงู ชนท่ี
กาลงั เรม่ิ ช่นื ชมพระองคม์ ากขน้ึ เร่อื ยๆ เช่นเดยี วกบั แต่ก่อน พวกเขาไม่ไดป้ ฏเิ สธเร่อื งท่พี ระองคส์ ามารถรกั ษา
โรคและการไล่ผีได้อย่างปาฏิหารยิ ์ แต่พยายามจะทาให้พระองค์ดูไม่น่าเช่ือถือในสายตาของฝูงชน ตาม
ความเหน็ ของนักบุญมทั ธวิ ความวปิ รติ หลงผดิ อย่างท่สี ุดของพวกเขา คอื กล่าวหาว่ากจิ การความเมตตาอนั
ยง่ิ ใหญ่ของพระเยซูเจา้ เกดิ จากฤทธเิ ์ ดชของเบเอลเซบูล ซ่งึ เป็นเจา้ แห่งมารรา้ ย ตามภาพท่ีนักบุญมทั ธวิ ใหไ้ ว้
พวกเขาไม่เพยี งแต่ปฏเิ สธพระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงเป็นตวั แทนเท่านนั้ แต่ความชวั่ รา้ ยท่ี
ยงิ่ กวา่ ของพวกเขาคอื การพยายามขดั ขวางไมใ่ หผ้ อู้ ่นื เขา้ สอู่ าณาจกั รนนั้ ดว้ ย (23:13)

สาหรบั 12:25-37 การทบทวนเน้ือหาตอนน้ีในสาระสาคญั ของพระวรสารสหทรรศน์ (Synopsis of the
Gospels) แสดงให้เหน็ อย่างชดั เจนว่าการตอบสนองของพระเยซูเจ้าเป็นการประพนั ธ์ของนักบุญมทั ธวิ โดยมี
แหล่งขอ้ มลู จากพระวรสารนกั บุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q

299

25ข – 26ข = มาระโก 3:23ข – 26ก (+องคป์ ระกอบจาก Q เทยี บกบั ลกู า 11:17ข)

26ข – 28 = Q (เทยี บกบั 11:18ข-20)

29 = มาระโก 3:27

30 = Q (เทยี บกบั ลูกา 11:23)

31 = มาระโก 3:28-29

32 = Q (ดเู ทยี บกบั 12:10)

33-35 = Q (ดเู ทยี บกบั 6:43-45)

36-37 = M หรอื การประพนั ธข์ องนกั บุญมทั ธวิ เอง

คาพูดในเร่อื งเล่าส่วนใหญ่ได้รบั การสบื ทอดส่งต่อกนั มาเป็นหน่วยท่ีแยกเด่ยี ว และมคี วามหมายใน

ตวั เอง ในบรบิ ทต่างๆ ทห่ี ลากหลายในยุคสมยั ก่อนพระวรสารนักบุญมทั ธวิ และเม่อื นักบุญมทั ธวิ นาทงั้ หมดมา

รวมกนั จงึ เกดิ ความขดั แยง้ เลก็ ๆ น้อยๆ ระหว่างคากล่าวเหล่านัน้ หากตคี วามตามความหมายแบบดงั้ เดมิ ใน

สมยั ก่อน ว. 28 มสี ภาวะการณ์ท่เี กดิ ก่อน (Presupposition) ท่แี ตกต่างไปจาก ว. 27 ดงั นัน้ ทงั้ สองจงึ ไม่น่าจะ

เป็นเน้ือหาของสนุ ทรพจน์เดยี วกนั สงิ่ ทท่ี าใหพ้ ระเยซูเจา้ แตกต่างจากชาวฟารสิ ี ไม่ใชค่ วามสามารถในการขบั ไล่

ผี แตเ่ ป็นการประทบั อยขู่ องพระจติ เจา้ เพอ่ื ใหพ้ ระองคเ์ ป็นสญั ญาณถงึ พระอาณาจกั รสวรรค์ ขอ้ ความทว่ี า่ “ทรงรู้

ว่าพวกเขาคดิ อะไรอย่”ู ซง่ึ มาจากเอกสารแหล่ง Q กไ็ ม่ใช่ส่วนทจ่ี าเป็นในโครงเร่อื งของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ

เพราะคากล่าวของหาของชาวฟารสิ นี ัน้ กระทาอย่างเปิดเผย แต่ยงั คงไดร้ บั การรกั ษาเอาไวเ้ พ่อื แสดงใหเ้ หน็ ถงึ

พระราชอานาจสงู สุดของพระเยซูเจา้ การพจิ ารณาประเดน็ ตา่ งๆ เหลา่ น้มี คี วามสาคญั ต่อการเขา้ ใจธรรมชาตขิ อง

เน้อื หาทม่ี ลี กั ษณะเป็นขนั้ ตอนลาดบั ชนั้ (Stratified Text) ทเ่ี ราตอ้ งศกึ ษาตคี วาม แต่โดยหลกั ๆ แลว้ เราตอ้ งใสใ่ จ

ต่อความหมายในระดบั ทเ่ี ป็นคาบรรยายของนกั บุญมทั ธวิ (ดูบทนา) พระเยซูเจา้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ปฏเิ สธ

ขอ้ กลา่ วหาของชาวฟารสิ ดี ว้ ยคากลา่ วสามประการ ดงั น้ี

12:25-26 ซาตานจะไมท่ าสงิ่ ทต่ี อ่ ตา้ นตวั มนั เอง เพราะถา้ เป็นเชน่ นนั้ แสดงวา่ อาณาจกั รของซาตานกาลงั จะ

ถงึ จุดจบแลว้

12:27 นกั ไล่ผชี าวยวิ นนั้ มอี ย่มู ากมาย พระเยซูเจา้ จงึ นาเรอ่ื งการมอี ย่ขู องพวกเขามาเป็นขอ้ โตแ้ ยง้ ว่า หาก

ชาวฟารสิ ยี อมรบั การไลผ่ ใี นกลมุ่ ของพวกเขาเอง แลว้ ทาไมจงึ ตอ้ งวพิ ากษว์ จิ ารณ์พระเยซูเจา้

12:28-29 การโต้เถยี งซ่งึ แต่เดมิ อา้ งถงึ สามญั สานึกและประสบการณ์ ไดเ้ ปลย่ี นเป็นการโตเ้ ถยี งในรปู แบบ

ทางครสิ ตศาสตร์จากจุดน้ี โดยมคี วามเช่อื เป็นฐานว่าพระเยซูเจ้า คอื ผู้ท่ที รงมพี ระจติ ทางานอยู่ภายใน ท่าน

นกั บุญมทั ธวิ ไดเ้ ปลย่ี นขอ้ ความจากเอกสารแหล่ง Q ทก่ี ลา่ ววา่ “โดยน้ิวพระหตั ถข์ องพระเจา้ ” (ลก 11:20; เทยี บ อพย.

8:19) เป็น “พระจติ เจา้ ”เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั อสย. 42:1 (ตามทเ่ี พง่ิ อา้ งถงึ ใน 12:18) และคาประกาศใน 12:32 การสถติ

อย่ขู องพระจติ เจา้ ในกจิ การของพระเยซูเจา้ เป็นสญั ญาณแห่งการมาถงึ ของยุคแห่งการพพิ ากษาครงั้ สุดท้าย ว.

29 ยงั อา้ งถงึ จนิ ตภาพทม่ี อี ยใู่ นธรรมเนียมความเช่อื คอื ชยั ชนะของพระผเู้ ป็นเจา้ ในยุคสุดทา้ ยจะสง่ ผลใหซ้ าตาน

ถูกล่ามมดั ไว้ (ดู วว. 20:2-3; 1 เอโนค 10:4-5; Jubilee 48:15, 18; T. Lev. 18:12) พระเยซูเจา้ ทรงประกาศว่าเหตุการณ์น้ีกาลงั

เกดิ ขน้ึ แลว้ กจิ การในฐานะพระเมสสยิ าหข์ องพระองค์ ซง่ึ รวมถงึ การไล่ผี คอื ตวั แทนของการจองจาซาตานและ

การปลน้ “บา้ น” ของมนั

12:30 พนั ธกจิ อย่างหน่ึงของพระเยซูเจา้ คอื การ “รวบรวม” ซง่ึ อาจสอ่ื ใหเ้ หน็ ภาพของการรวบรวมพชื ผลท่ี

เกบ็ เกย่ี วไดห้ รอื บรรดาแกะหลงทางแหง่ พงศพ์ นั ธุอ์ สิ ราเอล (9:36-38 โดยมี “ฝงู ชน” ปรากฏอยตู่ รงนนั้ ดว้ ย) หรอื การรวบรวม

300

ผคู้ นชาวอสิ ราเอลทก่ี ระจดั กระจายไปใหก้ ลบั มารวมกนั ใหม่ ทงั้ หมดน้ลี ว้ นแตเ่ ป็นภาพทส่ี อ่ื ใหเ้ หน็ ถงึ วนั พพิ ากษา
โลก ดงั นัน้ เม่อื พระเมสสยิ าห์ทรงเสด็จมาแล้วในฐานะกษัตรยิ ์แห่งวนั พิพากษาโลก การวางตนเป็นกลางไม่
เขา้ ขา้ งฝ่ายใดจงึ ไม่อาจมไี ดอ้ กี ต่อไป บุคคลหน่ึงจะตอ้ ง “เขา้ ไปรว่ ม” กบั พระเยซูเจา้ หรอื ไมก่ ต็ ่อตา้ นพนั ธกจิ แหง่
ยุคสุดท้ายของพระองค์ ดว้ ยการ “ทาใหก้ ระจดั กระจาย” ในบรบิ ทของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ คากล่าวน้ีไม่ใช่
ขอ้ ความทเ่ี ป็นนามธรรม แตท่ าหน้าทเ่ี รยี กรอ้ งใหฝ้ งู ชนเขา้ มาเป็นศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้

12:31-32 คากล่าวเหล่าน้ีไม่ใช่ขอ้ ความทแ่ี ยกเป็นอสิ ระเกย่ี วกบั “บาปทไี่ ม่อาจไดร้ บั การอภยั ” แต่ในบรบิ ท
ของพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ มนั คอื องคป์ ระกอบรว่ มของการตอบสนองของพระเยซูเจา้ ต่อคากล่าวหาของชาวฟา
รสิ วี า่ พระองคท์ รงไล่ผแี ละรกั ษาโรคดว้ ยฤทธอิ ์ านาจของเบเอลเซบลู ในกรณนี ้คี วามหมายของเน้ือหาอาจชดั เจน
ข้ึน หากพิจารณาวิถีการผันแปรจากคาประกาศดัง้ เดิมของพระเยซูเจ้าไปจนถึงรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีแตกต่าง
หลากหลายในพระคมั ภรี ์ภาคพนั ธสญั ญาใหม่ โครงสรา้ งคร่าวๆ ด้านล่างน้ี หากพจิ ารณาตามธรรมชาตกิ รณี
ดงั กล่าว ยงั เป็นเพยี งสมมตุ ฐิ าน แต่กม็ เี หตุผลสนบั สนุนอยมู่ ากพอสมควร
(1) คากล่าวดงั้ เดมิ ของพระเยซูเจา้ เป็นการประกาศทเ่ี ดด็ ขาดและเป็นสากลเกย่ี วกบั การใหอ้ ภยั ของพระเป็น

เจ้า “ทุกสิ่งจะได้รบั การให้อภัยสาหรบั มนุษย์ ไม่ว่าเขาจะกล่าวคาดูหม่ินพระเป็นเจ้าอย่างไร” คาว่า
“มนุษย”์ (Human Being) ในภาษาอราเมอกิ เป็นคาในสกุล “avn rb” (bar nasa ทม่ี คี วามหมายตามตวั อกั ษรว่า
“บุตรแห่งมนุษย”์
(2) คาประกาศท่เี ป็นการเปล่ยี นแปลงระดบั รากฐานน้ี ถอื เป็นสงิ่ ทแ่ี ปลกใหม่เกนิ ไปสาหรบั ศาสนาครสิ ต์ยุค
แรกเรม่ิ คาประกาศดงั กลา่ วจงึ ถกู นาไปปรบั เปลย่ี นในหลายรปู แบบ เชน่
(ก) ชาวครสิ ต์ยุคแรกเรมิ่ บางกลุ่มนารูปแบบท่คี ุ้ยเคยของศาสนายูดายไปปรบั ให้เป็นคาอธบิ ายถึง

“บาปทไ่ี ม่สามารถใหอ้ ภยั ได”้ ซ่งึ มกี ารแสดงออกมาในรปู แบบทเ่ี ฉพาะเจาะจง (บาปทุกอย่างไดร้ บั การ
อภยั /บาปน้ีจะไม่ไดร้ บั การอภยั ) ในบางสถานการณ์ทก่ี จิ การของครสิ ตจกั รภายใตก้ ารนาของพระจติ เจา้
ถูกประณาม ประกาศกชาวคริสต์จึงปรบั ถ้อยคาท่ีเด็ดขาดของพระเยซูเจ้าให้กลายเป็นการ
ประกาศถึงการพิพากษาผู้ท่ีปฏิเสธข้อเสนอแห่งความรอดท่ีคริสตจักรเป็ นผู้ประกาศ โดย
ประกาศกชาวครสิ ต์ท่ีประกาศสงิ่ ต่างๆ ในนามของพระเยซูเจ้า คาดหวงั และพยากรณ์ถึงการ
พพิ ากษาในวนั สุดทา้ ยของโลก เช่นเดยี วกบั ในคาพยากรณ์อ่นื ๆ ทงั้ หมด คากล่าวเช่นน้ีทาหน้าท่ี
เรียกร้องให้ผู้คนกลับใจ บาปน้ีถูกเรียกว่า “บาปทีไ่ ม่อาจให้อภัยได้” (Unforgivable) เพราะ
ประกาศกชาวครสิ ตพ์ ดู ในฐานะตวั แทนของผพู้ พิ ากษาแหง่ กาลอวสานโลก ไมม่ กี ารรอ้ งอทุ ธรณ์ใด
จะสามารถกระทาได้เม่อื คาตดั สนิ ช้ขี าดครงั้ สุดท้ายมาถงึ หลงั จากคาประกาศแต่เดมิ (Original
Pronouncement) ของพระเยซูเจา้ รปู แบบน้ีคอื รปู แบบแรกสดุ ของคากล่าวน้ี ในรปู ของ “บาปทไี่ ม่
อาจไดร้ บั การอภยั ” ธรรมประเพณีสายน้ีไดร้ บั การเกบ็ รกั ษาไวใ้ น มก. 3:28-29 และนามาใส่ไวใ้ น
พระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ 12:31
(ข) ธรรมประเพณีสายท่สี อง ตีความคากล่าวน้ีลกึ ข้นึ โดยเขา้ ใจว่า “บุตรแห่งมนุษย์” เป็นตาแหน่ง
ทางครสิ ตศาสตร์ แมว้ ่าคากล่าวดงั้ เดมิ จะแยกว่าบาปทไ่ี ม่อาจใหอ้ ภยั ได้ ว่าเป็นบาปทก่ี ระทาต่อ
พระจติ เจา้ ซง่ึ แตกต่างจากบาปอ่นื ๆ ทใ่ี หอ้ ภยั ได้ รปู แบบทม่ี กี ารตคี วามใหมน่ ้ีแยกความแตกต่าง
ระหว่างการพูดจาดูหมน่ิ พระเยซูเจา้ ผเู้ ป็นบุตรแห่งมนุษย์ ซ่งึ เป็นสง่ิ ทใ่ี หอ้ ภยั ได้ กบั การพูดจาดู

301

หมน่ิ พระจติ เจา้ ซง่ึ เป็นสงิ่ ทใ่ี หอ้ ภยั ไม่ได้ ชุมชนของชาวคุมรานไดร้ บั คากล่าวในรปู แบบน้ี ซง่ึ มกั
เขา้ ใจกนั ว่าความหมายของมนั ส่อื ถงึ ความแตกต่างระหว่างชวี ติ บนโลกของพระเยซูเจ้ากบั ชวี ติ
ครสิ ตจกั รหลงั การกลบั คนื พระชนม์ชพี ผูท้ เ่ี ขา้ ใจผดิ และปฏเิ สธพระเยซูเจา้ ขณะทพ่ี ระองค์ยงั มี
ชวี ติ อย่สู ามารถไดร้ บั การอภยั แต่ผทู้ ป่ี ฏเิ สธการทางานของพระจติ เจา้ ในยุคหลงั การกลบั คนื พระ
ชนมช์ พี จะไม่ไดร้ บั การอภยั อยา่ งไรกต็ าม การตคี วามเชน่ น้ีไม่น่าจะถูกตอ้ ง เพราะสาหรบั ชาวคุม
ราน คาว่า “บุตรแห่งมนุษย”์ แมว้ ่าจะสอ่ื ถงึ พระเยซูเจา้ ในรปู แบบของมนุษย์ แต่กย็ งั มคี วามหมาย
โดยนัยถงึ บุตรแห่งมนุษย์ ผูย้ ง่ิ ใหญ่ในกาลอวสานโลกอยู่ดี ไม่ใช่พระเยซูเจา้ ในประวตั ศิ าสตร์ท่ี
เป็นมนุษยผ์ ตู้ อ้ ยต่า ดงั นนั้ มมุ มองทน่ี ่าพงึ พอใจกวา่ คอื การเขา้ ใจคากล่าวน้ีในบรบิ ทของชุมชนชาว
คุมราน วา่ เป็นการประกาศวา่ ผทู้ ด่ี า่ วา่ บุตรแหง่ มนุษย์ ผสู้ งู สง่ กล่าวคอื ตอ่ ตา้ นคายนื ยนั ทางครสิ ต
ศาสตรเ์ กย่ี วกบั พระเยซูเจา้ ของชุมชนชาวคมุ ราน จะยงั ไดร้ บั การอภยั แต่ผทู้ ย่ี งั คงปฏเิ สธขอ้ เสนอ
สดุ ทา้ ยของการอภยั ของคณะประกาศกผกู้ ระทาภารกจิ ดว้ ยฤทธเิ ์ ดชของพระจติ เจา้ ในกาลอวสาน
โลก เท่ากบั ปฏเิ สธโอกาสสดุ ทา้ ยของตนเอง นกั บุญมทั ธวิ ไดร้ บั เอารปู แบบดงั กล่าวมาจากเอกสาร
แหล่ง Q และใสล่ งมาใน 12:32 เพมิ่ ขน้ึ มาจากรปู แบบในพระวรสารนกั บุญมาระโก ซง่ึ ยงั คงรกั ษา
เอาไวใ้ น 12:31
(ค) ประวตั ศิ าสตรข์ องการตคี วามคากล่าวน้ีในศาสนาครสิ ตย์ ุคแรกเรมิ่ อาจช่วยใหผ้ อู้ ่านยุคใหม่เขา้ ใจ
รปู แบบทห่ี ลากหลายของคากลา่ วน้ีในพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ แต่หนงั สอื อธบิ ายพระคมั ภรี ์
(Exegesis) นนั้ เน้นไปทค่ี วามหมายของรปู แบบปัจจบุ นั ในพระวรสารของนกั บุญมทั ธวิ ซง่ึ ไดร้ วม
รปู แบบทอ่ี ย่ใู นพระวรสารนักบุญมาระโก (มธ. 12:31=มก. 3:28-29) และรปู แบบทอ่ี ยู่ในเอกสารแหล่ง Q
(มธ. 12:32 = ลก. 12:10) ไวด้ ้วยกนั ในงานเขยี นของท่าน ในบรบิ ทของนักบุญมทั ธวิ คากล่าวน้ีไม่ใช่
ประโยคแสดงการคดิ คาดคะเน (Speculative Statement) ว่าบาปใดเป็นบาปท่ไี ม่อาจให้อภยั ได้
แต่เป็นการประกาศคาพพิ ากษาต่อชาวฟารสิ ี ในพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ ชาวฟารสิ คี อื ตวั แทนของ
อาณาจกั รซาตาน คอื ผทู้ ต่ี ดั สนิ ใจแลว้ วา่ จะสงั หารพระเยซูเจา้ (12:14) และกดี กนั ขดั ขวางไมใ่ หผ้ อู้ ่นื
เขา้ สู่พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าได้ (23:13) พวกเขาไม่มรี ากฐานอยู่ในพระผู้เป็นเจ้า แต่เป็น
ตัวแทนกิจการของซาตาน (15:13-14) และจะถูกตัดสินลงโทษในการพิพากษาครัง้ สุดท้าย
เช่นเดยี วกบั เร่อื งเล่าตอนอ่นื ๆ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ คาประกาศต่อชาวฟารสิ ใี นระดบั ของ
บทบรรยายทาหน้าท่เี ป็นคาเตอื นสมาชกิ ครสิ ตจกั ร โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ผู้นาของครสิ ตจกั ร และ
ไม่ใช่การนาเสนอหมวดหม่ทู างเอกสารว่า “บาปทไี่ ม่อาจใหอ้ ภยั ได้” ทช่ี าวครสิ ต์ควรวติ กกงั วลมี
อะไรบา้ ง
12:33-35 ตอนน้ไี มไ่ ดส้ รปุ จบจนกระทงั่ วรรคท่ี 37 โดยมคี าวา่ “จากนนั้ ” (then) เพอ่ื เรมิ่ ตน้ ใหมอ่ กี ครงั้ ใน ว.
38 เน้ือความไมใ่ ชข่ อ้ สงั เกตทวั่ ไปเกย่ี วกบั “การประเมนิ ผคู้ นโดยดจู ากสงิ่ ทเี่ ขาทา” แต่แสดงใหเ้ หน็ วา่ การทพ่ี ระ
เยซูเจา้ ใหค้ าตอบในลกั ษณะขดั แยง้ กบั ชาวฟารสิ ยี งั คงดาเนินต่อไป นักบุญมทั ธวิ เคยใชข้ อ้ มลู จากเอกสารแหล่ง
Q ส่วนน้ีในบทเทศน์สอนบนภูเขา (ดู 7:16-20) ประเด็นหลกั ของคาเปรยี บเทยี บน้ีคอื คาพูดและการกระทาของ
บคุ คลหน่ึงเป็นตวั แทนของความเป็นจรงิ ภายในตวั คนผนู้ นั้ หรอื ตวั ตนแทจ้ รงิ ของคนผนู้ ัน้ ในทน่ี ้ี ไดถ้ กู นามาเน้น
ความสาคญั อกี ครงั้ เพ่อื สรา้ งประเดน็ แบบสองชนั้ เม่อื นามาใชก้ บั พระเยซูเจา้ จะหมายความว่าชาวฟารสิ นี ่าจะ

302

มองเหน็ กจิ การของพระเป็นเจา้ (ไม่ใช่ของซาตาน) ในคาพูดและการกระทาของพระเยซูเจา้ (ว. 33) ผลอนั ดงี ามใน
การรกั ษาชายถูกผสี งิ ท่ีตาบอดและเป็ นใบ้ไม่อาจเป็นกิจการในลกั ษณะผลท่ีเกิดจากต้นไม้ท่ีเลวร้ายได้ เม่อื
นามาใชก้ บั ชาวฟารสิ ี จะหมายความว่าถ้อยคาอนั ชวั ่ รา้ ยของพวกเขา (ท่วี ่างานของพระองคม์ าจากเบเอลเซบูล) เป็นการ
ทรยศต่อตวั ตนทพ่ี วกเขาเป็น แก่นแทต้ วั ตนภายในของพวกเขานัน้ ชวั่ รา้ ย การทพ่ี วกเขาพดู จาต่อตา้ นพระเยซู
เจา้ ไม่เพยี งแต่เป็นการพพิ ากษาอย่างผวิ เผนิ และผดิ พลาดเท่านัน้ แต่ยงั แสดงใหเ้ หน็ ทรรศนะแบบทวนิ ิยมของ
นกั บุญมทั ธวิ คอื ชาวฟารสิ มี าจากอาณาจกั รของมารรา้ ย อยา่ ลมื ว่าในบรบิ ทของพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ คาพดู
เหล่าน้ถี ูกนามาใชก้ ล่าวกบั ผทู้ ต่ี ดั สนิ ใจจะสงั หารพระเยซูเจา้ (12:14) และพยายามบดิ เบอื นหนทางเพอ่ื ไม่ใหค้ นอ่นื
จะมศี รทั ธาความเชอ่ื ในพระองค์ (12:23-24)

12: 36-37 คาประกาศอนั เฉียบคมเหล่าน้ี เป็นสง่ิ ทเ่ี ฉพาะเจาะจงสาหรบั พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ และนามา
จากธรรมประเพณีของท่านเองหรอื ท่านประพนั ธ์ขน้ึ เอง สาระเน้ือหาไม่เพยี งแต่สะท้อนใหเ้ หน็ ทงั้ มุมมองแบบ
ชาวยวิ และแบบพระคมั ภรี เ์ ก่ยี วกบั ความสาคญั ของสง่ิ ทค่ี นเรากล่าวออกมา (ดู เทยี บ 5:33-37) แต่ยงั มคี วามหมาย
เฉพาะเจาะจงในบรบิ ทน้ีด้วย เก่ยี วกบั การกล่าวยอมรบั หรอื ปฏเิ สธพระครสิ ต์ นักบุญมทั ธวิ มองว่าการกล่าว
ถอ้ ยคาทแ่ี สดงถงึ ความเชอ่ื น้ีมคี วามสาคญั มาก (10:18-20, 26-27, 32-33) ในบรบิ ทของศาลาธรรม ชาวครสิ ตใ์ นพระวร
สารนักบุญมทั ธวิ จะถูกชกั จูงใหร้ สู้ กึ ไม่กลา้ เอ่ยถงึ ความเช่อื ของตนว่าพระเยซูเจา้ ทรงเป็นพระครสิ ต์ หรอื อาจถูก
ยวั่ ยวนใหเ้ ขา้ ร่วมกบั คนอ่นื ๆ ในการนินทาว่ารา้ ยพระเยซูเจา้ เช่นเดยี วกบั ส่วนอ่นื ๆ ในพระคมั ภรี พ์ นั ธสญั ญา
ใหม่ (เช่น ยน. 12:42-43; รม. 10:9-10) พระวรสารนักบุญมทั ธวิ ต้องการเน้นว่าการกล่าวแสดงความเช่อื เป็นสง่ิ สาคญั
หลกั ท่ีทุกคนควรใส่ใจ เป็นการยอมรบั และปรบั เปล่ียนตวั ตนสู่หนทางชีวติ ใหม่ และจะกลายเป็นสิ่งท่ีนามา
พจิ ารณาตดั สนิ เราในการพพิ ากษาครงั้ สดุ ทา้ ย

ข้อคิดไตร่ตรอง
1. การเป็นศษิ ยข์ องพระเยซูเจา้ หมายถงึ การมพี นั ธกจิ ต่อผอู้ ่นื กระแสเรยี กใหต้ ดิ ตามพระเยซูเจา้ คอื กระแส

เรยี กใหม้ สี ่วนร่วมในพนั ธกจิ แห่งการ “รวบรวม” ของพระองค์ เป็นกระแสเรยี กทไ่ี ม่ยอมใหเ้ ราอยู่เพยี งแค่ก่ึงๆ
กลางๆ นักบุญมทั ธวิ มองว่าการตดั สนิ ใจน้ีเป็นการกระทา การเลอื กรปู แบบหรอื หนทางชวี ติ และในบรบิ ทของ
ความขดั แย้งระหว่างสองอาณาจกั ร ไม่มีคาว่าเป็นกลาง ในสถานการณ์ เช่นน้ี การไม่ยอมตัดสินใจไม่ได้
หมายความว่าไม่ผูกมดั หรอื การเป็นกลางคอื การไม่ตอบรบั หรอื ยอมรบั แต่เป็นพฤติกรรมบ่งบอกว่ายงั เขา้
รว่ มกบั ฝ่ายตรงขา้ ม

ในโลกปัจจุบนั ผูท้ ่ีใส่ใจจรงิ จงั กบั พระวรสารนักบุญมทั ธวิ จะไม่เพยี งแต่รบั รูห้ รอื เขา้ ใจว่าพระเยซูเจา้ เป็น
เพยี ง “พระผู้ไถ่กู้ให้รอดพ้นส่วนบุคคล” (Personal Savior) และชุมชนวดั เป็นเพยี งกลุ่มผูส้ นับสนุนทางศาสนา
เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการสว่ นบุคคล มุมมองของนกั บุญมทั ธวิ ทาใหเ้ ราเหน็ ว่าโลกน้ีเกย่ี วขอ้ งกบั ความขดั แยง้
เร่อื งอานาจปกครองสูงสุด ความขดั แยง้ ทเ่ี ราไม่อาจเป็นแค่เพยี งผชู้ ม แต่ต้องเลอื กว่าจะอย่ฝู ่ายใดฝ่ายหน่ึง ใน
ความขดั แยง้ น้ี พระศาสนจกั รคอื ชุมชนผปู้ ระกาศขา่ วดี ผู้ต่อตา้ นการเชดิ ชคู ่านิยมทางวฒั นธรรมหรอื สงั คมโลก
วา่ เป็นอดุ มคติ ไม่ไดป้ ระทบั ตรายอมรบั วา่ มนั เป็นสงิ่ ถกู ตอ้ งในสายพระเนตรของพระเป็นเจา้ นกั บุญมทั ธวิ มองวา่
การเป็นสว่ นหน่ึงของพระศาสนจกั รคอื การมสี ว่ นรว่ มในพนั ธกจิ และการแกไ้ ขตนใหพ้ น้ จากความหลงผดิ ดงั กลา่ ว
น้ี

303

2. มธ. 12:31-32 เป็นพระวาจาคาสอนทน่ี าพาความวติ กกงั วลมากมายในประวตั ศิ าสตรข์ องพระศาสนจกั ร
เม่อื ถูกรวมกบั ขอ้ ความอ่นื ๆ ในพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาใหม่ เช่น ฮบ. 6:4-8 และ 1 ยน. 5:16-17 และนาไป
สรา้ งเป็นคาสอนเร่อื ง “บาปทไี่ ม่สามารถใหอ้ ภยั ได้” แมจ้ ะมคี าถามเกดิ ขน้ึ มากมายว่า สง่ิ สรา้ งใดจะสามารถหลง
ไปไกลเกนิ กว่าพระเมตตาของพระเป็นเจา้ จะเอ้อื มถงึ ไดห้ รอื สาระแห่งพระวาจาน้ีได้เคยถูกนาไปใชก้ ล่าวถงึ คน
ต่างศาสนาทไ่ี ม่เคยประกาศยอมรบั ความเชอ่ื ในพระครสิ ต์ และคนในศาสนาทเ่ี คยยอมรบั แตแ่ ลว้ หลงหายหลบหนี
ไป กลายเป็นผูน้ ับถอื ต่างศาสนาหรอื ผสู้ ญู เสยี ความเช่อื เป็นเร่อื งประหลาดและน่าขบขนั ทค่ี นบาปหนักทส่ี ุดใน
ประวตั ศิ าสตรไ์ ม่เคยสนใจกบั ความผดิ ของตนเองเลย สว่ นวญิ ญาณทล่ี ะเอยี ดอ่อนทส่ี ดุ ในพระศาสนจกั รกลบั วติ ก
กงั วลเร่อื งความผิดของตนอย่างมากมาย บางคนถึงขนั้ หดหู่ท้อแท้ หลกั เกณฑ์คร่าวๆ ท่ีดีอย่างหน่ึงในเชิง
ประวตั ศิ าสตรแ์ ละการตคี วาม คอื ผทู้ ก่ี งั วลว่าตนเองทา “บาปทไี่ มส่ ามารถใหอ้ ภยั ได้” มกั จะไม่ไดท้ า บทอธบิ าย
ความของเน้ือหาส่วนน้ีตงั้ คาถามท้าทายมุมมองท่วี ่ามกี ารกระทาหน่ึงท่บี ุคคลอาจกระทาลงไป แมว้ ่าจะไม่ได้
เจตนา หรอื สภาวะหน่ึงทบ่ี ุคคลสามารถ “ตกลงไป” หรอื ตดั สนิ ใจทจ่ี ะเขา้ สสู่ ภาวะนั้น ซง่ึ จะทาใหเ้ ขาหรอื เธออยู่
ไกลเกนิ กว่าทพ่ี ระหรรษทานของพระเป็นเจา้ จะไปถงึ ได้ แต่เน้ือหาสว่ นน้ีกแ็ วดลอ้ มไปดว้ ยปัญหาอปุ สรรคต่างๆ
ของการเป็นศษิ ยแ์ ละพนั ธกจิ ซง่ึ ป้องกนั ไมใ่ หเ้ ราเขา้ ใจผดิ วา่ พระเป็นเจา้ เสนอ “พระหรรษทานราคาถกู ๆ” ใหก้ บั
เรา

มทั ธวิ 12:38-45 ประเดน็ ตดั สนิ ชข้ี าด: การฟ้ืนคนื พระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้

เคร่ืองหมายของประกาศกโยนาห์
38 เวลานัน้ ชาวฟารสิ แี ละธรรมาจารย์บางคนทูลพระเยซูเจา้ ว่า “พระอาจารย์ พวกเราตอ้ งการเหน็ เคร่อื งหมายอศั จรรย์

ประการหน่ึงจากท่าน 39 พระองคท์ รงตอบวา่ “คนชวั่ รา้ ยและไม่ซ่อื สตั ยต์ อ้ งการเหน็ เครอ่ื งหมายน้ีรึ จะไมม่ เี คร่อื งหมายใดใหเ้ หน็
เวน้ แต่เครอ่ื งหมายของประกาศกโยนาหเ์ ท่านนั้ 40 โยนาหอ์ ย่ใู นท้องปลาสามวนั สามคืน ฉนั ใด บุตรแหง่ มนุษยก์ จ็ ะอย่ใู นทอ้ ง
แผน่ ดนิ สามวนั สามคนื ฉนั นนั้ 41 ในวนั พพิ ากษา ชาวเมอื งนีนะเวหจ์ ะลุกขน้ึ และกล่าวโทษคนยุคน้ี เพราะชาวนีนะเวหไ์ ดก้ ลบั ใจ
เม่อื ได้ฟังคาเทศน์ของโยนาห์ แต่ท่นี ่ีมผี ูย้ ง่ิ ใหญ่กว่าโยนาห์อกี 42 ในวนั พพิ ากษา พระราชนิ ีแห่งทศิ ใต้ จะทรงลุกข้นึ และทรง
กล่าวโทษคนยคุ น้ี เพราะพระนางเสดจ็ มาจากสุดปลายแผน่ ดนิ เพอ่ื ฟังพระปรชี าสขุ มุ ของกษตั รยิ ซ์ าโลมอน แต่ทน่ี ่ีมผี ยู้ ง่ิ ใหญ่กวา่
กษตั รยิ ซ์ าโลมอนอกี
ปี ศาจกลบั มาอีก

43 “เม่อื ปีศาจออกไปจากมนุษยแ์ ลว้ มนั ท่องเทย่ี วไปในทแ่ี หง้ แลง้ เพ่อื หาทพ่ี กั เมอ่ื ไมพ่ บ 44 มนั จงึ พดู วา่ “ขา้ จะกลบั ไปยงั
บา้ นทข่ี า้ จากมา” เม่อื กลบั มาถงึ มนั พบวา่ บา้ นนนั้ วา่ งเปล่า ปัดกวาดตกแตง่ ไวเ้ รยี บรอ้ ย 45 มนั จงึ ไปพาปีศาจอกี เจด็ ตนทร่ี า้ ยกว่า
มนั เขา้ มาอาศยั ทน่ี นั่ ดว้ ย สภาพสดุ ทา้ ยของมนุษยผ์ นู้ นั้ จงึ เลวรา้ ยกวา่ เดมิ คนชวั่ รา้ ยของยคุ น้ีจะเป็นเชน่ น้ี”

304

ภาพรวม

มธ. 12:38:45 เป็นเน้อื หาตอนหน่ึงทางวรรณกรรมทถ่ี กู ลอ้ มกรอบดว้ ยการอา้ งองิ ถงึ “คนในยคุ ชวั่ รา้ ย” (Evil
Generation) (12:39/12:45) คากลา่ วทแ่ี ต่เดมิ มอี ยสู่ ามแหง่ ทแ่ี ยกจากกนั (ว. 38-41; 42; 43-45) นกั บญุ มทั ธวิ นามารวมใน
ตอนเดยี วกนั จากบรบิ ทพระวรสารนกั บุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q ผกู รวมเป็นสนุ ทรพจน์เดยี วกนั และนามา
วางไวใ้ นบรบิ ทน้ี

12:38-40 เป็นขอ้ ความตอนทต่ี ่อเน่ืองจากส่วนก่อน มเี พยี งคาถามจากชาวฟารสิ แี ละธรรมาจารยเ์ ท่านัน้ ท่ี
แทรกเขา้ มา ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ คาถามของพวกเขา หรอื การเรยี กรอ้ งเชงิ บงั คบั ขอเหน็ เคร่อื งหมาย มี
ความเช่อื มโยงอย่างเจาะจงกบั บรบิ ทน้ี การตอบโต้แยง้ ของพวกเขาต่อคาประกาศพพิ ากษาของพระเยซูเจา้ ท่ี
ต่อเน่ืองกนั หลายเร่อื งคอื การเรยี กรอ้ งขอเครอ่ื งหมาย (Sign) ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ การเรยี กพระเยซูเจา้ วา่
“ทา่ นอาจารย-์ รบั บ”ี (Teacher) เป็นสญั ลกั ษณ์ของผไู้ ม่เชอ่ื ไมม่ ศี ษิ ยค์ นใดเรยี กพระองคแ์ บบนนั้ (“พระเจา้ ขา้ ”<Lord>
คือคาท่ีบรรดาศิษย์ใช้เรยี กพระเยซูเจ้า) ในบางโอกาสพระเยซูเจ้าทรงตอบรบั ต่อคาท้าทายจากผู้ไม่เช่ือด้วยการทา
อศั จรรย์-รกั ษาโรค (ดู 9:6) แต่เร่อื งเล่าตอนน้ีเป็นการเล่าเร่อื งในอีกระนาบหน่ึง คาว่า “เคร่อื งหมาย” ไม่ได้
หมายถงึ “อศั จรรย-์ ปาฏหิ ารยิ ”์ (คาน้ีขดั แยง้ กบั คาแปลในฉบบั NIV นักบุญมทั ธวิ ไม่เคยใชค้ าว่า “เคร่อื งหมาย” สอ่ื ความในลกั ษณะน้ี) แต่
หมายถึงหลกั ฐานอะไรสกั อย่างท่จี ะพสิ ูจน์ว่าพระองค์เป็นใคร ขอ้ ความคู่ (Doublet) ใน 16:1 มกี ารเติมคาว่า
“จากสวรรค”์ ลงไป จงึ เหน็ ไดช้ ดั ถงึ การตคี วามของนักบุญมทั ธวิ ว่าหมายถงึ เคร่อื งหมายจากฟ้า (Cosmic Sign)
ทจ่ี ะทาใหพ้ ระราชอานาจอนั ศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องพระองคป์ รากฏชดั เจนจนไมม่ ใี ครเถยี งได้ ซง่ึ แตกต่างจากการไล่ผแี ละ
การทาอศั จรรย์ต่างๆ อาจถูกตีความเป็นสง่ิ อ่นื เช่นตวั อย่างใน 12:22-37 บางทีนักบุญมทั ธวิ อาจเห็นว่าการ
เรยี กรอ้ งขอเคร่อื งหมายยนื ยนั เป็นอีกแง่มุมหน่ึงของของการใช้รูปสญั ลกั ษณ์เปรยี บเทียบถึงโมเสส (Moses
Typology) (ดู เทียบ อพย. 4:1-9 ตอนท่ีโมเสสเผชิญหน้ากับกลุ่มผู้ไม่เช่ือชาวอิสราเอล ไม่ใช่ชาวอียิปต์) ในบรบิ ทน้ี ข้อเรยี กร้อง
ดงั กล่าวไม่ได้ช้ใี ห้เห็นถงึ ความมใี จกวา้ งพรอ้ มจะยอมรบั หลกั ฐานท่ดี ูน่าเช่อื ถอื แต่เป็นความแขง็ กระด้างของ
จติ ใจ การท่ีนักบุญมทั ธิวเติมคาว่า “ไม่ซ่ือสตั ย์” (Adulterous) ลงไป ไม่ได้หมายถึงว่าคนยุคน้ีมีลกั ษณะไม่
ซ่อื สตั ยต์ ่อคาสาบานในชวี ติ สมรส แต่เป็นการเปรยี บเทยี บถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอสิ ราเอลกบั พระเจา้ (เช่น ฮชย.

3:1; เทยี บ ยรม. 3:9; 9:1; อสค. 16:30-52 โดยเฉพาะ ว. 38)

เหตุการณ์น้ีมบี นั ทกึ อยู่ในแหล่งขอ้ มูลทงั้ สองของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ แต่เดมิ มก. 8:11-12 เป็นส่วน
หน่ึงของธรรมประเพณีชาวครสิ ตส์ มยั ก่อนนกั บุญมาระโกทม่ี องวา่ ชวี ติ ก่อนการกลบั คนื พระชนมช์ พี ของพระเยซู
เจา้ ไม่ไดม้ ลี กั ษณะของพระเมสสยิ าห์ ความเช่อื บงั เกดิ ขน้ึ หลงั เหตุการณ์แห่งการสน้ิ พระชนมบ์ นไมก้ างเขนและ
การกลบั คนื พระชนม์ชพี แล้ว ในธรรมประเพณีน้ี พระเยซูประกาศว่าจะไม่มกี ารให้เคร่อื งหมายใดๆ ทงั้ ส้นิ ใน
ธรรมประเพณีของเอกสารแหล่ง Q ท่คี งรกั ษาไว้ใน ลก 11:29-30 แสดงขอ้ ยกเว้นอย่างหน่ึง คอื จะมกี ารให้
เคร่อื งหมายของประกาศกโยนาห์แก่ “คนยุคน้ี” เราไม่รูช้ ดั เจนว่าสงิ่ น้ีหมายถงึ คาเทศนาของประกาศกโยนาห์
หรอื การท่ีประกาศกโยนาห์ คอื เคร่อื งหมายนัน้ เอง นักบุญมทั ธวิ ใช้ธรรมประเพณีน้ีทงั้ ในเน้ือหาตอนท่อี ยู่ใน
พระวรสารนักบุญมาระโกและในเอกสารแหล่ง Q (เทยี บ มธ. 16:1-4; มก. 8:11-13; ลก. 11-29-30) แต่มกี ารตคี วามใหเ้ กดิ
ความหมายเฉพาะเจาะจง เคร่อื งหมายท่มี เี พยี งอย่างเดยี วเท่านัน้ คอื การกลบั คนื พระชนม์ชพี ของพระเยซูเจ้า
พระองคจ์ ะเสดจ็ ไปอยใู่ ตพ้ ภิ พเป็นเวลาสามวนั เชน่ เดยี วกบั ทป่ี ระกาศกโยนาหอ์ ยใู่ นทอ้ งปลาวาฬสามวนั

ใน 12:41-42 คาสญั ญาของพระเยซูเจา้ เก่ยี วกบั การกลบั คนื พระชนม์ชพี เป็นสง่ิ ท่ชี าวฟารสิ ไี ม่ได้หลงลมื
พวกเขาคงจดจาไดห้ ลงั จากทม่ี กี ารตรงึ กางเขนและการนาพระองคไ์ ปฝังในพระคูหา (27:62-66) ชาวฟารสิ รี ่วมมอื

305

กบั สมณะระดบั สงู ในการปฏเิ สธเครอ่ื งหมายของพระเป็นเจา้ ทม่ี อี ย่ใู นองคพ์ ระเยซูเจา้ โดยนาคาอธบิ ายแบบการ
ใชเ้ หตุผลมาอา้ ง ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ ว่าแมแ้ ต่เครอ่ื งหมายหน่ึงเดยี วทพ่ี ระองคใ์ หม้ านนั้ กย็ งั มคี วามคลุมเครอื และไม่
มี “เครอ่ื งหมาย” ใดๆ ทป่ี ราศจากความไมเ่ สย่ี ง การปฏเิ สธสารจากการกลบั คนื พระชนมช์ พี ของพระเยซูเจา้ (ไม่ใช่
การปฏเิ สธพระเยซูเจา้ องคจ์ รงิ ในประวตั ศิ าสตร)์ เป็นการยนื ยนั แบบประทบั ตราการปฏเิ สธพระเป็นเจา้ ของพวกเขา พระวร
สารจงึ ถูกป่าวประกาศไปยงั ชนตา่ งศาสนาและประชาชาตทิ งั้ หลาย (28:12-20) ใน ว. 41-42 พระเยซูเจา้ ประกาศว่า
เม่อื คนต่างศาสนาจะกลบั คนื ชพี ในการพพิ ากษาครงั้ สดุ ทา้ ย และจะตดั สนิ โทษผนู้ าชาวยวิ ทไ่ี ม่ยอมเชอ่ื เป็นการ
ส่งสญั ญาณเรม่ิ ต้นของพระมหาทรมาน/การกลบั คนื พระชนม์ชพี และพนั ธกจิ ต่อชนต่างศาสนา ซ่งึ แน่นอนว่า
นกั บุญมทั ธวิ และผอู้ ่านของท่านมองยอ้ นหวนระลกึ ไปถงึ สง่ิ เหล่านนั้ สว่ นน้ีจงึ เป็นการทค่ี วามคาดหวงั ทถ่ี ูกพลกิ
กลบั อย่างน่าตกใจอกี ครงั้ ภาพของการพพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ยในธรรมเนียมความเช่อื แต่เดมิ คอื ชาวอสิ ราเอลซง่ึ
เป็นผชู้ อบธรรมจะตดั สนิ ลงโทษชนตา่ งศาสนาซง่ึ เป็นคนบาป ในทน่ี ้ี บทบาทไดถ้ ูกสลบั สบั เปลย่ี นแลว้ เพราะชน
ต่างศาสนาซง่ึ ไดก้ ลบั ใจจะเป็นฝ่ายตดั สนิ ลงโทษชาวยวิ ผไู้ มเ่ ชอ่ื คาว่า “ตดั สนิ ลงโทษ” มคี วามหมายจรงิ จงั ภาพ
ของผู้ชอบธรรมท่ปี รากฏในน้ีไม่ได้เป็นแค่เพยี งพยานเท่านัน้ แต่เป็นผูต้ ดั สนิ ด้วย พวกเขากบั บุ ตรแห่งมนุษย์
รว่ มกนั ตดั สนิ พพิ ากษา (เทยี บ 7:22 LXX; ปชญ. 3:8; มธ. 19:28; 1 คร. 6:3; วว 3:21; จบู ลิ สี ์ 24:29; 1เอโนค 95:3; 96:1) เช่นเดยี วกบั
ใน 12:6 ท่พี ระเยซูเจ้าทรงเป็นตวั แทนของ “สงิ่ ทย่ี งิ่ ใหญ่กว่าพระวหิ าร” ในท่นี ้ีพระองคท์ รงเป็นตวั แทนของผูท้ ่ี
ยง่ิ ใหญ่กว่าประกาศกโยนาหแ์ ละกษตั รยิ ์โซโลมอน. “ราชนิ ีแห่งแดนใต้” (Queen of the South) ในทน่ี ้ีหมายถงึ
การทร่ี าชนิ ีแหง่ ชบี าเสดจ็ มาเยอื นกษตั รยิ โ์ ซโลมอน (1พกษ. 10:1-13)

สาหรบั 12:43-45 ไม่ว่าเราจะพจิ ารณาแยกต่างหากว่าเป็นเร่อื งของพระเยซูเจ้าในประวตั ศิ าสตรห์ รอื เป็น
การสรา้ งครสิ ตจกั รหลงั การกลบั คนื พระชนมช์ พี ความหมายดงั้ เดมิ ของขอ้ ความน้ียงั คงไมช่ ดั เจน ในวฒั นธรรมท่ี
ความเจบ็ ป่วยและปิศาจถูกมองว่ามคี วามเช่อื มโยงกนั ขอ้ ความน้ีดจู ะเป็นตวั แทนของปรชี าญาณทอ้ งถนิ่ (Folk
Wisdom) เลก็ ๆ น้อยๆ ซ่งึ มพี ้นื ฐานมาจากการสงั เกตกระบวนการรกั ษาโรค/ไล่ผี ซ่งึ ปกตแิ ลว้ จะไม่หายอย่าง
ถาวร หากถูกสงิ ใหม่อกี ครงั้ สภาพจะแย่ยงิ่ กว่าครงั้ แรก หากคากล่าวน้ีมาจากพระเยซูเจา้ พระองค์ทรงใชเ้ พ่อื
เตอื นผทู้ ต่ี อ้ งการไดป้ ระโยชน์จากพนั ธกจิ ของพระองค์ แต่ยงั คงขาดการอุทศิ ตนใหก้ บั พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้
ทพ่ี ระองค์ทรงประกาศและแสดงใหเ้ หน็ ผ่านชวี ติ ของพระองค์เอง ในบรบิ ทของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ คาพูด
เหล่าน้ีเป็ นส่วนเพ่ิมเติมจากคาตอบของพระเยซูเจ้าต่อชาวฟาริสี เม่ือพวกเขาเรียกร้องให้พระองค์แสดง
เครอ่ื งหมาย ซง่ึ ต่อเน่อื งมาจากความขดั แยง้ เรอ่ื งเบเอลเซบลู แมว้ า่ นกั บญุ มทั ธวิ จะนามาเขยี นใหมแ่ ละสอดแทรก
เน้ือหาเพม่ิ เตมิ ลงไป แต่ท่านยงั คงรกั ษาส่วนเช่อื มโยงนัน้ ซง่ึ แต่เดมิ อย่ใู นเอกสารแหล่ง Q คอื คากล่าวเกย่ี วกบั
การกลบั มาใหม่ของปิศาจเป็นการโต้ตอบกบั ชาวฟารสิ ที ่ีกล่าวหาว่าพระองค์เป็นพวกเดียวกับ เบเอลเซบูล
สาหรบั พระเยซูเจา้ ในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ขอ้ ความช้นิ ส่วนเลก็ ๆ จากปรชี าญาณทอ้ งถน่ิ กลายเป็นสงิ่ ทถ่ี ูก
นามาเปรยี บเทยี บกบั ประสบการณ์เกย่ี วกบั “คนยุคน้ี” ในสภาพของชวี ติ ทพ่ี วกเขาไดร้ บั ฟังพระวาจา ไดพ้ บกบั
องคพ์ ระเป็นเจา้ ผเู้ สดจ็ มา แต่ไม่ไดใ้ ส่ใจต่อชวี ติ ปฏบิ ตั ติ ามคาเทศน์สอนหรอื พระวาจาทไ่ี ดร้ บั ปล่อยใหช้ วี ติ ไม่มี
สาระแก่นสารใดๆ ไม่นาพาชวี ติ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามพระวาจาอย่างเกดิ ผล สภาพสุดทา้ ยของพวกเขาจงึ ย่าแย่กว่าใน
ตอนแรก การทพ่ี วกเขาไดพ้ บพระครสิ ต์ โดยมโี อกาสแห่งความรอดเตม็ เป่ียม แต่สุดทา้ ยกลบั กลายเป็นสงิ่ ทท่ี า
ใหพ้ วกเขาแยก่ วา่ เดมิ (เทยี บ ยน. 9:35-41)

306

ข้อคิดไตรต่ รอง
คาประกาศของนักบุญมทั ธวิ ทว่ี ่าการกลบั คนื พระชนมช์ พี เป็นเคร่อื งหมายเดยี วทพ่ี ระเยซูเจา้ ทรงใหแ้ ก่คน

ยุคน้ีเป็นสงิ่ ทส่ี าคญั อย่างยงิ่ ต่อการตคี วามบทบรรยายของพระวรสารนักบุญมทั ธวิ โดยรวมทงั้ หมด เน่ืองจากคา
ประกาศ “เคร่อื งหมาย” น้ีช้ใี ห้เห็นอย่างชดั เจนว่าทุกเร่อื งราวและเหตุการณ์ทุกฉากในพระวรสารได้รบั การ
บรรยายผ่านมุมมองความเช่ือของผู้ท่ีอยู่ในยุคหลงั การกลบั คืนพระชนม์ชีพ แต่ละเร่อื งเล่าและคาพูดส่อื ถึง
ความหมายของการกระทาของพระเป็นเจา้ ในการยกผูท้ ถ่ี ูกตรงึ อย่บู นกางเขนใหเ้ ป็นเจ้านายเหนือสรรพสงิ่ ใน
มุมมองของนักบุญมทั ธวิ ตวั ละครในเร่อื งราวไม่สามารถเขา้ ใจอย่างแทจ้ รงิ ว่าอะไรกาลงั เกดิ ขน้ึ เม่อื พวกเขาได้
มองเหน็ และไดย้ นิ คาพดู และการกระทาของพระเยซูเจา้ ผอู้ ย่ใู นสภาพมนุษย์ เพราะตวั ตนทแ่ี ทจ้ รงิ และการไถ่กู้
มนุษยชาตใิ นชวี ติ และคาสอนของพระองคม์ คี วามชดั เจนขน้ึ มาเม่อื พระองค์ทรงกลบั คนื พระชนมช์ พี มเี พยี งแต่
ผูอ้ ่านพระวรสารท่มี องทุกสงิ่ จากมุมของผู้ท่อี ยู่ในยุคหลงั การกลบั คนื พระชนม์จะสามารถเขา้ ใจสารทงั้ หมดท่ี
พระวรสารตอ้ งการจะสอ่ื อยา่ งสมบูรณ์ รวมถงึ สารของพระศาสนจกั รเกย่ี วกบั การกระทาของพระเป็นเจา้ ผา่ นทาง
พระเยซูเจ้า ตวั ละครในเร่อื งท่ีได้กลายเป็นผู้เช่อื คอื สญั ลกั ษณ์ท่ีโปร่งใสชดั เจนของผู้เช่อื ท่ีอยู่ในยุคหลงั การ
กลบั คนื พระชนมช์ พี นอกจากน้ี ยงั หมายความว่าคาประกาศถงึ การตดั สนิ ลงโทษของตวั ละครในเร่อื ง จรงิ ๆ แลว้
คอื สง่ิ ทต่ี อ้ งการจะกลา่ วกบั ผทู้ ไ่ี ม่เชอ่ื ในยคุ สมยั ของนกั บญุ มทั ธวิ และชาวครสิ ตผ์ อู้ า่ นพระวรสารของทา่ นดว้ ย

การพลกิ กลบั ความคาดหวงั อย่างน่าแปลกประหลาดจรงิ จงั ในภาพน้ี ผอู้ ่านชาวครสิ ต์ทห่ี ลงตนเองและมอง
ว่าตนเป็นหน่ึงในคนต่างศาสนาทจ่ี ะกลายเป็นผตู้ ดั สนิ ลงโทษชาวยวิ ผไู้ ม่เช่อื ในการพพิ ากษาครงั้ สุดท้ายจะไม่
อาจเขา้ ใจได้ การกลบั คนื พระชนมช์ พี นนั้ โดยตวั มนั เองแลว้ คอื การพลกิ กลบั เป็นตรงขา้ มของคา่ นิยมและความ
คาดหมายต่างๆ ของมนุษย์ และครสิ ตจกั รไม่ควรมองวา่ การกลบั คนื พระชนมช์ พี คอื เครอ่ื งหมายอนั คลุมเครอื ท่ี
ตนจะนามาใชต้ ่อตา้ นผทู้ ไ่ี มเ่ ชอ่ื รวมถงึ ชาวยวิ ผไู้ ม่เชอ่ื แต่การกลบั คนื พระชนมช์ พี คอื เครอ่ื งหมายอนั ลกึ ลบั และ
ไมอ่ าจคาดเดาไดข้ องพระหรรษทานแหง่ การกลบั คาพพิ ากษาของพระเป็นเจา้ ภาพน้ีจงึ อาจกลบั มาทาหน้าทเ่ี ดมิ
สาหรบั ผอู้ ่านชาวครสิ ต์ยุคใหม่ หากมกี ารตคี วามทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ภาพชาวยวิ ในบทบาทของชาวนินะเวห์ ผซู้ ง่ึ จะ
กลบั คนื ชพี ในการพพิ ากษาครงั้ สุดทา้ ย และตดั สนิ ลงโทษชาวครสิ ตท์ แ่ี อบอา้ งเอาสญั ญาณของประกาศกโยนาห์
หรอื สญั ญาณของการกลบั คนื พระชนมช์ พี วา่ เป็นของตนมาเป็นเวลาหลายศตวรรษ

มทั ธวิ 12:46-50 ชมุ ชนศษิ ยแ์ บบใหม่

พระญาติแท้ของพระเยซูเจา้
46 ขณะทพ่ี ระเยซูเจา้ กาลงั ตรสั กบั ประชาชน พระมารดาและพระญาตขิ องพระองคม์ ายนื อยู่ขา้ งนอก ตอ้ งการพูดกบั พระ

องค์ 47 มผี ูพ้ ูดกบั พระองคว์ ่า “มารดาและพนี่ ้องของท่านกาลงั เสาะหาท่าน คอยอยู่ขา้ งนอก” 48 พระองค์จงึ ตรสั ถามผูท้ ม่ี าทูล
นัน้ ว่า “ใครเป็นมารดา ใครเป็นพน่ี ้องของเรา” 49 แลว้ ทรงย่นื พระหตั ถ์ชไ้ี ปทบ่ี รรดาศษิ ย์ ตรสั ว่า “น่ีคอื มารดาและพน่ี ้องของเรา
50 เพราะผทู้ ป่ี ฏบิ ตั ติ ามพระประสงคข์ องพระบดิ าของเราผสู้ ถติ ในสวรรค์ ผนู้ นั้ เป็นพน่ี ้องชายหญงิ และเป็นมารดาของเรา”

ข้อศึกษาวิพากษ์
แมว้ า่ ก่อนหน้าน้ีจะมภี าพดา้ นลบจากการประณาม “คนยุคน้ี” ทป่ี ฏเิ สธพระเยซูเจา้ และสารของพระองค์ แต่

กย็ งั มผี ทู้ ต่ี อบรบั พระองค์ (ดู 11:25-27) นักบุญมทั ธวิ ตคี วามเร่อื งราวฉากน้ีจาก มก 3:31-35 ในแบบใหม่ โดยให้
แสดงถึงชุมชนของศษิ ย์ท่เี กดิ ข้นึ แม้ว่าพนั ธกจิ ท่มี ตี ่ออสิ ราเอลจะล้มเหลว ท่านได้นาส่วนท่กี ล่าวว่า “ฝูงชน”

307

(o[lov ochlos) คอื “ครอบครวั ท่แี ทจ้ รงิ ” ของพระองคม์ าเขยี นใหม่ เพ่อื ใหช้ ดั เจนว่าผคู้ นเหล่าน้ีคอื ผทู้ ม่ี ศี กั ยภาพท่ี
จะเป็นศษิ ยข์ องพระองค์ ครอบครวั ทแ่ี ทจ้ รงิ นนั้ ประกอบดว้ ย “ศษิ ย”์ ของพระองค์ (maqhtai” mathetai)

ฉากน้ีไม่มปี ระโยชน์ในเชงิ ทเ่ี ป็นประวตั สิ ่วนบุคคล มกี ารกล่าวถงึ มารดาของพระเยซูเจา้ อกี ครงั้ นับตงั้ แต่
บทบรรยายเร่อื งการประสตู ขิ องพระองค์ พน่ี ้องชายหญงิ ของพระเยซูเจา้ ปรากฏขน้ึ อย่างทนั ที ในเร่อื งราวดว้ ย
แต่ผทู้ พ่ี วกเขากล่าวถงึ ใน 13:55-56 คอื คนในหม่บู า้ นนาซาเร็ธ ไม่มใี ครไดร้ บั บทบาทเพม่ิ อกี ในส่วนทเ่ี หลอื ของ
พระวรสารน้ี (เวน้ แต่ ถา้ “มารยี ์ อกี คนหน่ึง” ใน 27:56, 61; 28:1 คอื มารดาของพระเยซูเจา้ ) สงิ่ เดยี วท่นี ักบุญมทั ธวิ สนใจคอื การใช้
ครอบครวั ของพระเยซูเจา้ เป็นสญั ลกั ษณ์ถงึ ชมุ ชนชาวครสิ ต์เขา้ มาแทนทค่ี รอบครวั ทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติ

ฝงู ชนหรอื ผทู้ ม่ี ศี กั ยภาพจะเป็นศษิ ยป์ รากฏอย่ตู ลอดการโตเ้ ถยี งนนั้ พวกเขาไดย้ นิ ไดฟ้ ังอย่หู ่างๆ พระเยซู
เจา้ ประณามชาวฟารสี แี ละ “คนยคุ น้”ี นกั บญุ มทั ธวิ คงรกั ษาภาพเดมิ ในพระวรสารนกั บญุ มาระโก คอื ใหค้ รอบครวั
ของพระองคย์ นื อยู่ “ขา้ งนอก” ซ่งึ ส่อื ใหเ้ หน็ ถงึ ความห่างในเชงิ ศาสนา แมว้ ่าท่านจะตดั ฉากในบ้านฉากหน่ึงใน
พระวรสารนักบุญมาระโกออกไป เม่อื เขาละเวน้ ไม่กล่าวถงึ ขอ้ ความท่นี ่าอบั อายซ่งึ กล่าวว่า ครอบครวั ของพระ
เยซูเจา้ คดิ วา่ พระองคเ์ สยี สติ (มก. 3:20-21) การทม่ี ฝี งู ชนปรากฏอย่ดู ว้ ยแสดงใหเ้ หน็ ว่าพระเยซูเจา้ ทรงอย่ภู ายนอก
นอกจากน้ี นักบุญมทั ธวิ ยงั ช้ใี ห้เหน็ ว่าผู้ท่ยี อมรบั สารของพระเยซูเจา้ จะต้องให้พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้
เหนืออยสู่ ง่ิ อ่นื ใดในชวี ติ รวมถงึ ความจงรกั ภกั ดตี ่อครอบครวั ของตนเอง เช่นเดยี วกบั ทพ่ี ระองคท์ รงกระทา (8:21-
22; 10:21-39; 19:29) คนเหล่านัน้ ได้พบครอบครวั ใหม่ในชุมชนของศษิ ย์ ซ่งึ เป็นคาท่ีนักบุญมทั ธวิ เพม่ิ เตมิ ลงไปใน
เน้อื หาจากพระวรสารนกั บุญมาระโก พระเยซูเจา้ ทรง “ยน่ื พระหตั ถ”์ ไปเหนอื พวกเขา (เตมิ ลงไปในเน้อื หาจากพระวรสาร
นกั บุญมาระโกเช่นกนั ) ซง่ึ เป็นทา่ ทางทเ่ี ม่อื นามาใชก้ บั พระเยซูเจา้ จะเป็นสญั ญาณทบ่ี ่งบอกถงึ พระเมตตาของพระองค์
และเป็นการตอบสนองโดยตรงกบั ผทู้ ต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื (8:3) การอศั จรรยอ์ นั ยง่ิ ใหญ่ทช่ี ว่ ยเหลอื บรรดาศษิ ย์
ของพระองคใ์ หป้ ลอดภยั (14:31) คาประกาศทเ่ี ป็นการกล่าวสรุปน้ีมคี วามหมายสองแง่ (1) ศษิ ยค์ อื ผทู้ ก่ี ระทาตาม
น้าพระทัยของพระเป็ นเจ้า ความเป็ นศิษย์ท่ีจริงแท้มิได้มีอยู่ในวิชาชีพ หลักคาสอนท่ีถูกต้อง หรือแม้แต่
ปรากฏการณ์อศั จรรย์ แต่อยทู่ ก่ี ารทาตามน้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ (7:21-23) (2) ศษิ ยไ์ มไ่ ดเ้ ป็นเพยี งพน่ี ้องกนั ใน
ครอบครวั ของพระเป็นเจา้ เทา่ นนั้ แต่ยงั เป็น “พน่ี ้องชายหญงิ ” ของพระเยซูเจา้ ดว้ ย ความสมั พนั ธน์ ้มี คี วามสาคญั
เป็นพเิ ศษสาหรบั นักบุญมทั ธวิ เพราะเป็นการกาหนดแต่งตงั้ สมาชกิ ของชุมชนชาวครสิ ต์ (ดู เทยี บ 23:8 [แต่ในฉบบั
NRSV จะคลุมเครอื ]; 25:40; 28:10) (3) ความเป็นศษิ ยข์ องพระเยซูเจ้า เพมิ่ ความผูกพนั เป็นพเิ ศษมากข้นึ ในความเป็น
“มารดาและพนี่ ้องชายหญิง” ของพระองค์ เมอื่ ศษิ ย์ได้ฟังพระวาจาและนาไปปฏบิ ตั ติ ามอย่างเกดิ ผล กล่าวคอื
ศษิ ยไ์ ดป้ ฏบิ ตั ติ ามพระประสงคข์ องพระบดิ าเจา้ สวรรค์ เป็นรูปแบบของครอบครวั ใหม่ ในชวี ติ ผูกสมั พนั ธ์แบบ
ใหม่ ในอกี ระดบั หนึง่ แบบเหนือธรรมชาตหิ รอื ชวี ติ เป็นหนึง่ เดยี วกบั พระบดิ าเจา้ สวรรค์ เช่นเดยี วกบั องคพ์ ระเยซู
เจา้ ผเู้ สดจ็ มาเพอื่ ทาตามพระประสงคข์ องพระบดิ าเจา้ ศษิ ยข์ องพระองคไ์ ดก้ ลบั กลายเป็นบุตรของพระเป็นเจา้
ตามแบบอย่างของพระองค์ ร่วมเป็นหนึง่ เดยี วกบั พระองค์ในหนทาง ความจรงิ และชวี ติ ดงั ทพี่ ระเยซูเจ้าทรง
ประกาศเทศน์สอนในปฐมเทศนาครงั้ แรก บนภูเขา และชวี ติ ทหี่ ล่อหลอมเป็นหนึง่ เดยี วกบั พระเป็นเจ้าในบท
ภาวนาทพี่ ระองคท์ รงสอน คอื บทขา้ แตพ่ ระบดิ า... (มธ. 5-6)

308

ข้อคิดไตรต่ รอง
การอธบิ ายตคี วามดา้ นบนก่อใหเ้ กดิ คาถามว่าจรงิ หรอื ไม่ท่ีนักบุญมทั ธวิ พลกิ กลบั สมการทว่ี ่า “ผใู้ ดทาตาม

น้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ ” เป็น “พน่ี ้องชายหญิง” ของพระเยซูเจา้ แมว้ ่าเขาจะไม่ใช่ศษิ ย์อย่างเปิดเผย (ดู ขอ้
ศกึ ษาวพิ ากษ์ 25:31-46) ไมว่ า่ ในกรณใี ดกต็ าม การทาตามน้าพระทยั ของพระเป็นเจา้ อาจไมใ่ ชก่ ารเป็นศษิ ยข์ องชุมชน
อย่างเป็นทางการ และมคี วามสาคญั ในระดบั พ้นื ฐาน ในอกี ทางหน่ึง เน้ือหาส่วนน้ียงั ช้ใี หเ้ หน็ ว่าความเป็นศษิ ย์
ของพระเยซูเจา้ ไม่ใช่เร่อื งสว่ นบุคคล การเป็นศษิ ย์ เป็นการร่วมเป็นสว่ นหน่ึงของครอบครวั ขนาดใหญ่ หรอื เป็น
ชุมชนของผเู้ ชอ่ื ในพระเป็นเจา้ กล่าวคอื ผปู้ ฏบิ ตั ติ ามพระประสงคข์ องพระบดิ าผสู้ ถติ ในสวรรค์ หรอื ผฟู้ ังพระวาจา
ของพระเป็นเจา้ และใสใ่ จนามาปฏบิ ตั อิ ยา่ งเกดิ ผล หล่อหลอมตนเป็นหนึง่ เดยี วกบั พระเป็นเจา้ ผ่านการปฏบิ ตั ติ น
ในหนทางชีวติ และความเป็นอยู่ นาพาองค์พระเป็นเจ้าให้เป็นแสงสว่าง ความจรงิ ชีวติ ในหนทางชีวิตและ
แบบอย่างทพี่ ระเยซูเจา้ ทรงประกาศสอน และเพมิ่ คุณค่ากบั ศกั ดศิ์ รขี องชวี ติ ตามมาตรฐานใหม่ทพี่ ระองค์ทรง
สอน ดาเนินชวี ติ ตดิ ตามพระองคอ์ ยา่ งซอื่ สตั ย์ (มธ. 5 – 7, 8 – 10) ต่างจะไดร้ บั พระพรพเิ ศษแห่งความเป็นครอบครวั
ใหม่ในองคพ์ ระเป็นเจา้ และน้อมนาใหช้ วี ติ ความเป็นอย่ขู องครอบครวั เป็นสุขสมบูรณ์ข้นึ ในความรกั โดยตอ้ งอยู่
ร่วมกนั ดว้ ยความรกั พระเป็นเจา้ อย่างส้นิ สุดจติ ใจ ส้นิ สุดสตปิ ัญญา ส้นิ สุดความสามารถ และรกั ผูอ้ นื่ เหมอื นรกั
ตนเอง จากฐานความรกั ของชวี ติ ในความเป็นครอบครวั น้ี มนุษยท์ ุกคนจงึ พอใจเรยี กกลุ่มสมาชกิ ของตนตงั้ แต่
สองคนขน้ึ ไปวา่ “ครอบครวั ” พลงั แหง่ ครอบครวั และความรกั ไดเ้ ออ่ ลน้ ขน้ึ อย่างมากมายทาใหพ้ ระบญั ญตั ปิ ระการ
ทสี่ ี่ สาเรจ็ สมบูรณ์ในอกี ระดบั หนึง่ เช่นกนั และในรปู แบบความเป็นหนึง่ เดยี วของพระบดิ า พระบุตรและพระจติ
อาแมน.

309

บทเสริมเร่ือง: พระอาณาจกั รสวรรคใ์ นพระวรสารนักบญุ มทั ธิว

ภาษาของ “กษัตรยิ ์” และ “พระอาณาจกั ร” มกั จะถูกมองว่าเป็นเร่อื งโบราณ อยู่ในสงั คมและโลกแห่ง
ความคดิ ทต่ี ่างเวลาและต่างสถานทจ่ี ากเรา อย่างดกี อ็ าจมองว่ามเี สน่หน์ ่าพศิ วง หรอื อย่างเลวรา้ ยกอ็ าจมองว่า
เป็นสงิ่ ท่พี ยายามรกั ษาและสนับสนุนโครงสร้างท่กี ดขข่ี ่มเหงผู้อ่นื ซ่ึงชาวครสิ ต์สมยั ใหม่ท่ดี คี วรปฏิเสธ การ
ตดั สนิ เช่นน้ีซ่งึ อาจเรว็ เกนิ ไป ก่อนท่เี ราจะตดั สนิ ใจปฏเิ สธ ยนื ยนั หรอื นาภาษาเก่ยี วกบั พระอาณาจกั รในพระ
คมั ภรี ม์ าตคี วามใหม่ เราจะตอ้ งพยายามรบั ฟังพระอาณาจกั รสวรรค์อย่างท่คี าสอนน้ีตามความเป็นจรงิ เสยี ก่อน
ซง่ึ การทาเช่นน้ีไม่อาจทาแบบโดยรวมๆ กวา้ งๆ ได้ แต่ตอ้ งพจิ ารณาจากเน้ือหาลายลกั ษณ์อกั ษรทเ่ี ป็นรปู ธรรม
จรงิ ๆเท่านัน้ เราจะเขา้ ใจการแสดงความเช่อื ของนักบุญมทั ธวิ ผ่านภาษาเก่ยี วกบั พระอาณาจกั รสวรรค์/พระ
อาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ไดอ้ ย่างไร ขอสรุปประเดน็ สาคญั ในการทาความเขา้ ใจความหมายและการใชภ้ าษา
ของนกั บญุ มทั ธวิ ไวใ้ นขอ้ วนิ ิจฉยั 5 ประการต่อไปน้ี

นักบุญมทั ธิวนาธรรมประเพณีเก่าแก่และแพร่หลายเกี่ยวกบั ภาษาของพระอาณาจกั รมาใช้
และปรบั เปลี่ยนให้เหมาะสม

นักบุญมทั ธวิ ไม่ได้เป็นผูค้ ดิ คน้ ถ้อยคาท่เี ป็นภาษาทางศาสนาลกั ษณะน้ี ภาษาเก่ยี วกบั พระอาณาจกั ร
ของท่านนามาจากพ้ืนฐานความรู้อนั หนักแน่นเก่ียวกบั การใช้ภาษาทางศาสนาในอาณาจกั รตะวนั ออกใกล้
โบราณ ในพระคมั ภรี ภ์ าคพนั ธสญั ญาเดมิ ศาสนายดู ายตอนต้น การเทศนาสงั่ สอนของพระเยซูเจา้ และศาสนา
ครสิ ต์ตอนต้น (ดู บรรณานุกรม) อาณาจกั รสวรรค์หรอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าเป็นองค์ประกอบหลกั ใน
แหล่งขอ้ มลู ทงั้ สองของท่านอยแู่ ลว้ คอื พระวรสารนกั บุญมาระโกและเอกสารแหล่ง Q และเป็นองคป์ ระกอบหลกั
ในคาเทศนาสงั่ สอนของพระเยซูเจา้ ดว้ ย

ผอู้ ่านพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ใชภ้ าษาเกย่ี วกบั พระอาณาจกั รในชวี ติ ประจาวนั ทางโลกของพวกเขาอยู่
แลว้ ทงั้ ยงั คุน้ เคยดกี บั ภาษาเช่นน้ีทใ่ี ชใ้ นคาสอนทางศาสนา พวกเขาไม่จาเป็นตอ้ งใหใ้ ครมาอธบิ ายความหมาย
ของถ้อยคาเหล่าน้ี ในประโยคขน้ึ ต้นของพระวรสาร นักบุญมทั ธวิ ใหผ้ ูอ้ ่านเหน็ ลาดบั วงศ์ตระกูล ไล่ยอ้ นบรรพ
บุรุษของพระเยซูเจ้าไปจนถึงกษัตรยิ ์แห่งอิสราเอลและยูดาห์ ทงั้ ยงั มกี ารใส่คาประกาศถึง “การบังเกิดของ
กษตั รยิ แ์ ห่งชาวยวิ ” การทก่ี ษตั รยิ เ์ ฮโรดพยายามทาลายพระเยซูเจ้า และคาประกาศของยอห์นทว่ี ่าอาณาจกั ร
สวรรค์ “อย่ใู กลแ้ ลว้ ” (1:2-3:2) สาหรบั ผอู้ ่านกลุ่มแรกของเขา ทงั้ หมดน้ีไม่จาเป็นตอ้ งใส่คาอธบิ ายเพมิ่ เตมิ เลย แต่
สาหรบั ผอู้ า่ นในยคุ สมยั ใหม่ พวกเขาไมไ่ ดอ้ าศยั อยใู่ นโลกยคุ ทม่ี หี ลกั การปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั พระมหากษตั รยิ แ์ ละพระ
อาณาจกั ร จงึ ต้องศกึ ษาเพม่ิ เตมิ ทางประวตั ศิ าสตร์และสรา้ งจนิ ตนาการช่วย เพ่อื ทาความเขา้ ใจสง่ิ ท่เี ป็นการ
ยนื ยนั ของนกั บญุ มทั ธวิ เกย่ี วกบั อาณาจกั รสวรรคห์ รอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้

พระอาณาจกั รสวรรคค์ ือศนู ยก์ ลางของแนวคิดด้านคริสตศาสตรข์ องนักบุญมทั ธิว

ภาพเดยี วทค่ี รอบคลุมขอบเขตกวา้ งขวางทส่ี ุดในคายนื ยนั ทางครสิ ตศาสตรค์ อื “พระอาณาจกั รสวรรค”์
คุณคา่ น้ีเป็นสงิ่ ทร่ี วมสารจากนกั บุญยอหน์ (3:2) พระเยซูเจา้ (4:17) และศษิ ยท์ งั้ หลาย ทงั้ กอ่ นและหลงั การกลบั คนื
พระชมมช์ พี (10:7) สารจากครสิ ตจกั รยงั คงเป็นการเทศน์สอนถงึ “ขา่ วดเี กย่ี วกบั พระอาณาจกั รสวรรค”์ (24:14) นัก
บุญมทั ธวิ เป็นผู้ท่ีใช้ภาษาเก่ียวกบั พระอาณาจกั รมากกว่าผู้เขยี นพระวรสารคนอ่นื ๆ ในพระคมั ภีร์ภาคพนั ธ

310

สญั ญาใหม่ เราพบคากรยิ าทม่ี าจากรากศพั ทเ์ ดยี วกนั (Cognate Verb) ทแ่ี ปลวา่ “กฎ” (Basileuo) เพยี งครงั้ เดยี ว
เท่านัน้ (2:22) ส่วนคาว่า “อาณาจกั ร” และ “กษตั รยิ ์” พบทงั้ หมด 77 ครงั้ และอย่างน้อย 71 คาจากทงั้ หมดน้ีท่ี
นามาใช้ในสาระแห่งครสิ ตศาสตร์ ส่วนคาท่ีเหลือได้แฝงความหมายโดยนัยในทางครสิ ตศาสตร์เช่นกนั นัก
บุญมทั ธวิ ไมเ่ คยนาคาว่ากษตั รยิ ห์ รอื ความเป็นกษตั รยิ ม์ าใชใ้ นความหมายทางโลกลว้ นๆ โดยไม่มคี วามหมายท่ี
เกย่ี วกบั ครสิ ตศาสตรแ์ ฝงอย่เู ลย

“พระอาณาจกั รสวรรค์ (32 ครงั้ ) และ “พระอาณาจกั รของพระเจ้า” (5 ครงั้ )

วลที งั้ สองน้ีมคี วามหมายเดยี วกนั สาหรบั นักบุญมทั ธวิ ท่านไดน้ ามาใชส้ ลบั กนั ใน 19:23-24 ซง่ึ ในส่วนน้ี
คาว่า “สวรรค์” ไม่ได้หมายถึงสถานท่ีอยู่อาศยั ของพระเป็นเจ้า แต่เป็นการเล่ยี งคาตามธรรมเนียมชาวยวิ ท่ี
ตอ้ งการหลกี เลย่ี งการเอย่ นามพระเป็นเจา้ โดยตรง คาว่า “พระอาณาจกั ร” เป็นคานามทม่ี าจากคากรยิ า สงิ่ แรกท่ี
คาน้ีสอ่ื ถงึ ไม่ใช่พน้ื ทห่ี รอื เขตแดน แตเ่ ป็นอานาจในการปกครอง บ่อยครงั้ คาวา่ “ครองราชย”์ หรอื “ปกครอง” มกั
เป็นคาแปลทด่ี ที ่สี ุด ทงั้ คาว่า “พระอาณาจกั รสวรรค”์ และคาว่า “พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ” มคี วามหมาย
หลกั ๆ วา่ “การครองราชยข์ องพระเป็นเจา้ ” หรอื “อานาจสงู สุดของพระเป็นเจา้ ในการเป็นกษตั รยิ ”์

พระเจา้ ในฐานะกษตั ริย์ (6 ครงั้ )

ครงั้ หน่ึงมกี ารเรยี กพระเป็นเจ้าว่า “กษตั รยิ ์” ในทางอ้อม (5:35) และมกี ารใช้คาว่า “กษตั รยิ ์” เปรยี บเทยี บ
แทนพระองคใ์ นสองอปุ มา (18:23; 22:2, 7, 11, 13)

“พระอาณาจกั รของ...พระบิดา” (3 ครงั้ )

เน่ืองจากคาว่า “พระบดิ า” เป็นคาทพ่ี ระเยซูเจา้ ในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ ใชก้ ล่าวถงึ “พระเป็นเจา้ ” บ่อยๆ
(ดู 6:9) ดงั นนั้ พระอาณาจกั รสวรรคห์ รอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ จงึ สามารถเรยี กว่า “พระอาณาจกั รของพระ
บดิ า (ของบรรดาศษิ ย)์ ” (13:43) หรอื “พระอาณาจกั รของบดิ าของเรา (พระเยซูเจา้ )” (26:29) ศษิ ยท์ ส่ี วดบท “ขา้ แต่พระบดิ า
ฯ” กาลงั ภาวนาขอการมาถงึ ของ “พระอาณาจกั รของพระองค”์ (6:9-10)

“พระอาณาจกั ร” (8 ครงั้ )

เมอ่ื นามาใชเ้ ป็นคาทแ่ี สดงความเป็นเจา้ ของ (Genitive Expression) ทข่ี ยายคานามอกี คาหน่งึ (“ขา่ วด”ี “พระวา
ทะ” “ทายาท” “บุตรธดิ า”) คาว่าพระอาณาจกั รสวรรค์หรอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าจะถูกย่อลงเหลอื แค่ “พระ
อาณาจกั ร”

“พระอาณาจกั รของ (พระเยซูเจ้าหรือ) บตุ รแห่งมนุษย”์ (3 ครงั้ ) พระเยซูเจ้าในฐานะกษตั ริย์ (8
ครงั้ )

มีสองครงั้ ท่ีนักบุญมทั ธิวกล่าวว่าบุตรแห่งมนุษย์ว่ามีพระอาณาจกั รของพระองค์เอง (13:41; 16:28)
เน่ืองจากนักบุญมทั ธวิ มองว่าบุตรแห่งมนุษยค์ อื พระเยซูเจา้ ประโยคนัน้ จงึ หมายถงึ พระอาณาจกั รของพระเยซู
เจา้ เอง (20:21) และมอี กี แปดครงั้ ทม่ี ขี อ้ ความวา่ พระเยซูเจา้ คอื “กษตั รยิ ”์ กค็ วรนามารวมไวใ้ นทน่ี ่ดี ว้ ย

311

นกั บุญมทั ธวิ รจู้ กั พระอาณาจกั รศกั ดสิ ์ ทิ ธเิ ์ พยี งแห่งเดยี วเท่านัน้ คาว่า “พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ”
“พระอาณาจกั รสวรรค์” และ “พระอาณาจกั รของพระบิดา (ของเรา/ของพวกเขา)” ล้วนหมายถึงความเป็นจรงิ
เดยี วกนั ไม่ใช่สามอาณาจกั รทแ่ี ยกจากกนั ดงั นนั้ อาณาจกั รของบุตรแห่งมนุษยจ์ งึ เป็นเพยี งอกี ช่อื หน่ึงทใ่ี ชเ้ รยี ก
พระอาณาจกั รของพระเจ้าหรอื พระอาณาจกั รสวรรคห์ รอื พระอาณาจกั รของพระบดิ า มกี ารโต้แยง้ เกดิ ข้นึ ตาม
ธรรมชาตวิ ่า “พระเป็นเจ้า” “สวรรค์” และ “พระบิดาเจ้า” ล้วนส่อื ถึงพระบุคคลเดยี ว (พระผู้เป็นเจ้า) แต่บุตรแห่ง
มนุษย์หรอื พระเยซูเจ้าเป็นอกี บุคคลหน่ึง ดงั นัน้ พระอาณาจกั รของบุตรแห่งมนุษย์จงึ น่าจะเป็นอีกท่หี น่ึงแยก
ออกมาหรอื เป็นพระอาณาจกั รแรกเรม่ิ (เหมอื นในการตคี วามบางรปู แบบเกย่ี วกบั 1 คร 15:23-28) แต่มสี องเหตุผลทเ่ี ราไมค่ วร
ทาความเขา้ ใจภาษาในพระวรสารนกั บุญมทั ธวิ เช่นน้ี แมว้ า่ มนั จะดูสมเหตุสมผล (1) คาน้ีทาใหส้ ารเกย่ี วกบั พระ
อาณาจกั รของนกั บุญมทั ธวิ กลายเป็นมโนทศั น์หรอื แนวคดิ มากเกนิ ไป เป็นระบบทม่ี กี ารวางแผนขน้ึ มา และมอง
ไม่เหน็ ว่า จรงิ ๆ แลว้ คาว่า “พระอาณาจกั รสวรรค/์ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ” ทาหน้าทเ่ี ป็นสญั ลกั ษณ์ดว้ ย
(2) ใน ครสิ ตศาสตรข์ องนักบุญมทั ธวิ พระเยซูเจา้ มคี วามเช่อื มโยงกบั พระเป็นเจา้ อย่างทไ่ี ม่มผี ใู้ ดเสมอเหมอื น
และเป็นตวั แทนของพระองค์ ดงั นัน้ การพดู ถงึ พระเยซูเจา้ คอื การพดู ถงึ พระเป็นเจา้ นัน่ เอง (ดูบทเสรมิ เร่อื ง “ครสิ ตศา
สตรใ์ นพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ”) สงิ่ น้ีส่อื ใหเ้ หน็ โดยนัยว่าการท่ีนักบุญมทั ธวิ ยนื ยนั ถงึ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ได้
เชอ่ื มโยงกบั ภาพของพระเยซูเจา้ ในฐานะผเู้ ป็นกษตั รยิ ด์ ว้ ย

ดาวิดในฐานะกษตั ริย์
เน่ืองจาก “บุตรแห่งกษัตรยิ ์ดาวดิ ” เป็นคาสาคญั ทางครสิ ตศาสตร์ของนักบุญมทั ธวิ ประโยคเรม่ิ ต้น

พระวรสารทเ่ี อ่ยถงึ “กษตั รยิ ด์ าวดิ ” (1:6) จงึ ไม่ใช่เป็นการอา้ งถงึ อยา่ งไมส่ ลกั สาคญั หรอื ไม่มเี ป้าหมาย เหมอื นกบั
การกล่าวถงึ อาณาจกั ร “ทางโลก” อ่นื ๆ แต่เป็นรปู แบบเรมิ่ ตน้ ของการปกครองของพระเป็นเจา้ ในโลกน้ี (ดบู ทเสรมิ

เรอื่ ง “ครสิ ตศาสตรข์ องนกั บญุ มทั ธวิ ”)

อาณาจกั รท่ีต่อต้าน

มารรา้ ยมี “อาณาจกั ร” เชน่ กนั และเป็นอาณาจกั รทช่ี ว่ งชงิ และต่อตา้ นอานาจการปกครองทแ่ี ทจ้ รงิ ของ
พระเป็นเจา้ ทม่ี เี หนอื สรรพสงิ่ อยา่ งต่อเน่อื ง (12:26 ดู เทยี บ 4:8) สว่ นอาณาจกั รอ่นื ๆ ของโลกน้ี (ทม่ี สี ญั ลกั ษณ์ เป็นผนู้ า
ชาวยวิ และกษตั รยิ เ์ ฮโรด 2 พระองค์ เป็นบรวิ ารของปีศาจในฐานะผกู้ ระทาการแทน) นกั บญุ มทั ธวิ มองวา่ เป็นตวั แทนของอาณาจกั ร
ดงั กลา่ ว กษตั รยิ เ์ ฮโรด ผยู้ งิ่ ใหญ่พยายามทจ่ี ะทาลายพระเมสสยิ าห์ สว่ นกษตั รยิ เ์ ฮโรด อนั ทพิ าส ไดส้ งั หาร
นกั บญุ ยอหน์ ผทู้ าพธิ ลี า้ ง (ดู ขอ้ ศกึ ษาวพิ ากษ์ 2:1-23; 14:1-14) ความขดั แยง้ ของสองอาณาจกั รน้เี ป็นแนวความคดิ หน่งึ
ของโครงเรอ่ื ง บทบรรยายในพระวรสารนกั บญุ มทั ธวิ และเป็นแก่นสาระสาคญั ของครสิ ตศาสตรข์ องนกั บุญมทั ธวิ

สญั ลกั ษณ์ของพระอาณาจกั รก่อให้เกิดเทพนิยาย(นิทานศาสนา)

ภาษาเกย่ี วกบั พระอาณาจกั รของนกั บญุ มทั ธวิ ทาหน้าทเ่ี ป็นสญั ลกั ษณ์ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ตานาน คอื เรอ่ื งราว
อนั ศกั ดสิ ์ ทิ ธเิ ์กย่ี วกบั พระผสู้ รา้ งทท่ี รงชว่ ยสง่ิ สรา้ งของพระองคใ์ หร้ อดพน้ คาวา่ “นทิ าน เทพนยิ าย” (Myth) ใน
ทน่ี ้ี หมายถงึ กรอบความคดิ เกย่ี วกบั สงิ่ ตา่ งๆ ของบุคคลหน่งึ คาวา่ “นิทาน” ในความหมายเชงิ เทววทิ ยา พระ
คมั ภรี ไ์ มไ่ ดส้ อ่ื ถงึ เรอ่ื งแต่งหรอื เทพนิยาย แตเ่ ป็นวธิ กี ารทบ่ี ุคคลผหู้ น่งึ เลอื กใชใ้ นการเลา่ เรอ่ื งท่คี ดิ วา่ สง่ิ ใด คอื
ความจรงิ ทส่ี ดุ หรอื “สงิ่ ตา่ งๆ เป็นอย่างไร” ในธรรมประเพณแี บบชาวยวิ ของนกั บุญมทั ธวิ สญั ลกั ษณ์ “พระ

312

อาณาจกั รแหง่ สวรรค/์ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ” กลายมาเป็นวธิ กี ารแบบยอ่ ในการสรา้ งเรอ่ื งเล่าเกย่ี วกบั
โลกน้ี หรอื “ความหมายของชวี ติ ” ในการกระทา 4 ประการ คอื

(1) พระเป็นเจา้ ทรงเป็นพระผสู้ รา้ งและทรงเป็นอานาจสงู สดุ เหนือสง่ิ ทงั้ ปวง นกั บญุ มทั ธวิ มแี นวคดิ ตาม
ความเชอ่ื พน้ื ฐานของชาวยวิ ทม่ี ตี อ่ พระเป็นเจา้ หน่งึ เดยี วหรอื พระผสู้ รา้ ง ไมม่ ผี ใู้ ดเหนือกวา่ พระองค์
และไมม่ ผี ใู้ ดเทา่ เทยี ม ไมม่ สี งิ่ ใดเลยจะสามารถดารงอยไู่ ดโ้ ดยไมเ่ ป็นสว่ นหน่งึ ในสง่ิ สรา้ งของพระองค์
และไมอ่ ยภู่ ายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบสงู สุดของพระองค์ ทางเลอื กอน่ื คอื การเชอ่ื วา่ ไมม่ พี ระเป็นเจา้
(Atheism) หรอื เชอ่ื ในเทพเจา้ หลายองค์ (Polytheism) “พระอาณาจกั รแหง่ สวรรค/์ พระอาณาจกั รของ
พระเป็นเจา้ ” แสดงออกถงึ พระราชอานาจสงู สดุ อนั เป็นนริ นั ดรข์ องพระเจา้ ทม่ี เี หนือสรรพสง่ิ ทงั้ ปวง
มุมมองแบบสองดา้ นของนกั บญุ มทั ธวิ เกย่ี วกบั โลกน้เี ป็นสงิ่ ทด่ี ารงอยกู่ ่อนสง่ิ สดุ ทา้ ย (Penultimate)
ทุกสงิ่ ทท่ี า่ นกลา่ วตงั้ อยบู่ นพน้ื ฐานของความศรทั ธาต่อพระเป็นเจา้ หน่งึ เดยี วในธรรมประเพณขี อง
ชาวยวิ

(2) อานาจการปกครองโลกน้ีถูกช่วงชงิ โดยกองกาลงั ต่อต้านพระเป็นเจา้ สภาวะปัจจุบนั ของโลกไม่ได้
สอดคล้องกบั น้าพระทยั ของพระผู้สรา้ งสูงสุด ความชวั่ รา้ ยดารงอยู่ในโลกน้ี จรงิ ๆ มบี างสง่ิ ได้เกิด
ขน้ึ กบั โลกน้ีและบงั คบั ใหช้ ่วงชงิ อานาจแห่งความเป็นกษตั รยิ ข์ องพระผสู้ รา้ ง ดงั นนั้ โลกในปัจจุบนั จงึ
อยู่ในสถานะท่ีเป็นกบฏต่ออานาจสูงสุดท่แี ทจ้ รงิ ขณะท่ีนักบุญมทั ธวิ เช่อื ในความมอี ยู่จรงิ ของบาป
แต่ทงั้ ทา่ นและพระคมั ภรี โ์ ดยรวม กไ็ ม่ไดอ้ ธบิ ายยดื ยาวเกย่ี วกบั ตานานในเรอ่ื งน้ี ในภาพรวมแลว้ พระ
คมั ภรี ไ์ ม่คอ่ ยเอ่ยถงึ หรอื ไม่ค่อย “อธบิ าย” ว่าสง่ิ สรา้ งอนั ดงี ามของพระเป็นเจา้ สงู สุดหน่ึงเดยี วตอ้ งมา
อยู่ในสภาวะตกต่าจากพระหรรษทานเช่นน้ีไดอ้ ย่างไร ปฐมกาล บทท่ี 3 เป็นเร่อื งราวเก่ยี วกบั ทม่ี า
ของความชวั่ รา้ ยทเ่ี รยี บงา่ ยและใหม่ทส่ี ดุ ในพระคมั ภรี ภ์ าษาฮบี รู หลงั จากนนั้ กลุ่มผพู้ ยากรณ์เกย่ี วกบั
ยุคสุดทา้ ยกไ็ ดส้ รา้ งคาบรรยายเชงิ ตานานเกย่ี วกบั ความตกต่า/การกบฏของทูตสวรรคแ์ ละอ่นื ๆ แต่
หลกั การทางครสิ ตศาสตรก์ ระแสหลกั ทอ่ี ยู่ในพระคมั ภรี ์ แมว้ ่าจะยอมรบั สภาพความตกต่านัน้ แต่ก็
พยายามสรา้ งโลกแห่งความคดิ ท่อี ย่ใู ตโ้ ดมของสวรรค์ ส่วนความตกต่านัน้ ทรงยอมใหบ้ งั เกดิ ขน้ึ กบั
โลกในประวตั ศิ าสตรโ์ ดยปราศจากความสงสยั ใคร่รวู้ ่ามอี ะไรเกดิ ขน้ึ ในโลกอ่นื และมสี งิ่ ใดเกดิ ขน้ึ ก่อน
ประวัติศาสตร์ ผู้เขียนพระคัมภีร์ในสารบบมองว่าแนวคิดทางศาสนาแบบ ลัทธิจินไตยนิยม1
(Gnosticism) และเทวตานานบางประเภทท่ีเก่ียวข้องกับคาพยากรณ์ เร่ืองกาลอวสานโลก
(Apocalyptic Mythology) เป็นสงิ่ ท่ชี กั นาใหม้ นุษยเ์ กดิ ความกระหายอยากรอู้ ย่างไม่สมควรเก่ยี วกบั
เร่อื งต่างๆ ทม่ี แี ต่พระเป็นเจา้ เท่านัน้ ท่มี สี ทิ ธริ ์ ู้ นักบุญมทั ธวิ สะทอ้ นใหเ้ หน็ โดยการใชส้ ามญั สานึกท่ี
ช่วยเปิดเผยความจรงิ (Revelatory Common Sense) จาก ฉธบ. 29:29; 30:11-14 แม้ว่าพระเป็น
เจา้ จะคงเป็นกษตั รยิ ์ แต่เรากอ็ ยู่ในโลกทก่ี บฏต่อพระองคแ์ ละยอมเป็นพนั ธมติ รกบั อานาจปกครอง
อ่นื ๆ เราพบว่าตวั เราเป็นคนบาป หมายความว่าเราไม่เพยี งแต่ไม่สามารถใช้ชวี ติ ได้ตามอุดมคติ
เทา่ นนั้ แต่ยงั กบฏตอ่ พระเป็นเจา้ สงู สดุ อกี ดว้ ย

1 แนวคดิ ทางศาสนาทส่ี อนวา่ มนุษยค์ วรสละวตั ถุทางโลกและมงุ่ เน้นดา้ นจติ วญิ ญาณ เป็นขบวนการอนั ซบั ซอ้ นดา้ นสตปิ ัญญาและดา้ นจติ ทเ่ี กดิ ขน้ึ มา
ในเวลาใกลเ้ คยี งกบั ศาสนาครสิ ต์ ลทั ธนิ ้บี ่งชว้ี า่ สสารหรอื วตั ถุ (Matter) เป็นสงิ่ ชวั่ รา้ ย (Evil) และสอนความรเู้ รน้ ลบั (Secret Knowledge or Gnosis)
ถงึ วธิ ปี ลดปลอ่ ยแสงประกายของพระเจา้ ในตวั มนุษยใ์ หเ้ ป็นอสิ ระจากสสาร

313

(3) พระเป็นเจา้ ได้ “ประทาน” สทิ ธอิ านาจความเป็นกษตั รยิ ใ์ หก้ ับผูท้ ่พี ระองคท์ รงเลอื กสรร ผทู้ ่ยี อมรบั
“แอกแห่งพระอาณาจกั ร” พระประสงค์ของพระเป็นเจ้าไม่ได้ถูกปิดบังอีกต่อไป พระเป็นเจ้าได้
ประทานธรรมบญั ญตั (ิ หนังสอื ปัญจบรรพ)ใหก้ บั อสิ ราเอลทภ่ี ูเขาไซนาย พวกเขายอมรบั ธรรมบญั ญตั นิ ัน้
ดงั นัน้ จงึ เท่ากบั ว่าพวกเขาเตม็ ใจท่จี ะแบกรบั แอกแห่งพระอาณาจกั รสวรรค์หรอื พระอาณาจกั รของ
พระเป็นเจา้ เม่อื มาถงึ สมยั ของนักบุญมทั ธวิ สญั ลกั ษณ์ “พระอาณาจกั รสวรรค/์ พระอาณาจกั รของ
พระเป็นเจา้ ” ไม่เพยี งแต่ส่อื ถงึ แต่ความทรงอานาจสงู สุดนิรนั ดรก์ าลของพระองคเ์ ท่านนั้ แต่ยงั สอ่ื ถงึ
ชุมชนบางแห่งในโลกน้ีทย่ี อมทาตามน้าพระทยั ทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงเปิดเผย ชาวยวิ ท่เี คร่งศาสนาและ
ทอ่ งบทสวดมนตรเ์ ชมา (Shema) ทุกวนั เทา่ กบั แสดงออกถงึ การยอมรบั หนงั สอื ปัญจบรรพทภ่ี ูเขาไซ
นายอกี ครงั้ หน่ึง ทงั้ ยงั ฟ้ืนฟูและใหค้ ามนั่ สญั ญาเป็นการส่วนตวั ในฐานะประชากรอสิ ราเอลท่มี พี นั ธ
สญั ญากับพระเป็นเจ้า ดงั นัน้ เม่ือมองแบบน้ีแล้วก็เท่ากับว่าพระอาณาจกั รคือส่ิงท่ีพระเป็นเจ้า
“ประทาน” ใหก้ บั อสิ ราเอล (มธ 21:43) ขณะทโ่ี ลกส่วนใหญ่ยงั คงอย่ใู นสภาวะกบฏต่อพระผสู้ รา้ งสงู สุด
แต่มชี ุมชนหน่ึงทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงไวใ้ จและเปิดเผยพระประสงคข์ องพระองคใ์ หพ้ วกเขาทราบ และนนั่
กไ็ ดก้ ลายเป็นพนั ธสญั ญาว่าพวกเขาจะทาตามน้าพระทยั ท่พี ระองค์ทรงเปิดเผยนัน้ พระอาณาจกั ร
สวรรค์หรอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าจึงไม่เป็นเพียงแค่อุดมคติในชีวติ นิรนั ดร์ แต่เป็นส่ิงท่ี
ปรากฏในโลกน้ี เมอ่ื มนุษยท์ าตามน้าพระทยั ของพระองค์

(4) พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าท่ีสาเรจ็ บรบิ ูรณ์ยังคงรออยู่ในอนาคต เพราะพระเป็นเจ้า คอื พระ
ผสู้ รา้ งทม่ี กั จะถูกสงิ่ สรา้ งของพระองคล์ ะเมดิ พระประสงคอ์ ยเู่ สมอ การทช่ี ุมชนเลก็ ๆ แห่งหน่ึงไดเ้ ป็น
พยานถงึ พระประสงค์ของพระองค์อย่างไม่สมบูรณ์แบบและใชช้ วี ติ ตามพระประสงค์ท่ที รงเปิดเผย
อย่างไมส่ มบรู ณ์แบบ กค็ งไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ตานานทเ่ี กดิ ขน้ึ
จากสญั ลกั ษณ์ “พระอาณาจกั รสวรรค/์ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ” มแี ง่มุมสาคญั ของความเป็น
อนาคต หากปราศจากสง่ิ น้ีอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ จะไม่สมบรู ณ์ อาณาจกั รของพระเป็นเจา้ คอื สงิ่ ท่ี
“ยงั มาไม่ถงึ ” ซ่งึ จะเตมิ เต็มสง่ิ ท่ี “สาเรจ็ แลว้ ” ของพระองค์ผูท้ รงอานาจสูงสุดเป็นนิรนั ดรแ์ ละชุมชน
แห่งพนั ธสญั ญาทไ่ี ม่สมบูรณ์แบบ ดงั นนั้ ชาวยวิ ในสมยั ของนักบุญมทั ธวิ จงึ ไม่เพยี งแต่สรรเสรญิ พระ
เจา้ ผูท้ รงเป็นกษตั รยิ ์ตลอดนิรนั ดร และแบกแอกแห่งพระอาณาจกั ร แต่ยงั สวดภาวนาขอการมาถงึ
ครงั้ สดุ ทา้ ยของพระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ซง่ึ จะปรากฏใหท้ ุกคนเหน็ โดยทวั่ กนั และจะทาใหพ้ ระราช
อานาจสูงสุดอย่างแท้จรงิ ของพระเป็นเจ้าได้สถิตมนั่ อยู่เหนือสรรพส่งิ ท่ีพระองค์ทรงเป็นกษัตรยิ ์
ปกครองทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมาย

ครสิ ตศาสตรข์ องนักบุญมทั ธวิ ไดก้ ่อตวั ขน้ึ ภายในกรอบของตานานศาสนายวิ สมยั ก่อนครสิ ตกาล แต่ไดร้ บั
การตคี วามจากมมุ มองของชาวครสิ ต์ ซง่ึ นา 3 ประเดน็ สาคญั มาขยายความ ไดแ้ ก่ (1) การเป็นกบฏของสงิ่ สรา้ ง
องคท์ ส่ี องของเรอ่ื งเล่าในตานานน้ีถูกนามาวางในมุมมองแบบทวนิ ิยมและเป็นรปู ธรรม รปู แบบล่าสุดของตานาน
ในศาสนายดู ายน้ีไดร้ บั การอธบิ ายขยายความ โดยใหซ้ าตานเป็นผปู้ กครองของกองกาลงั ของสรรพสง่ิ ทต่ี ่อตา้ น
พระเจา้ และสรา้ ง “อาณาจกั ร” ของตนเอง โดยอา้ งตนเป็นผมู้ อี านาจปกครองสงู สดุ ในโลกน้ี เร่อื งราวทว่ี ่าซาตาน
สรา้ งอาณาจกั รกบฏทต่ี ่อตา้ นอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ไดร้ บั การยนื ยนั ว่าเป็นความจรงิ ในเอกสารแหล่ง Q อยู่
แลว้ (มธ 12:26/ลก 18) นับตงั้ แต่การเสดจ็ มายงั โลกของพระเมสสยิ าห์ การแบก “แอกแห่งพระอาณาจกั ร” ในเวลา

314

ปัจจุบนั หมายถงึ การใหค้ ามนั่ สญั ญาวา่ จะใชช้ วี ติ ตามบทบญั ญตั ใิ นหนงั สอื ปัญจบรรพ ซง่ึ พระเยซูเจา้ ไดท้ รงทาให้
สาเรจ็ ตามนนั้ (5:17-48; 28:18-20) ดงั นนั้ ชุมชนทพ่ี ระเป็นเจา้ “ประทาน” พระอาณาจกั รใหจ้ งึ เป็นชุมชนของพระเมส
สยิ าหท์ ป่ี ระกอบดว้ ยชาวยวิ และชนต่างศาสนา ซง่ึ คอื ครสิ ตจกั รนนั่ เอง (ดู เทยี บ 21:43) (3) ความสาเรจ็ บรบิ ูรณ์ของ
พระอาณาจกั รทช่ี ุมชนแหง่ น้ี สวดภาวนาขอ (6:10) คอื การเสดจ็ กลบั มาของพระเยซูครสิ ตใ์ นฐานะบุตรแห่งมนุษย์
ผูท้ รงเป็นกษัตรยิ ์ ผูน้ ามาซ่งึ ความเปลย่ี นแปลงครงั้ ใหญ่และจะสถาปนาพระราชอานาจสูงสุดของพระเป็นเจ้า
เหนือสรรพสง่ิ ทงั้ ปวง ธรรมชาตขิ องอานาจสูงสุดท่จี ะปรากฏในวาระสุดท้ายน้ี แมว้ ่าจะยงั มกี ารส่อื โดยใชภ้ าพ
ของกษตั รยิ ท์ ก่ี า้ วรา้ วรุนแรง ผกู้ ลบั มาพชิ ติ และทวงคนื อาณาจกั รของพระองค์ แตก่ ไ็ ดร้ บั การกาหนดความหมาย
ใหมโ่ ดยพระเยซูเจา้ ผทู้ รงเป็นกษตั รยิ ท์ ส่ี ภุ าพอ่อนโยน (ดู ขอ้ คดิ เหน็ 11:28-30 และบทเสรมิ เรอ่ื ง “ครสิ ตศาสตรข์ องมทั ธวิ ”)

ทัง้ หมดน้ีหมายความว่า “พระอาณาจกั รสวรรค์” ไม่ใช่แนวคิดท่ีอยู่นิ่งคงเดิม แต่เป็นสัญลักษณ์ของ
กระบวนการทเ่ี คล่อื นไหวผา่ นประวตั ศิ าสตร์ ตงั้ แต่การสรา้ งสรรพสง่ิ ไปจนถงึ การพพิ ากษาครงั้ สดุ ทา้ ย ในตานาน
อนั ศกั ดสิ ์ ทิ ธเิ ์กย่ี วกบั การทพ่ี ระเป็นเจา้ ชว่ ยมนุษยใ์ หร้ อด มโนภาพต่างๆ เกย่ี วกบั กษตั รยิ ์ เป็นภาพสอ่ื ถงึ การรวม
เป็นหน่ึงเดยี วกนั เม่อื พระผูส้ รา้ งผู้ทรงอานาจสูงสุดได้กอบกู้จกั รวาลท่แี ตกแยกและกบฏให้มาอยู่รวมกนั ซ่ึง
สอดคล้องกบั การมพี ระเป็นเจ้าเพยี งหน่ึงเดยี ว และทรงนาดนิ แดนท่ถี ูกช่วงชงิ ให้กลบั คนื มาอยู่ภายใต้อานาจ
ปกครองอนั ประเสรฐิ ของพระองคอ์ กี ครงั้

นักบุญมทั ธิวเข้าใจสถานการณ์ของตนเองผา่ นมมุ มองของตานานนี้ ว่าเป็น “ความบกพร่อง
ระหว่างอาณาจกั ร”

นกั บญุ มทั ธวิ ใชช้ วี ติ อยใู่ นสถานการณ์ทม่ี คี วามบกพร่องขดั แยง้ อยา่ งสดุ โต่ง (ดบู ทนา) การตคี วามสถานการณ์
ของท่านในเชิงเทวศาสตร์ทาให้เกิดการมองว่าชาวยิวท่ีต่อต้านชุมชนชาวคริสต์ เป็ นกองกาลังท่ีต่อต้าน
อาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ผนู้ าศาสนายดู ายไม่ไดเ้ ป็นแค่เพยี งผนู้ าทไ่ี มด่ ี แต่ยงั เป็นตวั แทนของอานาจความชวั่
รา้ ยแห่งจกั รวาล การทพ่ี วกเขาต่อตา้ นพระเยซูเจา้ และครสิ ตจกั รไม่ใชแ่ คเ่ รอ่ื งความขดั แยง้ ทางศาสนาและความ
แตกต่างในการตคี วามเท่านัน้ แต่ยงั เป็นตวั แทนของความบกพร่องขดั แยง้ ระหว่างพระเจา้ ผูท้ รงเป็นกษตั รยิ ์ท่ี
แทจ้ รงิ กบั อาณาจกั รเทจ็ เทยี มทจ่ี ะต้องถูกพพิ ากษาลงโทษของซาตานอกี ดว้ ย (2:1-23; 12:22-37; 13:24-43; 23:1-
39) แมว้ ่าจดุ ยนื ทางเทวศาสตรเ์ ชน่ น้มี อี นั ตรายรา้ ยแรงอยมู่ าก เชน่ พอเขา้ ใจวา่ บุคคลในเร่อื งเล่าเป็นตวั แทนของ
ซาตานกเ็ ลยเหน็ วา่ การมองผทู้ ต่ี ่อตา้ นแนวคดิ ทางศาสนาของเราเป็นมารรา้ ย คอื สงิ่ ทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสม แต่จดุ ยนื
เช่นน้ีกม็ ศี กั ยภาพทางบวกในเชงิ เทวศาสตรเ์ ชน่ กนั คอื มองว่าผตู้ ่อตา้ นเรานนั้ จรงิ ๆ แลว้ ไม่ใช่ศตั รทู แ่ี ทจ้ รงิ ของ
เรา พวกเขาเป็นเหย่อื ของอานาจชวั่ รา้ ย เช่นเดยี วกบั เรา อานาจน้ีคุกคามและทาให้เราทุกคนพ่ายแพ้ แต่ใน
ทา้ ยทส่ี ดุ แลว้ จะถกู พพิ ากษาลงโทษ (หมายถงึ อานาจของมารรา้ ย ไมจ่ าเป็นตอ้ งหมายถงึ ผทู้ ต่ี ่อตา้ นเรา)

ความเข้าใจของนักบุญมทั ธิวเกี่ยวกบั พระอาณาจกั รสวรรค์ส่งผลกระทบสาคญั ต่อการ
ตีความฯ

ความเขา้ ใจเรอ่ื งพระอาณาจกั รแบบดงั้ เดมิ
(1) ความเขา้ ใจแบบดงั้ เดมิ เกย่ี วกบั พระอาณาจกั รดูจะไม่ค่อยถูกตอ้ งนัก พระอาณาจกั รสวรรคไ์ ม่ควรถูก
นาไปตคี วามว่าเป็นสงิ่ เดยี วกนั กบั พระศาสนจกั รหรอื อสิ ราเอล พระเป็นเจา้ “ประทาน” พระอาณาจกั รสวรรค์

315

ใหแ้ ก่ชุมชนของผทู้ ศ่ี รทั ธาและเช่อื ฟังพระองค์ พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ สามารถปรากฏในชุมชนหรอื ผ่าน
ทางชุมชนนัน้ ได้ แต่ไม่อาจถูกจากดั ว่าหมายถึงชุมชนดงั กล่าวเท่านัน้ พระราชอานาจสูงสุดของพระเป็นเจ้า
ต่อตา้ นการจดั ทกุ อยา่ งใหเ้ ป็นสถาบนั หรอื เป็นการขงึ ตกี รอบชมุ ชนหรอื เป็นแนวคดิ ทางเทวศาสตร์

(2) พระอาณาจกั รสวรรคไ์ ม่ใช่เร่อื งเดยี วกนั กบั ระบบทางสงั คม แมว้ ่าพระอาณาจกั รนนั้ จะสามารถปรากฏ
และทางานผ่านทางกระบวนการเคล่อื นไหวเสรตี ่างๆ ภายนอกพระศาสนจกั ร แต่ไม่ไดห้ มายความว่าสง่ิ นัน้ คอื
พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ความเขา้ ใจทส่ี บื ทอดกนั มาเกย่ี วกบั พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ถกู ทาใหก้ ลายเป็น
ทร่ี จู้ กั กนั ทวั่ ไปโดยกระบวนการเสรนี ิยมของศาสนาครสิ ตน์ ิกายโปรเตสแตนทใ์ นชว่ งตน้ ศตวรรษทย่ี ส่ี บิ และยงั คง
ปรากฏอยู่เวลาท่พี ูดถงึ “การเผยแพร่” “การสร้าง” และ “การก่อตงั้ ” พระอาณาจกั รพระเป็นเจ้า ซ่ึงทงั้ หมดน้ี
โดยรวมแลว้ ไม่ไดม้ อี ย่ใู นเทวศาสตรส์ ายพระคมั ภรี ์เลย และโดยเจาะจงแลว้ ยงั ไม่มอี ย่ใู นพระวรสารของนักบุญ
มทั ธวิ ดว้ ย

(3) อาณาจกั รสวรรค์หรอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้าไม่ใช่ประสบการณ์ส่วนบุคคลท่ีปรากฏอยู่ใน
“หัวใจ” ของพระคัมภีร์ พระศาสนจักร คือ กิจกรรมอันทรงอานาจสูงสุดของพระเป็ นเจ้าบนโลกน้ีและใน
ประวตั ศิ าสตร์ ซง่ึ ไม่เคยปรากฏอยใู่ นหวั ใจ

พระอาณาจกั รคือส่ิงที่เป็นพลวตั และไม่อย่นู ่ิง

คาวา่ “อาณาจกั ร” ทอ่ี ย่ใู น “พระอาณาจกั รสวรรค”์ เป็นคานามทม่ี าจากคากรยิ า เหมอื นกบั คาวา่ “ความรกั ”
ใน “ความรกั พระเป็นเจา้ ” (Love of God) ในเมอ่ื ความรกั ของพระเป็นเจา้ หมายถงึ การกระทาสงิ่ ต่างๆ เพอ่ื คนอ่นื
ดว้ ยความรกั พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ จงึ หมายถงึ พระราชอานาจสงู สุดของพระเจ้าทก่ี าลงั ทางานอย่เู หนือ
สรรพสงิ่ ทงั้ หลาย พระอาณาจกั รของพระเป็นเจา้ ไม่ไดด้ ารงอยู่ในลกั ษณะทเ่ี ป็นนามธรรมในตวั มนั เอง แต่เป็น
การกระทาของพระเป็นเจา้

ในเม่อื อาณาจกั รพระเป็นเจา้ หมายถงึ การทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงช่วยมนุษยใ์ หร้ อดพน้ อาณาจกั รสวรรคห์ รอื
พระอาณาจักรของพระเป็ นเจ้าจึงไม่อาจตัง้ อยู่ท่ีใดท่ีหน่ึงบนโลก แต่เป็ นกระบวนการท่ีเคล่ือนไหวผ่าน
ประวตั ศิ าสตรน์ ับตงั้ แต่การสรา้ งสรรพสง่ิ ไปจนถงึ การพพิ ากษาครงั้ สุดท้าย การถามว่าพระอาณาจกั รจะมาถงึ
เม่อื ใด และอยู่ในปัจจุบนั หรอื ในอนาคตจงึ เป็นการตีความโดยไม่เขา้ ใจการเคล่อื นไหวของสญั ลกั ษณ์น้ี พระ
อาณาจกั รมที งั้ ความเป็นนิรนั ดร์ มที งั้ อดตี ปัจจุบนั และอนาคต เป็นมโนภาพท่คี รอบคลุมทุกสง่ิ มากท่สี ุด ใน
พระวรสารนกั บุญมทั ธวิ

การเคลื่อนไหวของพระอาณาจกั รเชื่อมโยงกบั การกระทาหลากหลาย

ในคาเทศน์สอนของนักบุญยอห์นและพระเยซูเจ้า พระอาณาจกั รนัน้ “ได้มาอยู่ใกล้แล้ว” (3:2; 4:17) และ
“มาถงึ แล้ว” ในการไล่ผขี องพระเยซูเจ้า (12:28) และการ “ยอมอดทนกบั การใชค้ วามรุนแรง” นับตงั้ แต่สมยั ของ
นักบุญยอห์น (11:12) อย่างไรก็ตาม บรรดาศษิ ย์ควรสวดภาวนาเพ่อื ให้พระอาณาจกั ร “มาถงึ ” ในอนาคต (6:10)
และบางคนจะไดเ้ หน็ นบั ตงั้ แต่การเสดจ็ มาของบตุ รแหง่ มนุษย์ (16:28)

ผคู้ นถูกขม่ ขวู่ า่ อาจจะไมส่ ามารถ “เขา้ ส”ู่ พระอาณาจกั รได้ (5:20; 7:21; 18:3; 19:23-24 ซง่ึ ทงั้ หมดน้สี ่อื ถงึ อนาคตและเป็น
การกล่าวถงึ ในทางลบ) แต่ผคู้ น (ท“่ี ไมส่ มควร”) กาลงั “เขา้ ไป” ในนนั้ (21:31 เป็นปัจจุบนั ใช่หรอื ไม)่ ในอกี ทางหน่ึง นกั บุญเปโตร

316

ไดร้ บั มอบกุญแจแหง่ พระอาณาจกั รสวรรค์ (16:19 แต่กรุณาอา่ นขอ้ อธบิ ายความพระคมั ภรี ด์ ว้ ย เพราะมนั ไม่ไดส้ อ่ื ถงึ ภาพของนกั บุญเป

โตรยนื เฝ้าอยหู่ น้าประตูไขม่ ุก)

ผูค้ นสามารถ “รบั มรดก” เป็นพระอาณาจกั รได้ (25:34 ส่อื ถึงอนาคต) เป็น “ทายาท” ของพระอาณาจกั รได้ (8:12) และเป็น
“เดก็ ๆ” ของพระอาณาจกั รได้ (กล่าวคอื “เป็นของ” พระอาณาจกั ร 13:38) พระอาณาจกั รสามารถ ใหพ้ วกเขา “เป็นเจา้ ของ”
ได้ (Belong to Them) (19:14) และ “เป็นของพวกเขา” ได้ (Be Theirs) (5:3, 10) เชน่ กนั

ในอนาคตทส่ี อ่ื ถงึ วนั พพิ ากษาโลก ผคู้ นจะไดก้ นิ ด่มื อย่ใู นอาณาจกั รสวรรคห์ รอื พระอาณาจกั รของพระเป็น
เจา้ พรอ้ มกบั บรรดาหวั หน้าชนเผา่ แห่งอสิ ราเอล (8:11) และพระเยซูเจา้ (26:29)

เน่ืองจากอาณาจกั รสวรรค์หรอื พระอาณาจกั รพระเป็นเจา้ ไม่ใช่แนวคดิ ท่เี ป็นนามธรรมหรอื ไม่ใช่ดนิ แดน
อาณาจกั รสวรรคจ์ งึ สามารถถูกกล่าวถงึ ไดห้ ลายทางและยากทจ่ี ะนามาจดั ลงในระบบแนวคดิ ใดแนวคดิ หน่งึ ได้

การเคล่ือนไหวของพระอาณาจกั รถกู นามาสื่อสารผา่ นทางอปุ มาและบทบรรยายเรอื่ ง

ทงั้ พระเยซูเจ้าและผู้บรรยายในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ ไม่เคยบอกผู้อ่านเลยว่าพระอาณาจกั รคอื อะไร
เพราะนอกจากผอู้ ่านจะคุน้ เคยภาษาเกย่ี วกบั พระอาณาจกั รอย่แู ลว้ (ดูดา้ นบน) ภาษาดงั กล่าวยงั เป็นรูปแบบหน่ึง
ของการกล่าวถงึ พระเป็นเจา้ และเป็นการกล่าวถงึ สง่ิ ทอ่ี ยเู่ หนือพน้ ไปจากโลกน้ี อย่เู หนือกวา่ แนวคดิ ทม่ี นุษยเ์ รา
จะเขา้ ใจได้ ดงั นัน้ พระเยซูเจ้าในพระวรสารนักบุญมทั ธวิ จงึ บอกกบั ผูอ้ ่านบ่อยๆ ว่าพระอาณาจกั รนัน้ “เปรยี บ
เหมอื นกบั ” สง่ิ ใด (13:24, 31, 33, 44-45, 47, 52; 18:23; 20:1; 22:2)

ภาษาท่ีกล่าวถึงพระอาณาจกั รของพระเยซูเจ้าเป็นการใช้วธิ กี ล่าวถึงแบบอ้อม (เร่อื งเล่า) ในการส่อื สาร
แมว้ า่ บางครงั้ นกั บุญมทั ธวิ อาจลมื ทจ่ี ะใสก่ ารสอ่ื โดยออ้ มนนั้ ในสารของพระเยซูเจา้ (ดู ภาพรวม 13:1) แต่ถงึ กระนนั้
ทา่ นกน็ าเสนอสารของท่านเองเกย่ี วกบั การทพ่ี ระเป็นเจา้ ทรงช่วยมนุษยใ์ หร้ อดพน้ ผ่านทางพระเยซูเจา้ หรอื การ
บงั เกดิ ของกษตั รยิ ์ ผูเ้ ป็นพระเมสสยิ าห์แห่งพระอาณาจกั รสวรรคห์ รอื พระอาณาจกั รของพระเป็นเจ้า แต่ท่าน
ไมไ่ ดส้ อ่ื ผา่ นทางบทเรยี งความหรอื คาอธบิ าย แต่ผ่านทางบทบรรยายเรอ่ื ง

การเคลื่อนไหวของพระอาณาจกั รเช่ือมโยงกบั ชีวิตจริง ไม่ได้เป็นนามธรรม

นักบุญมทั ธวิ ไม่ค่อยสนใจ “อาณาจกั รสวรรค์/พระอาณาจกั รของพระเจ้า” ในฐานะทเ่ี ป็นหลกั คาสอนแบบ
นามธรรม แต่ใชเ้ ป็นสภาวะท่เี กดิ ก่อน (Presupposition) จรยิ ธรรม การมาถงึ ของพระอาณาจักรหมายความว่า
พระประสงคข์ องพระเป็นเจา้ จะสาเรจ็ ไปในจกั รวาล (6:10 “พระประสงคจ์ งสาเรจ็ ในแผ่นดนิ เหมอื นในสวรรค”์ เป็นการเตมิ ขอ้ ความ
อธบิ ายของนกั บญุ มทั ธวิ ) เน้ือหาทม่ี กั นาไปสคู่ วามโตแ้ ยง้ และมคี วามสาคญั อยา่ งยงิ่ (21:43) ซง่ึ ทา่ นนกั บญุ มทั ธวิ เตมิ ลง
มาเก่ียวข้องกบั ของประทานจากพระอาณาจกั รในการออก “ผล” (Fruits) อย่างสมควร เป็นคาศพั ท์เชิงจรยิ
ศาสตร์หลกั ของนักบุญมทั ธวิ (3:8-10; 7:16-20; 12:33; 13:23; 21:19) นักบุญมทั ธวิ ได้นาพระอาณาจกั รของพระเจ้ามา
เชอ่ื มโยงอยา่ งใกลช้ ดิ กบั ความยุตธิ รรม/ความชอบธรรม (5:10, 20; 6:33; 13:43)

317

318


Click to View FlipBook Version